The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanutchaphon1985, 2022-05-26 02:43:52

an_super_2019

an_super_2019

R2Aรายง0ENานปร1PะNจำป9O‚ 2U56R2ATL



CONTENT 9
37
ส่วนท่ี 1 การประกอบธุรกิจ 65
1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกจิ 69
2. ลกั ษณะการประกอบธรุ กจิ 71
3. ปจั จัยความเสีย่ ง 72
4. ทรพั ย์สนิ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
5. ขอ้ พิพาททางกฎหมาย 74
6. ขอ้ มูลท่ัวไป 78
90
ส่วนที่ 2 การจดั การและการกำ� กับดแู ลกจิ การ 107
7. ขอ้ มลู หลกั ทรพั ยแ์ ละผู้ถือหุ้น 113
8. โครงสรา้ งการจดั การ 115
9. การก�ำกับดแู ลกจิ การ
10. ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม 123
11. การควบคมุ ภายในและการบรหิ ารจดั การความเสีย่ ง 130
12. รายการระหวา่ งกัน
148
สว่ นที่ 3 ฐานะการเงนิ และผลการดำ� เนนิ งาน 171
13. ข้อมูลทางการเงนิ ทีส่ �ำคญั 180
14. การวเิ คราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ 184
185
การรับรองความถูกต้องของขอ้ มลู 186
เอกสารแนบ 1 รายละเอยี ดเกีย่ วกบั กรรมการ
ผู้บรหิ าร ผมู้ อี ำ� นาจควบคุม และเลขานุการบรษิ ทั
เอกสารแนบ 2 รายละเอยี ดเก่ยี วกบั กรรมการของบรษิ ทั ยอ่ ย
เอกสารแนบ 3 รายละเอยี ดเกี่ยวกับหวั หน้างานตรวจสอบภายใน
และหวั หนา้ งานกำ� กับดแู ลการปฏิบัติงานของบรษิ ทั
เอกสารแนบ 4 รายละเอยี ดเก่ยี วกบั รายการประเมนิ ราคาทรพั ย์สนิ
เอกสารแนบ 5 เอกสารอ่ืนๆ
เอกสารแนบ 6 งบการเงินและรายงานผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าต

สารบัญ

สารจากประธานกรรมการบรษิ ัท

ในปี 2562 บรษิ ัทมีพัฒนาการที่ดขี ้นึ รวมไปถงึ มีเหตุการณ์ทนี่ า่ ตน่ื เต้นกบั ผู้ลงทุนในหลายๆ เร่อื ง หนึ่งเรอื่ งที่ทาง
บริษัทได้ด�ำเนินการไปเป็นท่ีเรียบร้อยและเป็นท่ีสนใจของนักลงทุนเป็นจ�ำนวนมาก คือ การจัดตั้งกองทุนรวม
โครงสร้างพ้ืนฐานโรงไฟฟ้า ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี “SUPER ENERGY POWER PLANT INFRASTRUCTURE
FUND” เมื่อวนั ท่ี 14 สงิ หาคม 2562 ซ่ึงไดม้ กี ารตอบรบั จากนกั ลงทนุ ท่ีสนใจเป็นจ�ำนวนมาก และก่อให้เกิดก�ำไร
พิเศษจากการโอนสิทธิรายได้ให้ SUPEREIF น�ำมาซ่ึงการประกาศจ่ายปันผลให้ผู้ถือหุ้นบริษัท และการเข้าลงทุน
ในธุรกจิ ผลิตและจดั จำ� หนา่ ยนำ�้ ดิบ-น�้ำประปา ภายใตบ้ ริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์ จ�ำกดั นอกจากนี้ โครงการขยาย
การลงทนุ ในตา่ งประเทศ โดยเฉพาะประเทศเวยี ดนามกเ็ ปน็ ไปโดยเรยี บรอ้ ย โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
ขนาดรวม 236.72 เมกะวัตต์ สามารถด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ได้เป็นผลส�ำเร็จ พร้อมกับเดินหน้าพัฒนาโครงการ
โรงไฟฟ้าพลังงานลม ปริมาณขายไฟฟ้าเท่ากับ 421 เมกะวัตต์ ต่อในปี 2563 น้ี จากการขยายการลงทุน
อยา่ งตอ่ เน่ือง สง่ ผลให้รายไดร้ วมจากการด�ำเนนิ งานในปี 2562 มจี ำ� นวน 6,245.58 ลา้ นบาท เตบิ โตขน้ึ 9.01%
เม่อื เทียบกับปี 2561 ท่ผี ่านมา ทั้งน้คี าดการณ์วา่ ในปี 2563 รายได้รวมของบริษัทจะมีการเติบโตขน้ึ อีก 15%-20%
โดยเป็นผลมาจากการรบั รรู้ ายได้ในโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานขยะ ทีจ่ งั หวดั พิจิตร ขนาด 9 เมกะวตั ต์ รวมไปถึง
รายไดจ้ ากการลงทนุ เพิ่มเติมในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทป่ี ระเทศเวียดนาม

วันนี้ SUPER เราเป็นธุรกจิ สมั ปทานทม่ี งุ่ เน้นธรุ กิจสาธารณูปโภคที่มคี วามมนั่ คงมาก ไมว่ า่ จะเปน็ การจ�ำหนา่ ยไฟฟ้า
การจ�ำหน่ายน�้ำดิบ-น�้ำประปา ซึ่งเป็นสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานส�ำหรับทุกคน โดยที่อายุสัมปทานในแต่ละโครงการ
ยงั เหลอื อกี กวา่ 20-21 ปี โดย ณ ส้ินปี 2562 บริษัทมีโรงไฟฟา้ ฯกำ� ลงั การผลิตภายใตก้ ารบรหิ ารจัดการของกลมุ่
2 SUPER ทเี่ ปดิ ดำ� เนนิ การเชงิ พาณชิ ยแ์ ลว้ มจี ำ� นวนทงั้ สน้ิ 107 โครงการ คดิ เปน็ กำ� ลงั การผลติ รวม 859.32 เมกะวตั ต์

(ทัง้ น้ี โครงการโรงไฟฟ้าภายใต้การบริหารจดั การของกลุ่ม SUPER จะไม่รวมโครงการที่ SUPER เขา้ รว่ มถือหนุ้

ในฐานะบรษิ ทั รว่ ม) ขณะที่ในปี 2563 บรษิ ทั ยงั มโี อกาสเตบิ โตในพลังงานแสงอาทิตยแ์ ละพลงั งานลมในประเทศ
เวียดนาม ซง่ึ การเพิ่มกำ� ลังการผลติ ข้างต้นจะส่งผลใหร้ ายได้บรษิ ัทเตบิ โตข้ึน 20% ในปี 2563 ส่วนในปี 2564
การเติบโตในรายได้จะเป็นอะไรที่ก้าวกระโดด เน่ืองมาจากโครงการลมท้ังหมดท่ีปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ส�ำหรับ 2 โครงการ คอื Bac Lieu และ Soc Trang โครงการเป็นลักษณะก่อสร้างลงไปในทะเล หรือ offshore
wind farm ไดม้ กี ารสำ� รวจความหนาแนน่ ชน้ั ดนิ ไปแลว้ และอยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การดา้ นฐานราก ขณะทอี่ กี 2 โครงการ
เป็นลกั ษณะกอ่ สรา้ งบนพืน้ ที่ไหลเ่ ขา หรือ land wind farm อยู่ระหวา่ งดำ� เนนิ การลงนามใน EPC Contract
โดยทงั้ หมดจะสามารถดำ� เนนิ การเชงิ พาณชิ ย์ได้ในชว่ งครง่ึ หลงั ของปี 2564 ถดั มาทโี่ ครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
ที่วันนก้ี ลุ่มบรษิ ทั มีด�ำเนนิ การเชิงพาณชิ ยอ์ ยู่ 1 แห่งท่จี งั หวดั สระแกว้ กำ� ลังการผลติ 9 เมกะวัตต์ ในต้นปี 2563 น้ี
ก็จะมดี ำ� เนินการเชงิ พาณชิ ยเ์ พม่ิ เติมอีก 9 เมกะวัตต์ พร้อมกบั การพฒั นาโครงการทจ่ี ังหวดั หนองคายอีก 1 แห่ง
ซงึ่ ไดร้ บั PPA เรยี บร้อยแล้ว กำ� ลงั การผลิต 6 เมกะวตั ต์ และรอดำ� เนนิ การเร่ืองของ PPA อยู่ 2 แห่ง คอื ที่นนทบรุ ี
20 เมกะวัตต์ และทีน่ ครศรธี รรมราช 20 เมกะวัตต์ อันน้เี ปน็ อะไรทีเ่ ราก�ำลังดำ� เนนิ การกนั อยู่ในปตี ่อๆ ไป
อกี ธรุ กจิ หนงึ่ ที่ SUPER เพ่ิงไดเ้ ร่ิมเข้าไปท�ำ คอื ธรุ กิจจำ� หนา่ ยน้�ำดิบ-น้ำ� ประปา ตอ้ งยอมรบั ว่าวนั นี้ประชาชนเข้า
ถงึ น�้ำประปาจากหน่วยงานการประปาของภาครฐั ไดเ้ พยี ง 40% ทเี่ หลอื จะเปน็ ในลักษณะประปาชุมชน หรอื การขดุ
บ่อบาดาล เพราะฉะนน้ั ยงั เหลือโอกาสอีก 60% ท่ยี งั ไม่มีนำ้� ใชก้ บั ภาครัฐทถี่ ูกตอ้ งและมั่นคง ปจั จุบนั กลุ่ม SUPER
มกี ารดำ� เนนิ การอยู่ 6 แหง่ คอื ทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี ทจี่ งั หวดั สมทุ รสาคร และทจ่ี งั หวดั ภเู กต็ 4 แหง่ วนั นเ้ี รายงั มอี กี หลาย
โครงการท่อี ยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ โดยบริษทั ต้งั เปา้ รายได้ในอกี 3 ปีข้างหน้าจากธรุ กิจจ�ำหนา่ ยน้�ำดบิ -นำ�้ ประปาไว้ที่
1,000 ลา้ นบาท ต่อปี
ตอ้ งเขา้ ใจวา่ ธรุ กจิ เราวนั นเี้ ตบิ โตไดต้ ามเปา้ หมายทวี่ างไว้ รวมไปถงึ โครงการอน่ื ๆทม่ี คี วามชดั เจนขนึ้ ตามลำ� ดบั อาทเิ ชน่
โครงการ Solar Private PPA ท่ีได้มีการลงนามกับบริษัทเอกชนแห่งหน่ึง เป็นโซล่าร์พลังงานแสงอาทิตย์ท่ีติดต้ัง
บนท่นุ ลอยอยบู่ นผิวน้�ำ รวมก�ำลังการผลติ 33.24 เมกะวตั ต์ และโครงการ Solar Private PPA อีกหนึง่ โครงการ
ซ่ึงได้ด�ำเนินการซื้อขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว เป็นโซล่าร์พลังงานแสงอาทิตย์ท่ีติดต้ังบนหลังคา รวมก�ำลังการผลิต
4.04 เมกะวัตต์ นอกเหนือจากน้ีคงต้องติดตามทิศทางนโยบายจากทางภาครัฐในการส่งเสริมด้านพลังงานทดแทน
ทจ่ี ะเกิดขึน้ อาทิ โครงการโรงไฟฟา้ ชมุ ชน เป็นตน้
บรษิ ทั ยงั คงยดึ มนั่ ในการพฒั นาโครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานทดแทนทม่ี าจากพลงั านแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลงั งาน
ขยะ รวมถึงธุรกิจสัมปทานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน ภายใต้การด�ำเนินงานกลุ่ม SUPER
เพอ่ื นำ� พาบรษิ ทั เตบิ โตไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื อนั นำ� มาซงึ่ ผลประโยชนแ์ กบ่ รษิ ทั ผถู้ อื หนุ้ ลกู คา้ พนกั งาน และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี
ทกุ ฝา่ ย อย่างเป็นธรรม

นายจอมทรัพย์ โลจายะ 3

ประธานกรรมการบริษทั

คณะกรรมการ

BOARD OF DIRECTOR

1. นายจอมทรพั ย โลจายะ

ประธานคณะกรรมการบรษ� ัท /
กรรมการบรษ� ทั /
กรรมการบร�หารความเสี่ยง
และรกั ษาการกรรมการผจŒู ัดการ

4. นางสาววนดิ า มัชฉิมานนท 5. นางสาววร�นทรทิพย ชัยสงั ฆะ

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบรษ� ทั กรรมการบรษ� ัท
4

2. นายกำธร อดุ มฤทธิรจุ 3. นางสาวไตรทิพย ศิวะกฤษณก ลุ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / รองประธานกรรมการตรวจสอบ /
รองประธานคณะกรรมการบรษ� ัท กรรมการบร�ษทั

6. นางสาวสรรสริ � ชยั เจร�ญพัฒน 7. พล.ต.ท. ปย ะ สอนตระกลู

รองประธานคณะกรรมการบรห� ารความเสยี่ ง / ประธานคณะกรรมการบร�หารความเส่ยี ง /
กรรมการบรษ� ทั กรรมการบรษ� ัท

5

ข้อมลู สำคัญทำงกำรเงนิ อตั รากาไรในปี 2562 (ลา้ นบาท)
รายไดร้ วมในปี 2562 (ลา้ นบาท)

EBITDA Margin (ลา้ นบาท) โครงสรา้ งทนุ (ลา้ นบาท)

อตั ราสว่ นทางการเงินท่ีสาคญั

อัตรำส่วนหนีส้ ินต่อส่วนของทุน ปี 2561 ปี 2562 เปล่ียนแปลง
1.83 1.95 เพมิ่ ขึน้ 0.12
"D/E Ratio" (เทำ่ )
อัตรำส่วนหนีส้ ินตอ่ ส่วนของทุน 1.76 1.60 ลดลง 0.16
(เฉพำะหนีส้ นิ ทมี่ ีภำระดอกเบยี้ )
"D/E Ratio" (เทำ่ ) 1.16 1.47 เพม่ิ ขึน้ 0.31
ควำมสำมำรถในกำรจ่ำยดอกเบีย้
"Interest Coverage Ratio" (เทำ่ )

6

ส่วนที่ 1
การประกอบธุรกจิ

7

วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ และเป้าหมายในการประกอบธุรกจิ

วสิ ัยทศั น์ บรษิ ัทตงั้ วสิ ยั ทศั นใ์ นการเป็นผนู้ าดา้ นธุรกิจพลงั งานผลิตไฟฟ้าจาก
VISION พลังงานทดแทนประเภท พลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานขยะ และ
พลังงานลม ทั้งในประเทศ และในภูมิภาคอาเซียน (Regional

Player)

พนั ธกิจ 1. สนองนโยบายภาครฐั ในการพฒั นาระบบพลงั งานไฟฟ้าจาก
MISSION พลงั งานทดแทน เพ่ือความย่งั ยืนทางพลงั งาน
2. ลงทนุ และขยายกาลงั การผลิตไฟฟา้ จากพลงั งานทดแทนดว้ ย
เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ

3. สรา้ งประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ท่ยี ่งั ยืนตอ่ สงั คม และผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียทกุ
ภาคส่วน ภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าลท่ดี ี

เป้าหมายในการประกอบธุรกจิ บริษัทประกอบธุรกิจโดยการถือหนุ้ ในบริษัทย่อย และ/หรือบริษัท
COMMITMENT ร่วม (Holding Company) ท่ีประกอบธุรกิจผลิตและจัดจาหน่าย

กระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน, ธุรกิจการผลิตและจาหน่ายนา้
เพ่ือการอุปโภคบริโภค และธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร โดยมีนโยบายหลักในการขยายการลงทุนดา้ นโรงไฟฟ้า
พลังงานทดแทนอย่างต่อเน่ือง โดยให้ความสาคัญในการ
ดาเนินงานทุกขัน้ ตอนอย่างถูกตอ้ งและมีประสิทธิภาพ ตงั้ แต่การ
จัดหาท่ีดิน การย่ืนขอรับใบอนุญาตต่างๆ และขั้นตอนการผลิต

กระแสไฟฟ้าเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการในการท่ีจะทาใหบ้ รษิ ัทมี
รายไดท้ ่ีม่นั คงในระยะยาว และมีความเส่ียงต่าในการดาเนินธุรกิจ
ตลอดจนการพัฒนาความรูค้ วามสามารถบุคลากร การคานึงถึง
ผลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ มและการช่วยเหลือสงั คม เพ่ือการเติบโต
ของบรษิ ทั อยา่ งย่งั ยืนตอ่ ไป

ทั้งนี้ บริษัทมีความเช่ือม่ันในความพร้อมและความสาเร็จจาก
ประสบการณก์ ารดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตยท์ ่ีผ่าน
มา และจะยงั คงม่งุ ม่นั ขยายธุรกิจใหส้ ามารถเติบโตไดอ้ ย่างย่งั ยืน
ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม
ตลอดจนสรา้ งการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม ตาม
หลกั ธรรมาภบิ าล และการกากบั กิจการท่ดี ี ตอ่ ไป

8

1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ โรงไฟฟ้าดงั กล่าวสามารถผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าได้
เต็มประสิทธิภาพ รวมทงั้ การบรกิ ารใหค้ าปรกึ ษาท่ีเก่ียวขอ้ งกับ
บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอร์เปอเรช่ัน จากัด ธรุ กจิ โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน
(มหาชน) (“บริษัท” หรือ “SUPER”) เดิมช่ือ บริษัท ซุปเปอร์
บล๊อก จากดั (มหาชน) ก่อตงั้ เม่ือวนั ท่ี 20 ธันวาคม 2537 ต่อมา นอกจากนี้ บริษัทยังมีนโยบายท่ีจะดาเนินธุรกิจดา้ น
เม่ือวนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2561 ไดม้ ีการจดทะเบียนเปล่ียนช่ือเป็น การปฏบิ ตั กิ ารดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าฯทงั้ ท่ีเป็นของกล่มุ บรษิ ัท
บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่ัน จากัด(มหาชน) และ/หรือ บริษัทอ่ืนภายนอกท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี
ตามมติท่ีประชุมผู้ถือหุน้ ครงั้ ท่ี 1/2561 เม่ือวนั ท่ี 25 เมษายน วตั ถปุ ระสงคท์ ่จี ะขยายขอบเขตธุรกิจไปยงั ธุรกิจรบั เหมาก่อสรา้ ง
2561 เพ่ือให้สอดคล้องกับธุรกิจท่ีเปล่ียนแปลงไป ปัจจุบัน และการประมวลผลโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนท่ีจะเกิดขึน้ ใน
SUPER ประกอบธุรกิจโดยการถือหุน้ ในบริษัทย่อย และ/หรือ อนาคตต่อไป นอกจากนี้ บริษัทย่อยภายใตบ้ ริษัท มีนโยบาย
บริษัทร่วม (Holding Company) ท่ีประกอบธุรกิจผลิตและจัด ดาเนินธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า
จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทนเป็นธุรกิจหลกั และถือ พลังงานทดแทน และธุรกิจท่ีเก่ียวข้องทั้งในประเทศ และ
หุน้ ในธุรกิจอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายนา้ เพ่ือการ ต่างประเทศ ปัจจุบันบริษัทไดม้ ีการขยายการลงทุนโครงการ
อปุ โภคบรโิ ภค, ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ไฟฟ้าทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยมีการขยายการลงทุน
โรงไฟฟ้าไปยังประเทศเพ่ือนบา้ น เร่ิมจากการขยายโรงไฟฟ้า
SUPER เติบโตแลว้ ก้าวมาเป็นหน่ึงในผูป้ ระกอบการ พลงั งานแสงอาทิตยท์ ่ีประเทศเวียดนาม ทงั้ ทางดา้ นท่ีอย่ใู นโซน
ธุรกิจดา้ นพลังงานทดแทน โดยมีนโยบายการใหบ้ ริการดา้ นการ ภาคกลางและโซนภาคใต้ ซ่งึ ไดด้ าเนินการเชิงพาณิชยไ์ ปเป็นท่ี
ปฏิบตั กิ ารดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน (Operation เรยี บรอ้ ยทงั้ หมด 286.72 MW และมีแผนท่ีจะขยายการลงทนุ ใน
and Maintenance services) ไดแ้ ก่ พลังงานแสงอาทิตย์ ต่างประเทศอย่างต่อเน่ือง เพ่ือแสวงหาโอกาสการลงทุนท่ี
(“Solar Energy”) พลงั งานขยะ (“Waste Energy”) และพลงั งาน น่าสนใจและมีผลตอบแทนท่เี หมาะสม
ลม (“Wind Energy”) ใหแ้ ก่บรษิ ทั ตา่ งๆท่บี ริษัทถือหนุ้ ทงั้ ทางตรง
และทางออ้ ม โดยใหค้ วามสาคญั ในการติดตามการดาเนินงาน ทงั้ นี้ ในปี 2562 บรษิ ัทยงั ไดข้ ยายการลงทนุ ไปในธุรกิจ
ของโรงไฟฟ้าและการดูแลบารุงรกั ษาเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ให้ อ่ืนๆดา้ นสาธารณปู โภค ไดแ้ ก่ ธุรกจิ การผลติ และจาหน่ายนา้ เพ่ือ
อยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ การอุปโภคบริโภค ใหแ้ ก่ภาคอุตสาหกรรมและการประปาส่วน
ภูมิภาค โดยบริษัทไดเ้ ข้าไปลงทุนในบริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์
จากัด ซ่งึ ดาเนินธุรกิจดา้ นการจาหน่ายนา้ ทงั้ นา้ ดิบ นา้ ประปา
และนา้ เพ่ือการอุตสาหกรรม ในโซนพื้นท่ีทั้งภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออก และภาคใต้

9

บมจ.ซุปเปอร์ เอน
เนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่นั
บจ.ซปุ เปอร์
เอนเนอรย์ ี กรุป๊

บจ.ซปุ เปอร์ โซลา่ ร์ บจ.ซุปเปอร์ เอริ ธ์ บจ.ซปุ เปอร์ วินด์ บจ.ซุปเปอร์ บมจ.โอเพน่
เอนเนอรย์ ี เอนเนอรย์ ี เอนเนอรย์ ี วอเตอร์ เทคโนโลยี

จากการถือหนุ้ ในกลุ่มธุรกิจหลกั ท่ีประกอบธุรกิจผลิต 1.1 ธุรกิจการให้บริการด้านการปฏิบัตกิ ารดูแลบารุงรักษา
และจาหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในหลายบริษัท ทงั้ จาก โรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทติ ย์
พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม และพลงั งานขยะ ทงั้ ในประเทศ
ดาเนินการโดยบริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอรเ์ ปอ
และตา่ งประเทศ ส่งผลใหผ้ ลการดาเนินงานท่ีผ่านมา รายไดห้ ลกั เรช่นั จากัด(มหาชน) (“SUPER”) ไดแ้ ก่ การใหบ้ ริการดา้ นการ
ของบริษัทท่ีแสดงตามงบการเงินรวมมาจากรายได้จากการ ปฏิบัติการดูแลบารุ งรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
ดาเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตยภ์ ายใตบ้ ริษัทย่อย (Operation and Maintenance services), งานบริหารจดั การ
ในประเทศ 33 บริษัท และต่างประเทศ 4 บริษัท ทงั้ นี้ บริษัทมี สถานีไฟฟ้าและสายส่ง เป็นตน้ ใหแ้ ก่โครงการของบริษัทย่อยท่ี
มลู ค่าการลงทุนรวมในบริษัทท่ีประกอบธุรกิจหลกั ในสดั ส่วนไม่ SUPER เขา้ ไปถือหนุ้ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ภายหลังจากท่ี
ต่ากว่า 51% เพ่ือใหบ้ ริษัทสามารถควบคุมการดาเนินงานได้ โครงการโรงไฟฟ้าดงั กลา่ วไดด้ าเนินการเชิงพาณิชยเ์ รยี บรอ้ ยแลว้
เพ่ือดูแลบารุงรกั ษาเคร่ืองจักรอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า รวมถึงการ
อย่างเหมาะสม บรหิ ารจดั การเพ่ือใหโ้ รงไฟฟา้ สามารถดาเนินการผลิตไปไดอ้ ย่าง
อยา่ งไรกด็ ี ตามมตคิ ณะกรรมการบรษิ ัทครงั้ ท่ี 6/2562 เตม็ ประสทิ ธิภาพ

เม่ือวันท่ี 13 พฤศจิกายน 2562 ไดพ้ ิจารณาและมีมติอนุมัติให้
บรษิ ทั ดบั เบลิ้ ยู อาร์ พี อีเนอรจ์ ี จากดั เป็นบรษิ ัทย่อยท่ีประกอบ
ธุรกิจหลกั ของบริษัท (บริษัทแกน) โดยพิจารณาจากกาไรสุทธิ

ตามงบการเงินสอบทานไตรมาส 3/2562 ทงั้ นี้ บริษัท ดบั เบิล้ ยู
อาร์ พี อีเนอร์จี จากัด เป็นบริษัทท่ีดาเนินธุรกิจผลิตและจัด
จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด
48 เมกะวัตต์ โดยบริษัทมีอานาจในการบริหารจัดการ และมี
สดั ส่วนการถือหนุ้ 100% เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับหลักเกณฑก์ าร

10 ดารงสถานะบรษิ ทั จดทะเบียนประเภท Holding Company ตาม

ขอ้ บงั คบั ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย

ทั้งนี้ ธุรกิจการให้บริการด้านการปฏิบัติการดูแล ภายใตก้ ารบริหารจัดการของกลุ่มบริษัทท่ีเปิดดาเนินการเชิง
บารุ งรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (Operation and พาณิชยใ์ นประเทศแลว้ เป็นจานวนรวม 100 โครงการ จานวน
Maintenance services) มีการขยายตัวตามธุรกิจผลิตและจัด 563.60 เมกะวตั ต์ ประกอบดว้ ย

จาหน่ายกระแสไฟฟา้ จากโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน ไม่วา่ จะเป็น 1. กลมุ่ โครงการในระบบ Adder 8.00 บาท
พลังงานแสงอาทิตย์ พลงั งานขยะ และพลังงานลม และธุรกิจท่ี รวม 4 โครงการ กาลงั การผลิตรวม 7 เมกะวตั ต์
เก่ียวขอ้ ง ซง่ึ มีอตั ราการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เน่ืองตามความตอ้ งการใช้
ไฟฟา้ ในประเทศท่มี ีแนวโนม้ เพ่ิมสงู ขนึ้ ในทกุ ปี 2. กล่มุ โครงการในระบบ Adder 6.50 บาท
รวม 2 โครงการ กาลงั การผลติ รวม 5.95 เมกะวตั ต์

3. กลมุ่ โครงการในระบบ Fit 5.66 บาท
รวม 88 โครงการ กาลงั การผลติ รวม 522.65 เมกะวตั ต์

4. กล่มุ โครงการในระบบ Fit 4.12 บาท
รวม 6 โครงการ กาลงั การผลติ รวม 28 เมกะวตั ต์

1.2 ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า
พลังงานแสงอาทิตย์ (“Solar Energy”)

1.2.1 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ยใ์ นประเทศไทย

ดาเนนิ การโดยกล่มุ บรษิ ัทย่อย ภายใตบ้ ริษัท ซุปเปอร์
โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากัด (“SSE”) เพ่ือลงทุนและพัฒนาธุรกิจ
ผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทติ ย์ และธรุ กจิ ท่เี ก่ียวขอ้ ง โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งาน
สงอาทติ ยข์ องกล่มุ บรษิ ัทมีการใชอ้ ุปกรณ์ท่ีไดม้ าตราฐานและมี
การรบั ประกนั โดยคานงึ ถึงประสิทธิภาพและความคมุ้ คา่ ในการ
ล ง ทุ น เ พ่ื อ ใ ห้ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ไ ด ้ต ล อ ด อ า ยุ สั ญ ญ า
โครงการ 25 ปี ตามสัญญารบั ซือ้ ไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ ายผลิต
แห่งประเทศไทย / การไฟฟ้านครหลวง / การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค
ทัง้ นี้ ปัจจุบันบริษัทมีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

11

รายละเอียดโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นประเทศไทยภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การของกลมุ่ บรษิ ัท วันท่ี
ดาเนินการ
ลาดับ ช่อื บรษิ ัท / โครงการ จานวนโครงการ / ประเภทอุปกรณ์ เชิงพาณิชย์ วันทสี่ ิน้ สุด
เมกะวัตต์ (แผงโซลา่ ร)์ / สญั ญา
(อนิ เวอรเ์ ตอร)์

1 บจ.ดบั เบิล้ ยู อาร์ พี อเี นอรจ์ ี / 8 โครงการ / Poly crystalline / 29 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
ศาลาลาดวน 1-8 48.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

2 บจ.เอสพพี ี ซคิ / 1 โครงการ / Poly crystalline / 30 ธ.ค. 2558 26 ม.ค. 2583
โคกสาโรง 41.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

3 บจ.เอส ทพู ี อเี นอรจ์ ี / 6 โครงการ / Poly crystalline / 29 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
โคกปี่ฆอ้ ง 1-6 36.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

4 บจ.อิเควเตอร์ โซลาร์ / 2 โครงการ / Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
เขาใหญ่ 1-2 10.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.อเิ ควเตอร์ โซลาร์ / 2 โครงการ / Poly crystalline / 10 มิ.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
เขาใหญ่ 3-4 10.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.อิเควเตอร์ โซลาร์ / 1 โครงการ / Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
เขาใหญ่ 5 5.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.อเิ ควเตอร์ โซลาร์ / 2 โครงการ / Poly crystalline / 10 ม.ิ ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
เขาใหญ่ 6-7 10.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.อิเควเตอร์ โซลาร์ / 8 โครงการ / Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
เขาใหญ่ 8-15 40.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter

5 บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซิฟ / 7 โครงการ / Poly Crystalline / 26 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
หนองปรง 1,3,4,5,7,8,10 43.7 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซฟิ / 3 โครงการ / Poly Crystalline / 26 ก.พ. 2559 30 ธ.ค. 2583
หนองปรง 2,6,9 17.85 เมกะวตั ต์ Central Inverter

6 บจ.พาวเวอร์ เทคโนโลยี อนิ เตอรเ์ นช่นั แนล / 8 โครงการ / Poly Crystalline, Thin Film / 28 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
Central Inverter
บอ่ นอก, หนั ทราย1-7 49.65 เมกะวตั ต์

บจ.พาวเวอร์ เทคโนโลยี อินเตอรเ์ นช่นั แนล / 1 โครงการ / Poly Crystalline / 10 มิ.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
Central Inverter
คลองปนู 5.95 เมกะวตั ต์

7 บจ.อามานฟู / 5 โครงการ / Poly crystalline /
คลองหินปนู , โคกสน่นั , สวนป่ า, วงั ใหม1่ , 30.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter
วงั ใหม2่ 28 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583

8 บจ.มีเดียมารค์ / 1 โครงการ / Poly Crystalline / 3 ธ.ค. 2558 2 ธ.ค. 2583
วงั หลมุ 5.90 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.มีเดยี มารค์ / 1 โครงการ / Poly Crystalline / 21 ธ.ค. 2558 20 ธ.ค. 2583
ดงพลบั 5.90 เมกะวตั ต์ Central Inverter

บจ.มีเดียมารค์ / 1 โครงการ / Poly Crystalline / 30 ธ.ค. 2558 29 ธ.ค. 2583
5.90 เมกะวตั ต์ Central Inverter 23 เม.ย.2559 30 ธ.ค. 2583
12 หนองแขม
บจ.มเี ดียมารค์ / 1 โครงการ / Poly Crystalline /
หนั ทราย 5.90 เมกะวตั ต์ Central Inverter

ลาดบั ช่อื บริษทั / โครงการ จานวนโครงการ / ประเภทอุปกรณ์ วันท่ี วนั ทสี่ ิน้ สุด
เมกะวัตต์ (แผงโซล่าร)์ / ดาเนินการ สัญญา
9 บจ.ศรนี าคา พาวเวอร์ / (อนิ เวอรเ์ ตอร)์ เชงิ พาณิชย์
หนั ทราย1-6 6 โครงการ /
36.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 29 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
10 บจ.รูทซนั / 2 โครงการ / Central Inverter
โครงการ 1,2 2.0 เมกะวตั ต์ 1 ก.ค. 2554 30 ม.ิ ย. 2564
บจ.รูทซนั / 1 โครงการ / Poly Crystalline /
โครงการ 3 1.0 เมกะวตั ต์ String Inverter 3 พ.ค. 2555 2 พ.ค. 2565
1 โครงการ /
11 บจ.อเี ลคตรกิ า้ เอเชยี เพาเวอร์ / 8.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 27 เม.ย. 2559 31 ธ.ค. 2583
กาหลง 1 โครงการ / String Inverter
บจ.อีเลคตรกิ า้ เอเชยี เพาเวอร์ / 5.0 เมกะวตั ต์ 27 ธ.ค. 2561 26 ธ.ค. 2586
อผศ. 1 โครงการ / Poly Crystalline /
4.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 8 ก.พ. 2556 30 พ.ย. 2564
12 บจ.โปร โซลา่ ร์ วนั / 1 โครงการ /
โครงการ 1 5.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 10 ต.ค.2557 9 ต.ค. 2567
1 โครงการ / String Inverter
13 บจ.พที ี ไดรว์ (ประเทศไทย) / 5.0 เมกะวตั ต์ 28 ธ.ค. 2559 27 ธ.ค. 2584
โครงการ 1 1 โครงการ / Poly Crystalline /
5.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 30 ธ.ค. 2559 29 ธ.ค. 2584
14 บจ.แอสตา้ พาวเวอร์ / 1 โครงการ /
บา้ นบงึ 4.5 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline, Thin Film / 28 ธ.ค. 2559 27 ธ.ค. 2584
บจ.แอสตา้ พาวเวอร์ / 1 โครงการ / Central Inverter
อรญั ประเทศ 4.2 เมกะวตั ต์ 29 ธ.ค. 2559 28 ธ.ค. 2584
บจ.แอสตา้ พาวเวอร์ / 1 โครงการ / Poly Crystalline /
พนมสารคาม 8.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 29 ม.ค. 2559 28 ธ.ค. 2583
บจ. แอสตา้ พาวเวอร์ / 1 โครงการ /
บางเลน 5.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 28 ธ.ค. 2559 27 ธ.ค. 2584
1 โครงการ / Central Inverter
15 บจ.เอส ที เอฟ อี โซลา่ / 5.0 เมกะวตั ต์ 27 ธ.ค. 2559 26 ธ.ค. 2584
ยางนา้ กลดั ใต้ 1 โครงการ / Poly Crystalline /
5.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 6 มี.ค. 2560 30 ธ.ค. 2584
16 บจ.ไอคิว เอ็นเนอรย์ ี / 1 โครงการ /
บางประหนั 6.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 29 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
บจ.ไอคิว เอน็ เนอรย์ ี / 2 โครงการ / Central Inverter
นครชยั ศรี 8.0 เมกะวตั ต์ 23 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
บจ.ไอควิ เอน็ เนอรย์ ี / 1 โครงการ / Poly Crystalline, Thin Film /
ศภุ นิมติ อรญั ประเทศ 4.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 26 ธ.ค. 2561 23 ธ.ค. 2586 13

17 บจ.โซลคดิ โซลา่ ร์ / Poly Crystalline /
หนั ทราย Central Inverter

18 บจ. นอรท์ โซลา่ ร์ เพาเวอร์ / Poly Crystalline /
หนั ทราย1, หนั ทราย2 Central Inverter

19 บจ.ไทยกรนี / Poly Crystalline /
โนนสงั Central Inverter

Poly crystalline /
Central Inverter

Poly Crystalline /
Central Inverter

Poly Crystalline /
Central Inverter

ลาดบั ชื่อบรษิ ทั / โครงการ จานวนโครงการ / ประเภทอุปกรณ์ วันที่ วนั ทสี่ ิน้ สุด
เมกะวัตต์ (แผงโซล่าร)์ / ดาเนินการ สัญญา
บจ.ไทยกรนี / (อินเวอรเ์ ตอร)์ เชงิ พาณิชย์
สวนยางบา้ นดนิ นา 1 โครงการ / 24 ธ.ค. 2561 23 ธ.ค. 2586
20 บจ.นอรธ์ อสี ต์ ฟิวเจอร์ อเี นอรจ์ ี / 5.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 30 ธ.ค. 2583
เมอื งไผ่ 1 โครงการ / Central Inverter 30 ธ.ค. 2583
21 บจ.ตงั้ แซเยยี้ ง กรนี พาวเวอร์ วนั / 6.0 เมกะวตั ต์ 30 ธ.ค. 2583
แพรกหนามแดง 1 โครงการ / Poly crystalline / 29 เม.ย. 2559 30 ธ.ค. 2583
22 บจ.ดบั บลวิ เอ็กซ์ เอ 6 / 4.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter 30 ธ.ค. 2583
กยุ เหนือ 3 1 โครงการ / 30 ธ.ค. 2583
23 บจ.ดบั บลิว เอก็ ซ์ เอ 7 / 5.95 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 30 เม.ย. 2559 26 ธ.ค. 2586
กยุ เหนือ 4 1 โครงการ / String Inverter 23 ธ.ค. 2586
24 บจ.ดบั บลิว เอก็ ซ์ เอ 5 / 5.95 เมกะวตั ต์ 30 ธ.ค. 2584
กยุ เหนือ 2 1 โครงการ / Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 25 ธ.ค. 2584
25 บจ.ดบั บลวิ เอก็ ซ์ เอ 4 / 5.95 เมกะวตั ต์ Central Inverter 30 ธ.ค. 2583
กยุ เหนือ 1 1 โครงการ / 17 ธ.ค. 2583
26 บจ.ไอควิ ก๊ดู / 5.95 เมกะวตั ต์ Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 27 ม.ค.2584
ผเู้ ลยี้ งผึง้ จงั หวดั แพร่ 1 โครงการ / Central Inverter 7 ก.พ. 2566
27 บจ.พีเคทกี รนี / 5.0 เมกะวตั ต์ 26 ธ.ค. 2584
เมอื งชยั ภมู ิ 1 โครงการ / Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559 23 ธ.ค. 2586
28 บจ.ไอควิ โซลา่ / 4.0 เมกะวตั ต์ Central Inverter
กระทมุ่ แบน 1 โครงการ /
บจ.ไอควิ โซลา่ / 5.0 เมกะวตั ต์ Poly crystalline / 30 เม.ย. 2559
ไรอ่ อ้ ยโพธาราม 1 โครงการ / Central Inverter
29 บจ.อพอลโล่ โซลา่ ร์ / 2.0 เมกะวตั ต์
วงั นา้ เยน็ 1 โครงการ / Poly Crystalline / 27 ธ.ค. 2561
บจ.อพอลโล่ โซลา่ ร์ / 3.6 เมกะวตั ต์ Central Inverter
วงั มว่ ง 1 โครงการ /
30 บจ.ไอควิ กรนี / 1.8 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 24 ธ.ค. 2561
บางบอ่ 1 โครงการ / Central Inverter
31 บจ.กรนี ไบ-โอ มหาสารคาม / 5.0 เมกะวตั ต์
โครงการ 1 1 โครงการ / Poly Crystalline / 24 พ.ย. 2560
32 บจ.เอไอคิว เอ็นเนอรย์ ี / 0.952 เมกะวตั ต์ Central Inverter
ธกส.สระบรุ ี 1 โครงการ /
33 บจ.ซปุ เปอร์ โซลา่ ร์ เอนเนอรย์ ี / 1.0 เมกะวตั ต์ Poly Crystalline / 26 ธ.ค. 2559
ผผู้ ลติ ยางพาราสรุ าษฎรธ์ านี 1 โครงการ / Central Inverter
5.0 เมกะวตั ต์
14 รวมทงั้ หมด Poly crystalline / 28 เม.ย. 2559
Central Inverter

Poly Crystalline / 18 ธ.ค. 2558
String Inverter

Poly Crystalline / 28 ธ.ค. 2559
String Inverter

Thin Film / 8 ก.พ. 2556
Central Inverter

Poly Crystalline / 27 ธ.ค. 2559
Central Inverter

Poly Crystalline / 24 ธ.ค. 2561
Central Inverter

100 โครงการ 563.60 เมกะวตั ต์

หมายเหตุ : ในระหว่างปี 2562 บรษิ ัทไดม้ ีการจดั ตงั้ กองทนุ รวมโครงสรา้ งพืน้ ฐานโรงไฟฟา้ ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี (“SUPER ENERGY POWER PLANT
INFRASTRUCTURE FUND”) ดว้ ยการโอนสิทธิในรายไดส้ ทุ ธิจากการจาหนา่ ยไฟฟา้ ตามสญั ญาซอื้ ขายไฟฟา้ ภายใตบ้ ริษัท 17 อญั ญวีร์ โฮลดิง้ จากัด
(“17AYH”) และ บรษิ ัท เฮลท์ แพลนเน็ท เมเนจเมน้ ท์ (ประเทศไทย) (“HPM”) จากัด จานวน 19 โครงการ รวม 118 เมกะวตั ต์ เม่ือวนั ท่ี 14 สิงหาคม
2562 โดยผลการดาเนินงานทงั้ 2 บรษิ ัทดงั กลา่ ว ไมแ่ สดงรวมอยใู่ นงบการเงินรวมของบรษิ ัทตงั้ แตว่ นั ท่เี กิดรายการ

1.2.2 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศ ซง่ึ เป็นบรษิ ัทย่อยของบริษัท เขา้ ซือ้ หนุ้ ในบริษัท THINH LONG
เวยี ดนาม PHUYEN SOLAR POWER JSC (TLPY) ในสดั ส่วนรอ้ ยละ 100

ในปี 2562 บริษัทไดเ้ ข้าลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า ทงั้ นีโ้ ครงการ TLPY ซ่ึงตงั้ อยู่ท่ีจังหวัด PHU YEN
พลงั งานแสงอาทิตยท์ ่ีประเทศเวียดนาม และไดด้ าเนินการเชิง ประเทศเวียดนาม เป็นโครงการท่ีไดด้ าเนินการเชิงพาณิชยแ์ ลว้
พาณิชยเ์ รียบรอ้ ยแลว้ ใหก้ บั การไฟฟ้าเวียดนาม (EVN) ทงั้ หมด โดยเร่มิ จาหน่ายไฟฟ้าตงั้ แต่ 30 มิถนุ ายน 2562 ภายใตส้ ญั ญา
4 โครงการ กาลงั การผลติ รวม 186.72 เมกะวตั ต์ ไดแ้ ก่ ซือ้ ขายไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff ซ่งึ มีอตั รารบั ซือ้ ไฟฟ้า
1. โครงการ Phan Lam จงั หวดั BinhThuan จานวน 36.72 MW 9.35 เซ็นดอลลารส์ หรฐั ต่อกิโลวตั ตช์ ่วั โมง เป็นระยะเวลา 20 ปี
2. โครงการ BinhAn จงั หวดั BinhThuan จานวน 50 MW นบั จากวนั COD
3. โครงการ Van Giao1 จงั หวดั An Giang จานวน 50 MW
4. โครงการ Van Giao2 จงั หวดั An Giang จานวน 50 MW การเขา้ ลงทนุ ในโครงการโรงไฟฟ้าครงั้ นี้ ทาใหบ้ ริษัทมี
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 โครงการ Sinenergy จังหวดั Ninh โครงการท่ีไดด้ าเนินการเชิงพาณิชยแ์ ลว้ ในประเทศเวียดนาม
Thuan จานวน 50 MW ซง่ึ ไดเ้ ร่มิ ดาเนินการเชิงพาณิชยแ์ ลว้ เม่ือ ทงั้ หมด 6 โครงการ กาลงั การผลิตรวม 286.72 เมกะวตั ต์ ซ่งึ จะ
วนั ท่ี 24 ธนั วาคม 2562 ยงั อย่รู ะหวา่ งดาเนินการเร่ืองการเขา้ ถือ ชว่ ยเสริมสรา้ งความแข็งแกรง่ และศกั ยภาพในการแข่งขนั ในการ
หนุ้ ดาเนินธุรกิจ และสรา้ งรายไดใ้ นอนาคตให้แก่บริษัทได้อย่าง
ตอ่ เน่ือง
นอกจากนี้ เม่ือวนั ท่ี 6 ม.ค. 2563 บริษัทไดม้ ีมติอนมุ ตั ิ
เขา้ ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ท่ีประเทศ
เวียดนาม จานวน 1 โครงการ ขนาดกาลงั การผลิตตดิ ตงั้ 50 เม
กะวตั ต์ โดยให้ SUPER SOLAR ENERGY (HONGKONG)3

รายละเอียดโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตยป์ ระเทศเวียดนาม
ชอื่ โครงการ กาลงั ทต่ี ้งั ผู้รับซอื้ อัตรารับซือ้ วนั ที่
บริษทั การผลติ โครงการ ไฟฟ้า PPA ไฟฟ้า ระยะเวลา COD
5 ก.ค. 2561 9.35 PPA 25 มิ.ย.
Phan Lam Nam Viet Phan Lam 36.72 จงั หวดั EVN 8 ต.ค. 2561 20 ปี 2562
Co.,Ltd. MWp BinhThuan 30 พ.ย. 2561 UScents/kWh 25 ม.ิ ย.
21 ก.ย. 2561 9.35 หลงั จาก COD 2562
Binh An EverichBinhThuan 50.00 จงั หวดั EVN 26 ก.ย 2561 20 ปี 24 ธ.ค.
Energy LLC UScents/kWh 2562
MWp BinhThuan 9.35 หลงั จาก COD 26 ม.ิ ย.
20 ปี 2562
Sinenergy Sinenergy NinhThuan 50.00 จงั หวดั EVN UScents/kWh 26 ม.ิ ย.
NinhThuan Power LLC MWp NinhThuan 9.35 หลงั จาก COD 2562
20 ปี
Van Giao1 Van Giao Solar Power 50.00 จงั หวดั An EVN UScents/kWh
Plant JSC MWp Giang 9.35 หลงั จาก COD
20 ปี
Van Giao2 Van Giao Solar 50.00 จงั หวดั An EVN UScents/kWh 15
Energy Plant JSC MWp Giang หลงั จาก COD

ชื่อโครงการ บริษทั กาลัง ทตี่ ง้ั ผู้รับซอื้ PPA อตั รารับซือ้ ระยะเวลา วนั ที่
Thinh Long Thinh Long Phu Yen การผลิต โครงการ ไฟฟ้า 14 พ.ย. ไฟฟ้า PPA COD
50.00 จงั หวดั EVN 2561 9.35 20 ปี 30 ม.ิ ย.
Solar Power JSC MWp PHUYEN 2562
UScents/kWh หลงั จาก COD

หมายเหตุ : โครงการ Sinenergy Ninh Thuan และ Thinh Long ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 ยงั อย่รู ะหว่างดาเนินการเรอื่ งการเขา้ ไปถือหนุ้ โดย Super
Energy Group (Hongkong) Co.,Ltd และ Super Energy Group (Hongkong) 3 Co.,Ltd ตามลาดบั

รูปภาพโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นประเทศเวียดนาม Van Giao2 กาลังการผลิต 50.00 MW
Phan Lam กาลงั การผลิต 36.72 MW

Binh An กาลงั การผลติ 50.00 MW Sinenergy กาลงั การผลติ 50.00 MW

Van Giao1 กาลงั การผลิต 50.00 MW Thinh Long กาลงั การผลิต 50.00 MW

16

1.3 ธุรกจิ ผลติ และจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากธุรกิจ รายละเอียดโครงการโรงไฟฟ้าฯภายใตก้ ารบริหารจัดการของ
โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ (“Waste Energy”)
กล่มุ บรษิ ัท
ดาเนินการโดยกลุ่มบรษิ ัทย่อย ภายใตบ้ ริษัท ซุปเปอร์
เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี จากดั (“SEE”) เพ่ือลงทนุ และพฒั นาธุรกิจผลิต บจ.กรีน เพาเวอร์ เอน็ บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอน
และจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานความรอ้ น
จากขยะ และ ธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง ปัจจุบันมีโครงการโรงไฟฟ้า ลาดบั เนอรจ์ ี / จังหวดั เนอรย์ ี 6 / จงั หวัด
ดงั กล่าวท่ดี าเนนิ การเชิงพาณิชยแ์ ลว้ 1 โครงการ จานวน 9 เมกะ
วตั ต์ ท่ีจังหวดั สระแกว้ และอยู่ระหว่างดาเนินการก่อสรา้ งตาม สระแก้ว พิจติ ร
สญั ญารบั ซือ้ ไฟฟ้ารวม 2 โครงการ จานวนรวม 15 เมกะวตั ต์ ท่ี
จังหวัดพิจิตร และจังหวัดหนองคาย นอกจากนั้นแล้วยังมี จานวนโครงการ / 1 โครงการ / 1 โครงการ /
โครงการท่อี ยรู่ ะหวา่ งเตรยี มดาเนินการต่างๆท่ีเก่ียวขอ้ งจานวน 3 เมกะวตั ต์ 9.0 เมกะวตั ต์ 9.0 เมกะวตั ต์
โครงการ ตงั้ อยู่ท่ีจังหวดั นนทบุรี, จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัด
นครศรธี รรมราช จานวนรวม 48 เมกะวตั ต์ ประเภทเทคโนโลยี ระบบ Circulating ระบบ Step Grate /

ทงั้ นี้ โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ นจากขยะ จะ Fluidized -Bed (CFB) Stoker
เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมพลังงานมากย่ิงขึ้น อัน
เน่ืองมาจากความพยายามในการแก้ไขปัญหาขยะ โดยการ วันที่ดาเนินการเชิง 14 ม.ิ ย. 2561 COD ภายใน
บริหารจัดการขยะใหส้ ามารถนามาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต พาณิชย์ เมษายน 2563
พลงั งานไฟฟา้ ตอ่ ไป ทงั้ นี้ บริษทั ไดเ้ ล็งเหน็ และใหค้ วามสาคญั ต่อ
การมีส่วนร่วมผลักดนั โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจาก วนั ท่สี ิน้ สุดสัญญา อายสุ ญั ญาตอ่ อตั โนมตั ิ อายสุ ญั ญาตอ่ อตั โนมตั ิ
ขยะ ดว้ ยการเขา้ ลงทนุ และพฒั นาธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้ ง อาทิเช่น การ
ลงทนุ ในท่ดี นิ (บอ่ ขยะ) การลงทนุ ในโครงการโรงคดั แยกขยะเพ่ือ ทกุ 5 ปี ทกุ 5 ปี
ผลิต RDF การลงทนุ ในเทคโนโลยีเพ่ือการผลิตและตรวจนับ
วตั ถุดบิ และการลงทุนโครงการก่อสรา้ งโรงไฟฟ้าพลงั งานความ อตั ราคา่ ไฟฟ้า Adder 3.50 บาท / Adder 3.50 บาท /
ร้อนจากขยะ เป็นต้น โดยท่ีผ่านมาบริษัทไดม้ ีการศึกษาและ
เตรียมพรอ้ มสาหรบั การลงทนุ ในธุรกจิ ดงั กล่าวอยา่ งต่อเน่ือง โดย หน่วย เป็นเวลา 7 ปี หนว่ ย เป็นเวลา 7 ปี
เช่ือม่นั วา่ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจากขยะจะเขา้ มามี
บทบาทเพ่ิมมากขึน้ และจะช่วยเพ่ิมสัดส่วนรายไดใ้ นธุรกิจนี้ 1.4 ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากธุรกิจ
ใหก้ บั บรษิ ัทไดอ้ ย่างสม่าเสมอในอนาคต โรงไฟฟ้าพลังงานลม (“Wind Energy”)

บริษัทถือหุ้นผ่าน บริษัท ซุปเปอร์ วินด์ เอนเนอร์ยี 17
จากดั (“SWE”) เพ่ือลงทนุ และพฒั นาธุรกิจผลิตและจดั จาหน่าย
กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานลม และธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้ ง ซ่งึ

หลังจากท่ีบริษัทไดศ้ ึกษาถึงศกั ยภาพและความเป็นไปไดข้ อง
โครงการมาระยะหน่ึง และไดเ้ ห็นถึงศักยภาพของการเข้าไป
ลงทุนในโครงการพลังงานลมในประเทศเวียดนาม ปัจจุบันมี
ความพรอ้ มเรม่ิ ทยอยกอ่ สรา้ งแลว้ โดยแบ่งเป็นโครงการพลงั งาน
ลมในทะเล (Offshore) ปริมาณการขายไฟฟ้าจานวน 171 เมกะ

วตั ต์ และโครงการพลงั งานลมบนพืน้ ดนิ (Onshore) ปรมิ าณการ
ขายไฟฟ้าจานวน 250 เมะกะวตั ต์ รวมทงั้ หมด 4 โครงการ โดย
เฟสแรก ตงั้ อย่ใู นจงั หวดั Soc Trang จานวน 30 เมกะวตั ต์ และ
Bac Lieu จานวน 141 เมกะวตั ต์ ซง่ึ ตวั โครงการจะย่ืนลงไปใน
ทะเลตงั้ แต่ 500 เมตรขึน้ ไป ขณะนีก้ าลงั ดาเนินการก่อสรา้ ง ซ่งึ

คาดวา่ จะสามารถดาเนนิ การเชิงพาณิชยไ์ ดภ้ ายในปี 2564 ส่วน ความต่อเน่ืองในการดาเนินงานและขยายการลงทุน
เฟส 2 จานวน 2 โครงการคือท่ีจงั หวดั Phu Yen จานวน 200 เม นบั ตงั้ แต่บริษัทไดม้ ีการเขา้ มาในธุรกิจพลังงานทดแทนนี้ บริษัท
กะวตั ต์ และ Gia Lai จานวน 50 เมกะวตั ต์ เป็นโครงการแบบ มงุ่ ม่นั ท่ีจะพฒั นาศกั ยภาพในการดาเนินงานเพ่ือแข่งขนั และเป็น
OnShore ซ่งึ อยู่ระหว่างการพิจารณาดา้ นสญั ญา EPC คาดว่า
จะสามารถดาเนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2565 ดังนั้น ผู้นาในธุ รกิจดัง กล่าว ด้วยธุร กิจผลิต และจัด จาหน่าย
เป้าหมายภายในปี 2565 บริษัทจะสามารถดาเนินการเชิง กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ทั้งนี้ ภายใตก้ าร
พาณิชยใ์ นโครงการพลงั งานลมท่ีประเทศเวียดนามรวมทงั้ หมด ดาเนนิ งานท่ผี า่ นมาของบรษิ ทั ไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั กระบวนการ
421 เมกะวตั ต์ ซง่ึ การเขา้ ลงทนุ โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในครงั้ นีจ้ ะ ผ ลิ ต แ ล ะ จั ด จ า ห น่ า ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ท่ี มี ค ว า ม ม่ ั น ค ง แ ล ะ มี
เสถียรภาพ ดว้ ยเทคโนโลยีท่ีทนั สมยั และเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
ช่วยเสริมสรา้ งความแข็งแกร่งและศกั ยภาพในการ ใหแ้ กก่ ารไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย, การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค
แขง่ ขนั ในการดาเนนิ ธุรกจิ และสรา้ งรายไดใ้ นอนาคตใหแ้ ก่บริษัท
ได้อย่างต่อเน่ือง สอดคล้องกับปัจจุบันท่ีความต้องการใช้ และการไฟฟ้านครหลวง ตามสัญญารับซือ้ ขายไฟฟ้าท่ีมีอายุ
พลงั งานในประเทศเวียดนามเพ่ิมมากขนึ้ และเป็นการขยายการ สญั ญาระยะยาวสามารถใหก้ ารรบั ประกนั ความม่นั คงในการจ่าย
ลงทนุ ของบรษิ ัทไปยงั ตา่ งประเทศซง่ึ จะไดร้ บั สิทธิประโยชนด์ า้ น กระแสไฟฟ้าไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง การดาเนินงานของบริษัทยงั มีส่วน
การลงทนุ ในธุรกิจพลงั งานหมนุ เวียนจากรฐั บาลเวียดนาม เช่น สาคญั ในการผลกั ดนั ใหเ้ กิดความม่นั คงดา้ นพลงั งาน ซ่งึ ถือเป็น
สิทธิประโยชน์ดา้ นภาษีและสิทธิประโยชน์ในการเขา้ ถึงแหล่ง พลงั งานท่จี าเป็นตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้
เงนิ ทนุ
บริษัทยังมีนโยบายในการลงทนุ ในบริษัทท่ีมีวตั ถุประสงคใ์ นการ
• Gia Lai Wind Project 50 MW ประกอบกิจการลักษณะเดียวกัน หรือกิจการท่ีสนับสนุนการ
• Phu Yen Wind Project 200 MW ดาเนนิ งานของบรษิ ทั ฯ อนั จะทาใหบ้ รษิ ัทฯ มีผลการดาเนินงานท่ี
• Soc Trang Wind Project 30 MW ดี และครอบคลมุ ในธุรกจิ นีม้ ากย่งิ ขนึ้
• Bac Lieu Wind Project 142 MW โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานลมประเทศเวียดนาม

18 ชอื่ โครงการ Soc Trang Bac Lieu

บริษัท Super Wind CongLy Super Wind CongLy
SocTrang Joint Stock Bac Lieu Joint Stock
Company Company

ปริมาณการขายไฟฟ้า 30 MW 141 MW
ตามสัญญา
Bac Lieu
ทตี่ ง้ั โครงการ Soc Trang Province Province

ผู้รับซอื้ ไฟฟ้า EVN EVN
PPA 18 มกราคม 2562
ชื่อโครงการ 30 พฤศจิกายน 2561 HBRE-Gia Lai
บริษัท HBRE Gia Lai Joint
HBRE-Phu Yen Stock Company
กาลังการผลิต HBRE Phu Yen Joint
ทต่ี ง้ั โครงการ 50 MW
ผู้รับซือ้ ไฟฟ้า Stock Company Gia Lai Province
PPA
ระยะเวลา PPA 200 MW EVN
In process
Phu Yen Province 20 ปี หลงั จาก COD

EVN

In process

20 ปี หลงั จาก COD

ผลการดาเนินการเชิงพาณิชยข์ องโรงไฟฟา้ พลงั งานทดแทน

ภาพรวมผลการดาเนินการเชิงพาณิชยข์ องโรงไฟฟา้ พลงั งาน

ทดแทนของกลมุ่ บรษิ ัท

ปี ทด่ี าเนินการ โครงการ เมกะวตั ต์ เมกะวัตต์ หมายเหตุ :
เชงิ พาณิชย์ สะสม 1. ในวนั ที่ 14 สิงหาคม 2562 บริษัทโอนขายสิทธิในรายไดส้ ทุ ธิเข้า
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี
(SCOD) (SUPEREIF) ทงั้ หมด 19 โครงการ กาลงั การผลิต 118 เมกะวตั ต์
2. ในวันที่ 6 ม.ค. 2563 ท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติให้ SSE
โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ยใ์ นประเทศ จาหน่ายหนุ้ สามญั ทงั้ หมดใน บจ. อินฟิ นิท อลั เทอรเ์ นทีฟ ฯ (IAE) ซึ่ง
ถือหุ้นใน บจ.รางเงิน โซลูช่ัน ร้อยละ 100 ให้กับ บมจ.กันกุลฯ
ปี 2554 3 6.00 6.00 (GUNKUL) คิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 33.0 ของทนุ จดทะเบียนและทนุ
ชาระแลว้ ส่งผลให้ บริษัท รางเงิน โซลชู ่นั จากัด (RNS) สิน้ สภาพใน
ปี 2555 1 1.00 7.00 การเป็นบรษิ ัทรว่ มของ SSE รวมทงั้ หมด 11 โครงการ กาลงั การผลิต
87.00 เมกะวตั ต์ นบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 6 มกราคม 2563
ปี 2556 1 0.95 7.95 3. ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2562 โครงการ Sinenergy จานวน 50
เมกะวตั ต์ ยงั อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการเร่อื งการเขา้ ถือหนุ้ และยงั
ปี 2557 1 5.00 12.95 ไม่ไดน้ าผลการดาเนินงานเขา้ มารวมในงบการเงนิ ของบรษิ ัท

ปี 2558 20 175.50 188.45 19

ปี 2559 96 542.15 730.60

ปี 2560 2 10.00 740.60

ปี 2561 6 28.00 768.60
ปี 2562 (19) 1 (118) 1 563.60
(11) 1 (87) 2

รวม 100 563.60

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ยต์ ่างประเทศ

ประเทศ 53 236.723

ปี 2562 236.72

ปี 2563 1 50.00 286.72

รวม 6 286.72

รวมโครงการ 106 850.32
โรงไฟฟ้า
พลังงาน
แสงอาทติ ย์

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน (จากขยะ)

ปี 2561 1 9.00 9.00

รวมโครงการ 1 9.00
โรงไฟฟ้า 107 859.32

พลังงานขยะ
รวมทัง้ หมดท่ี

COD แล้ว

ภาพแสดงการดาเนนิ การเชงิ พาณิชยข์ องโรงไฟฟา้ พลงั งานทดแทนของกล่มุ บรษิ ัท ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

จานวนเมกะวัตต(์ สะสม) COD / ถือหนุ้ ในปีกอ่ นหนา้ COD / เขา้ ถือหนุ้ เพ่มิ เติม รวมกาลงั การผลิต
859.3 เมกะวตั ต์

1,000.00 542.15 10.00 37.00 186.72 100.00
800.00
600.00 175.50 730.60 740.60 659.60 759.32
400.00
200.00 6.00 1.00 0.95 5.00 188.45
-
ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

หมายเหตุ 1. ในปี 2562 บรษิ ัทไดม้ ีการโอนขายสทิ ธิการรบั รูร้ ายไดส้ ทุ ธิเพ่ือจดั ตงั้ กองทนุ รวมโครงสรา้ งพืน้ ฐานฯ SUPEREIF จานวน 19
โครงการ รวมกาลงั การผลิต 118 เมกะวตั ต์

2. ในปี 2563 บรษิ ทั มีมตใิ ห้ SSE จาหนา่ ยหนุ้ สามญั ทงั้ หมดใน บจ. อินฟินิท อลั เทอรเ์ นทฟี ฯ (IAE) ซง่ึ ถือหนุ้ ใน บจ.รางเงนิ
โซลชู ่นั รอ้ ยละ 100 ใหก้ บั บมจ.กนั กลุ ฯ (GUNKUL) คดิ เป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 33.0 ของทนุ จดทะเบียนและทนุ ชาระแลว้ สง่ ผลให้ บรษิ ัท ราง
เงิน โซลชู ่นั จากดั (RNS) สิน้ สภาพในการเป็นบรษิ ัทรว่ มของ SSE รวมทงั้ หมด 11 โครงการ กาลงั การผลิต 87.00 เมกะวตั ต์

ในดา้ นสถานะการดาเนนิ งานของโรงไฟฟ้าท่ีบริษัทเขา้ พลังงานแสงอาทิตย์ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ใน
ประเทศเวียดนาม โดยเฉพาะโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน
ลงทุนและดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว มีจานวน 107 โครงการ แสงอาทิตย์ ซ่ึงได้มีการดาเนินการเชิงพาณิชย์เรียบรอ้ ยแล้ว
ทงั้ หมด 6 โครงการ 286.72 MW
รวมกาลงั การผลิต 859.32 เมกะวตั ต์ ท่ีเป็นโรงไฟฟ้าท่ีสามารถ
นอกจากนี้ การเข้าไปลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า
สรา้ งผลการดาเนินงานใหแ้ ก่บริษัทไดท้ นั ทีและตอ่ เน่ืองในระยะ พลังงานลมในประเทศเวียดนาม บริษัทมีความพร้อมและได้

ยาว นอกจากนีย้ งั มีโรงไฟฟา้ บางโครงการอย่รู ะหวา่ งการก่อสรา้ ง ทยอยก่อสรา้ งตามแผนงาน โดยเฟสแรกจานวน 171 เมกะวตั ต์
และเฟสสองจานวน 250 เมกะวตั ต์ รวม 421 เมกะวตั ต์ ซ่ึงจะ
ซ่ึงจะเป็นส่วนท่ีเสริมสร้างการเติบโตของรายไดใ้ หแ้ ก่บริษัทฯ ช่วยสนบั สนนุ ใหก้ ารสรา้ งรายไดแ้ ละกาไรของบริษัทเติบโตอย่าง
แขง็ แกรง่ ในอนาคต
ตอ่ ไปในอนาคต
นอกจากนีบ้ ริษัทยงั มีเป้าหมายการขยายธุรกิจรวมไป
ในปี 2562 บรษิ ทั ไดแ้ สดงใหเ้ ห็นถงึ ความสาเรจ็ ในการ ถงึ กล่มุ ประเทศ CLMV ซง่ึ ถือเป็นตลาดท่ีสาคญั และมีขนาดใหญ่

ลงทุนและพฒั นาโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน โดยเฉพาะ อยา่ งไรกด็ ี การลงทนุ ในตา่ งประเทศ ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั ทงั้
ในดา้ นกฎหมาย สิทธิประโยชนท์ างภาษี รวมถงึ โครงการท่ีบรษิ ัท
อ ย่ า ง ย่ิ ง ก า ร ล ง ทุน แ ล ะ พัฒ น า โ ค ร ง ก า ร โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า พ ลั ง ง า น จะเข้าไปลงทุนนั้น จะต้องสามารถสร้างผลตอบแทนท่ีดี
ก่อใหเ้ กิดกระแสเงินสดท่เี พ่ิมขนึ้ ใหแ้ ก่บรษิ ทั
แสงอาทติ ย์ ท่เี ป็นโครงการหลกั ท่สี รา้ งผลการดาเนินงานในช่วงปี

ท่ีผ่านมาได้อย่างสม่าเสมอและแน่นอน นับเป็นส่ิงยืนยันถึง

ความสาเร็จของการเขา้ มาลงทุนในธุรกิจดงั กล่าว อย่างไรก็ตาม

บริษัทจะยังคงม่งุ ม่นั สรา้ งการเติบโตในทุกๆ ปี เพ่ือใหบ้ ริษัทได้

บรรลุวัตถุประสงคใ์ นการเป็นผูน้ าดา้ นธุรกิจโรงไฟฟ้าพลงั งาน

20 ทดแทน
การขยายการลงทนุ และพฒั นาโครงการโดยรวมในปีท่ี

ผ่านมา ส่วนใหญ่จะเป็นการลงทนุ และพฒั นาโครงการโรงไฟฟ้า

1.5 ธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การดาเนินธุรกิจอีกส่วนหน่ึงของ OPEN คือการ
(Information & Communications Technology) ใหบ้ ริการบริหารจดั การและดูแลทรพั ยส์ ินส่วนกลางของอาคาร
พกั อาศยั และอาคารสานกั งานในลกั ษณะของ นิติบุคคลอาคาร
ดาเนินการโดยบริษัท โอเพ่น เทคโนโลย่ี จากัด ชดุ
(มหาชน) (“OPEN”) ไดแ้ ก่ งานพฒั นาและวางระบบสารสนเทศ
ง า น ด้าน ก า ร บริก า ร บา รุ ง รักษ า อุป กร ณ์ค อ มพิ ว เ ต อ ร์ร ะ บ บ 1.6 ธุรกิจด้านการผลิตและจาหน่ายน้าเพ่ือการอุปโภค
สารสนเทศ และจดั หาบุคลากรใหบ้ รกิ ารแบบครบวงจร และงาน บรโิ ภค
ดา้ นการบรหิ ารงานและใหค้ าปรกึ ษาดา้ นธรุ กจิ

โดยบริษัทดาเนินธุรกิจเน้นรูปแบบท่ีเอือ้ อานวยให้ ในปี 2562 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท 21
สอดคล้องกับความตอ้ งการของลูกคา้ ในแต่ละกลุ่มเป็นปัจจัย ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากัด ซ่ึงประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่าย
หลกั ตงั้ แต่การคดั สรรผลิตภัณฑแ์ ละระบบงาน ซ่งึ บริษัทเป็นผู้ นา้ ประปา จากกล่มุ บุคคลท่ีเก่ียวโยงกัน และยงั ส่งผลให้ บริษัท
จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีท่ีมีช่ือเสียง โดยผ่าน กิจการรว่ มคา้ ไทยพานิชนาวาก่อสรา้ ง และแหล่งนา้ ไทย จากัด
ตวั แทน หรอื คคู่ า้ (Distributors / Partners) เพ่ือจดั หาผลิตภณั ฑ์
ดา้ นเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั รูปแบบการใชง้ านและลกั ษณะการ (JVTPN) ซง่ึ ประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายนา้ ประปา มีสภาพ
เป็นบริษัทย่อยของ SUPER ซ่งึ SUPER จะถือหนุ้ ทางออ้ มใน
ดาเนินธุรกิจของลูกคา้ ในกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มสถาบันการเงิน JVTPN สัดส่วนรอ้ ยละ 90 ทงั้ นีธ้ ุรกิจผลิตและจาหน่ายนา้ เพ่ือ
กลุ่มอุตสาหกรรม กลุ่มภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เพ่ือให้เกิด การอุปโภคบริโภค ได้แก่ น้าประปา น้าดิบ และน้าเพ่ือ
ประโยชน์สูงสุดต่อองคก์ รและธุรกิจของลูกคา้ ทัง้ นีบ้ ริษัทให้ อุตสาหกรรม ให้แก่ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในนิคม
ความสาคญั ในเร่ืองการใหบ้ รกิ ารแบบ Manage Services โดย
การใหบ้ รกิ ารจดั หาบุคคลากรเจา้ หนา้ ท่ีเพ่ือใหป้ ฏิบตั งิ านประจา อุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรม รวมถึงภาค
ณ จุดท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ (Outsourcing Services) โดยทีมวิศวกร ครวั เรือน และการประปาส่วนภูมิภาค ผลิตภณั ฑแ์ ละบริการใน
กลมุ่ ไดแ้ ก่
ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทาง ทางานร่วมกับ ทีมวิศวกรของลูกค้า
เสมือนเป็นทีมงานเดียวกันเพ่ือใหเ้ กิดความคล่องตัว และมี 1.การจดั หาและจาหนา่ ยนา้ ดบิ
ประสิทธิภาพสูงสุด ภายใตเ้ ง่ือนไข ขอ้ ตกลงของการใหบ้ ริการ 2.การผลิตและจาหนา่ ยนา้ เพ่ืออตุ สาหกรรม
(Services Level Agreement) นอกจากนีบ้ รษิ ัทยงั ใหบ้ รกิ ารใน 3.การผลติ และจาหนา่ ยนา้ ประปา
แบบ On-Demand เช่น การให้บริการบารุงรักษาอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ( Maintenance Services) เม่ืออุปกรณ์เกิดขัด ปัจจุบนั บริษัทในเครือ ใหบ้ ริการผลิตและจาหน่ายนา้
ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการหลกั ๆ ทงั้ หมด 4 ราย ดงั นี้
คล่อง หรือระบบมีปัญหา
1. บริษัท อมตะ วอเตอร์ จากัด จาหน่ายนา้ ดิบเพ่ือ
อุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยมีอายุสญั ญา 25
ปี นับตัง้ แต่วันท่ี 1 เมษายน 2561 จนถึง วันท่ี 31 ธันวาคม

2586 โดยปริมาณขนั้ ต่าในการจาหน่ายนา้ ดิบ 5 ลา้ นลูกบาศก์ โครงการจาหน่ายน้าเพ่ืออุปโภค บริโภคได้เร่ิม
เมตรตอ่ ปี พัฒนาขึน้ โดยขยายพื้นท่ีการจาหน่ายน้าไปยังภูมิภาคต่างๆ
ไดแ้ ก่ การจาหนา่ ยนา้ เพ่ืออตุ สาหกรรมในพืน้ ท่ีนิคมอุตสาหกรรม
2. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลชยั มงคล จาหน่ายนา้ เพ่ือ
สมุทรสาคร การจาหน่ายนา้ ประปาใหแ้ ก่ อบต.ชัยมงคงจงั หวดั
การอุปโภคตาบลชัยมงคล และพื้นท่ีข้างเคียง มีกาหนด สมทุ รสาคร การจาหน่ายนา้ ดิบในพืน้ ท่ีอตุ สาหกรรมอมตะชลบุรี
ระยะเวลา 30 ปี ซง่ึ เป็นลกั ษณะสมั ปทานในพืน้ ท่ี อบต.ชยั มงคล และการจาหน่ายนา้ ประปาใหแ้ ก่การประปาภูมิภาคในจงั หวัด
ภูเก็ต ทงั้ นีเ้ พ่ือตอบสนองความตอ้ งการใชน้ าท่ีเพ่ิมขึน้ ในทุกปี
3. สานักงานนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร จาหน่าย โดยคานึงถึงคณุ ภาพของนา้ ท่ีใหอ้ ยู่ในระดบั มาตรฐาน การนา
นา้ เพ่ืออุตสาหกรรมสาหรับนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร โดย เทคโนโล Scada มาช่วยควบคมุ ในการจ่ายนา้ แบบ Real Time
ปริมาณขนั้ ต่าในการจาหน่ายนา้ อุตสาหกรรม 3,000 ลูกบาศก์
เมตรตอ่ วนั โดยมีกลมุ่ ลกู คา้ หลกั ๆไดแ้ ก่ ทาใหป้ ริมาณนา้ สูญเสียนอ้ ยมาก และสามารถควบคมุ คณุ ภาพ
น้าได้อย่างสม่าเสมอ รวมถึงการใช้ระบบผลิตน้าเพ่ื อ
1) บรษิ ทั เอเช่ียน อะไลอนั ซ์ อนิ เตอรเ์ นช่นั แนล จากดั อุตสาหกรรมแบบ Reverse Osmosis ท่ีนิคมอุตสาหกรรม
2) บรษิ ัท พฒั นาโฟรเซน่ ฟดู้ จากดั สมุทรสาคร ซ่งึ ทาใหค้ ุณภาพนา้ ท่ีไดส้ ูงกว่ามาตรฐานของการ
3) บรษิ ัทปัญจพลาสตกิ จากดั ประปาส่วนภูมิภาค และเหมาะสมสาหรับการนาไปใช้เพ่ือ
4) บรษิ ัท ธนาเจรญิ การฟอก จากดั
5) สินหม่ืนแสน อตุ สาหกรรม

6) ไทย ซนั ยู โคทตงิ้ ปริมาณน้าจาหน่ายขนั้ ต่าตามสัญญาซอื้ ขายน้า
7) ไทย แพค อินดสั ทร่ี
8) โรงงานอ่ืนๆ บริษัท อมตะ องคก์ ารบริหาร นิคม การประปา
อุตสาหกรรม ส่วนภมู ภิ าค
4. การประปาส่วนภูมิภาคสาขาภูเก็ต จาหน่าย วอเตอร์ จากัด สว่ นตาบล สมุทรสาคร จงั หวัดภเู กต็
นา้ ประปาเพ่ือรองรบั การใหบ้ รกิ ารในพืน้ ท่ี ต.กระทู้ และ ต.ฉลอง ชัยมงคล 3,000 ลบ.ม. 10,200 ลบ.ม.
รวมทงั้ หมด 4 จดุ โดยสญั ญามีกาหนดระยะเวลา 5 ปี
ปริมาณนา้ 5 ลบ.ม. (ไมม่ ีขน้ั ต่า) /วนั /วนั
ในอนาคตบรษิ ัทมีแผนท่ีจะขยายพืน้ ท่ีการจาหน่ายนา้ จาหน่าย /ปี 18.00 บาท 11.35-13.00 บาท
ไปยงั จงั หวดั ต่างๆ ท่ีครอบคลุมท่วั ภูมิภาค เพ่ือรองรบั การเติบโต ราคาตอ่
ของสังคมเมือง ครัวเรือน และผู้ประกอบการ รวมถึงการการ หน่วย 7.20 บาท 5.50-21.37 บาท /ลบ.ม. /ลบ.ม.
บริการสาธารณูปโภคแบบครบวงจร ตั้งแต่การจัดหา ผลิต /ลบ.ม. /ลบ.ม.
บรหิ ารจดั การ และจดั จาหน่าย อายสุ ัญญา 2 ปี 5 ปี
25 ปี 30 ปี

22

1.7 โครงการลงทุนทีจ่ ะเกิดขนึ้ ในอนาคต ต่อเน่ือง โดยรูปแบบการลงุทน คือ บริษัทจะเขา้ ไปรบั ซือ้ หนุ้ ใน
บริษัทท่ีไดร้ บั ใบอนญุ าตและมาดาเนินการก่อสรา้ งเอง และหรือ
ในอนาคตเราจะไดเ้ ห็นแนวโนม้ ท่ีมีความชัดเจนขึน้ การเขา้ ไปซอื้ โครงการท่ดี าเนินการก่อสรา้ งแลว้ เสร็จ โดยท่ีบรษิ ัท
เร่ือยๆของการเปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้า
โดยเฉพาะเทคโนโลยีในการผลิต ร่วมกับการเปล่ียนแปลงใน จะดาเนินการศกึ ษาความเป็นไปไดโ้ ครงการ ขอ้ จากดั ต่างๆ อาทิ
สังคมท่ีจะหันมาใหค้ วามสาคัญดา้ นส่ิงแวดล้อม มีผลใหเ้ กิด เช่น ขอ้ จากดั ดา้ นกฎหมาย ขอ้ จากดั เร่ืองระยะเวลาการก่อสรา้ ง
การปล่ียนแปลงรูปแบบของการจัดหา การผลิตและการจัด สิทธิประโยชน์ทางภาษี ผลประโยชน์ท่ีบริษัทจะไดร้ ับ ความ
จาหน่าย เป็นตน้ ภายใตแ้ ผนพฒั นากาลงั ผลิตไฟฟ้าของประเทศ คุ้มค่าของเงินลงทุน เป็ นต้น ทั้งนี้ การดาเนินการลงทุนใน
ไทย ซ่ึงจะไดม้ ีการกาหนดว่า ในแต่ละช่วงปีประเทศไทยควรมี ตา่ งประเทศตอ้ งพิจารณาความเส่ียงท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากปัจจัย
การลงทนุ เพ่ือพฒั นาโรงไฟฟา้ จานวนก่ีโรง เป็นโรงไฟฟ้าประเภท ต่างๆ อย่างรอบคอบ และคานึงถึงระยะเวลาการลงทุนท่ี
อะไรบ้าง มีขนาดกาลังการผลิตเท่าไหร่ ใช้เชื้อเพลิงอะไร
ตาแหนง่ ท่ตี งั้ โรงไฟฟา้ ท่เี หมาะสมควรเป็นท่ีใด และรวมไปจนถึง เหมาะสมในการท่ีโครงการนั้นจะสามารถสร้างผลตอบแทน
การกาหนดแผนการพฒั นาระบบส่งไฟฟ้าของประเทศ เพ่ือให้ กลบั คืนส่บู รษิ ัทไดเ้ รว็ และคมุ้ คา่ ท่สี ดุ
ระบบมีความสามารถท่จี ะรองรบั การเพ่ิมขนึ้ ของความตอ้ งการใช้
พลังงานไฟฟ้าของประเทศไดใ้ นระยะยาว ดังนั้น บริษัทจึงได้ เม่ือวันท่ี 29 ธันวาคม 2562 ได้มีมติอนุมัติการเข้าลงทุนใน 23
ศกึ ษาและเตรยี มการลงทนุ และพฒั นาโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งาน
ทดแทนท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต อันเน่ืองมาจากความพยายามใน โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ท่ีประเทศเวียดนาม
การใช้พลังงานทางเลือกแทนพลังงานถ่านหินเร่ิมมีมากขึน้ ส่ิง จานวน 1 โครงการ ขนาดกาลงั การผลิตติดตงั้ 50 เมกะวตั ต์ โดย
หน่ึงท่ีน่าสนใจสาหรับพลงั งานทางเลือกนี้ นอกจากจะช่วยลด ใหบ้ ริษัท SUPER SOLAR ENERGY (HONGKONG) 3
ผลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ มแลว้ การพฒั นาเทคโนโลยีจนนาไปสู่ CO.,LTD. (SSE-HK3) ซ่งึ เป็นบริษัทย่อยของบริษัทเข้าซื้อหุน้
การเป็นพลงั งานราคาถกู ท่ที กุ คนสามารถเขา้ ถึงไดง้ ่าย จะช่วยให้ สามญั ในบริษัท THINH LONG PHU YEN SOLAR POWER
เกิดการพฒั นาท่ยี ่งั ยืนตอ่ ไป JOINT STOCT COMPANY (TLPY) ซ่งึ เป็นบริษัทเจา้ ของ

สาหรบั การลงทุนในต่างประเทศปี 2563 นี้ บริษัท โครงการ ในสดั ส่วนรอ้ ยละ 100 ของหนุ้ สามญั ของบริษัทเจา้ ของ
ยังคงมุ่งม่ันขยายการลงทุนและพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า โครงการ
พลังงานแสงอาทิตย์ และโรงไฟฟ้าพลังงานลมในประเทศ
เวียดนาม อย่างต่อเน่ือง เพ่ือไปสู่เป้าหมายกาลังการผลิตท่ี โครงการ TLPY ตงั้ อย่ทู ่ี จงั หวดั PHU YEN ประเทศ
เพ่ิมขึน้ ในอนาคตกว่า 1,300 เมะวัตต์ ซ่งึ จะทาใหร้ ายได้ และ เวียดนาม เป็นโครงการท่ีไดด้ าเนินการเชิงพาณิชย์แลว้ ภายใต้
กาไรใน 1-2 ขา้ งหน้าเติบโตขึน้ พรอ้ มสรา้ งสถิติท่ีสูงสุดใหม่ สญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff ซง่ึ มีอตั ราการรบั
ซือ้ ไฟฟ้า 9.35 เซ็นดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลวัตต์ช่ัวโมง เป็น

ระยะเวลา 20 ปี นบั จากวนั ท่ดี าเนินการเชิงพาณิชย์ ถือเป็นอีก 1
โครงการจากทงั้ หมด 6 โครงการ ในการขยายการเขา้ ลงทุนใน
ประเทศเวียดนาม โดยมีกาลงั การผลิต 286.72 เมกะวตั ต์

นอกจากนี้ บริษัทยังมองหาโอกาสขยายการลงทุน กะวตั ต์ โรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ นจากขยะชุมชน จงั หวดั พิจิตร
ใหมๆ่ ในประเทศอ่ืนๆ ภายใตเ้ ปา้ หมายกาลงั การผลิตไฟฟ้าท่ีจ่าย กาลงั การผลิตติดตงั้ 9.9 เมกะวตั ต์ พลงั งานความรอ้ นจากขยะ
ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ รวมทงั้ สิน้ 1,300 เมกะวตั ต์ และ 2,000 เมกะ ชุมชนท่ี จังหวดั นนทบุรี กาลังการผลิตติดตงั้ 20 เมกะวัตต์

วัตต์ในอีก 3-5 ปี ข้างหน้า ทั้งในโครงการโรงไฟฟ้าจาก โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความรอ้ น จากขยะชุมชนท่ีจังหวัด
แสงอาทติ ยแ์ ละพลงั งานลม เพ่ือสนบั สนนุ การเพ่ิมรายไดม้ ากขนึ้ เพชรบุรี กาลังการผลิตติดตัง้ 9 เมกะวตั ต์ โดยจะเร่ิมทยอย
รวมถึงเป็นการกระจายสัดส่วนรายได้ใหม้ ีองค์ประกอบจาก พฒั นาโครงการตามแผนงานของบรษิ ัท
พลังงานทดแทนในทุกๆประเภท โดยเฉพาะในประเทศกลุ่ม
CLMV ท่มี ีอตั ราการเจรญิ เตบิ โตคอ่ นขา้ งสงู และมีความตอ้ งการ นอกจากนี้ บริษัท ไดท้ าการขายไฟฟ้าโดยตรงใหก้ ับ
ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าเพ่ิมขึน้ ในทกุ ปี และวางเป้าหมายกา้ วขนึ้ สู่การ ลกู คา้ ในลกั ษณะ Private PPA ซง่ึ พนั ธมิตรรายแรก คือ บริษัท
จดั การและพัฒนาทรพั ยากรนา้ ภาคตะวนั ออก จากดั (มหาชน)
เป็นผนู้ าดา้ นพลงั งานทดแทนในภมู ภิ าคเอเชีย
สาหรบั โครงการลงทนุ และพฒั นาโครงการในประเทศ หรอื EASTW ขนาด 33.24 เมกะวตั ต์ โดยแบง่ เป็น 2 Phase โดย
ใน Phase1 จานวน 16.24 เมกะวตั ต์ และ Phase 2 จานวน 17
นั้น เร่ิมมีความชัดเจนจากการท่ีได้มีการประชุมหารือถึง เมกะวตั ต์ ซ่งึ คาดว่าจะสามารถจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชยไ์ ดใ้ นไตร
แผนพัฒนากาลังการ ผลิต ไฟ ฟ้าพลัง งาน ข องประ เทศ มาส 3 ของปี 2563
(PDP2018) ท่ีจะเปิดกวา้ งทกุ เทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยี
และล่าสุดเม่ือวนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2562 บริษัท ซุปเปอร์
ด้านส่ิงแวดล้อม (Ecology) เพ่ือควบคุมผลกระทบต่อ
ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ มี เ ป้ า ห ม า ย ล ด ก า ร ป ล่ อ ย ก๊ า ซ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากัด ในฐานะบริษัทย่อยของ บริษัท ซุปเปอร์
คารบ์ อนไดออกไซดต์ ่อหน่วยการผลิตไฟฟ้าและเพ่ิมสดั ส่วนการ เอนเนอรย์ ี คอรเ์ ปอเรช่นั จากัด (มหาชน) และบริษัท เจริญโภค
รบั ซือ้ ไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียน เพ่ือการจดั หาพลงั งานไฟฟ้า ภณั ฑอ์ าหาร จากดั (มหาชน) หรือ CPF ไดล้ งนามสญั ญาซือ้ ขาย
อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความตอ้ งการใชใ้ นอนาคต ไฟฟ้าในโครงการไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทิตยแ์ บบเอกชนกบั
รวมถงึ ลดการสญู เสียเงินจากการนาเขา้ พลงั งานจากตา่ งประเทศ เอกชน (Private PPA) เพ่ือขายใหก้ บั บริษัท เจริญโภคภณั ฑ์
อาหาร จากดั (มหาชน) (CPF) ดว้ ยระบบผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์
ในการนี้ บรษิ ัทจงึ ไดเ้ ล็งเห็นถึงโอกาสในการท่ีจะเขา้ ไปมีบทบาท
ดงั กล่าว ในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าภาคเอกชน โดยบริษัทใหค้ วาม เซลลแ์ บบตดิ ตงั้ บนพืน้ ดิน ในฟารม์ หมูทงั้ หมด 16 ฟารม์ แรก มี
ส น ใ จ ล ง ทุ น แ ล ะ พั ฒ น า ใ น ส่ ว น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น ขนาดกาลงั การผลิตตดิ ตงั้ รวม 4.04 เมกะวตั ต์ และไดด้ าเนินการ
โดยเฉพาะอย่างย่ิง พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานขยะ และ ศกึ ษาความเป็นไปไดเ้ พ่ิมเติมโครงการของฟารม์ ในกลุ่มธุรกิจ
พลังงานลม เน่ืองจาก บริษัทมีความพรอ้ มทางด้านบุคลากร สุกรทงั้ หมด โดยการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าทงั้ หมด 3 ระยะ
เทคโนโลยี เงินทนุ และประสบการณจ์ ากการดาเนินงานโครงการ (Phase)

โรงไฟฟา้ ของบรษิ ทั ท่ผี า่ นมา 1. Phase1 จานวน 4 โครงการ ขนาดกาลังการผลิต
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั บริษัทมีโครงการท่ีอยู่ระหว่าง
ติดตั้งรวม 1.128 MWdc/0.95MWac อายุสัญญา 15 ปี
ลงทุนและพัฒนาโครงการ รวมถึงโครงการท่ีรอการลงทุนและ นบั ตงั้ แตว่ นั เร่มิ จาหน่ายไฟฟ้าเชงิ พาณิชย์
พฒั นา ซง่ึ บรษิ ทั จะไดต้ ดิ ตามดาเนินการ รวมถงึ หากมีการเปิดให้
มีการย่ืนขอ้ เสนอขอขายไฟฟ้าเม่ือใด บริษัทก็พรอ้ มจะเขา้ ร่วม 2. Phase2 จานวน 5 โครงการ ขนาดกาลังการผลิต
ติดตั้งรวม 1.176 MWdc/0.95MWac อายุสัญญา 15 ปี
ดาเนินงานตอ่ ไป นบั ตงั้ แตว่ นั เร่มิ จาหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์
ทั้งนีโ้ ครงการโรงไฟฟ้าในประเทศมีแผนการขยาย
3. Phase3 จานวน 7 โครงการ ขนาดกาลังการผลิต
ตอ่ เน่ือง เพ่ือผลกั ดนั รายไดใ้ หเ้ ตบิ โตสงู ขนึ้ ทงั้ โครงการโรงไฟฟ้า ติดตั้งรวม 1.736 MWdc/1.40MWac อายุสัญญา 15 ปี
นบั ตงั้ แตว่ นั เรม่ิ จาหนา่ ยไฟฟ้าเชิงพาณิชย์
24 พลงั งานความรอ้ นจากขยะชมุ ชน ไดแ้ ก่ โรงไฟฟ้าพลงั งานความ

รอ้ นจากขยะชุมชน จงั หวดั หนองคาย กาลงั การผลิตตดิ ตงั้ 8 เม

โครงการที่อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ เมกะวตั ต์ อตั ราค่าไฟฟ้า ทต่ี งั้ เป้าหมายดาเนินการ
1.5 COD
ลาดบั โครงการ Fit 5.66 บาท / หนว่ ย ตาบลทา่ กระดาน
1 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ 19.9 (25 ปี) อาเภอสนามชยั เขต ก่อสรา้ งเสรจ็ แลว้ และคาด
(สหกรณฯ์ สนามชยั เขต) 9 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา วา่ จะ COD ภายใน2563
Fit 5.66 บาท / หนว่ ย ตาบลหนองปรง อาเภอ
2 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ 6 (25 ปี) เขายอ้ ยจงั หวดั เพชรบรุ ี โครงการท่อี ยรู่ ะหวา่ งรอรบั
ตาบลหนองหลมุ PPA
3 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น 16 Adder 3.50 บาท / อาเภอวชิรบารมี
(จากขยะชมุ ชน) 8 หนว่ ย (7 ปี) จงั หวดั พิจติ ร ภายในเมษายน 2563
ตาบลโนนสวา่ ง
4 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น 16 Fit 5.08 บาท / หน่วย อาเภอเมือง อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ
(จากขยะชมุ ชน) 16 (20 ปี) จงั หวดั หนองคาย ก่อสรา้ ง คาดวา่ จะ COD
76.4 ตาบลคลองขวาง อาเภอ
5 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น Fit 5.08 บาท / หนว่ ย ไทรนอ้ ยจงั หวดั นนทบรุ ี ปลายปี 2564
(จากขยะชมุ ชน) (20 ปี) ตาบลหว้ ยขอ้ ง โครงการอยรู่ ะหวา่ ง
อาเภอบา้ นลาด
6 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น Adder 3.50 บาท / จงั หวดั เพชรบรุ ี ดาเนินการ
(จากขยะชมุ ชน) หน่วย (7 ปี) จงั หวดั สระแกว้ อยรู่ ะหวา่ งพิจารณา
แผนการดาเนินงาน
7 โครงการ SPP Hybrid Firm Fit 3.66 บาท / หนว่ ย อาเภอเมือง
(20 ปี) จงั หวดั นครศรธี รรมราช อยรู่ ะหวา่ งพิจารณา
8 โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น แผนการดาเนินงาน
(จากขยะชมุ ชน) อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ
รวม

25

1.8 ประวตั กิ ารเปลี่ยนแปลง และพฒั นาการทสี่ าคัญ ทะเบียน 0.1 ล้านบาท เพ่ือรองรับการลงทุนโครงการผลิต
กระแสไฟฟา้ จากพลงั งานลม ในตา่ งประเทศ
บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอร์เปอเรช่ัน จากัด
(มหาชน) ก่อตงั้ ขนึ้ เม่ือวนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2537 โดยใชช้ ่ือ บริษัท o เมษายน
ซุปเปอรบ์ ล๊อก จากัด ภายใตก้ ารสนับสนุนของคณะกรรมการ บริษัทมีการใชส้ ิทธิแปลงสภาพ SUPER-W3 (ครัง้
ส่งเสริมการลงทุน ดว้ ยทุนจดทะเบียน 150 ลา้ นบาท เดิมเพ่ือ
สดุ ทา้ ย) จานวน 7,088 หนุ้ ส่งผลใหบ้ ริษัทมีทุนเรียกชาระแลว้
ดาเนินธุรกิจการผลิตและจาหน่ายผลิตภณั ฑค์ อนกรีตอิฐมวลเบา จานวน 2,734.95 ลา้ นบาท
(Autoclaved Aerated Concrete) ต่อมาบริษัทไดจ้ าหน่าย
ทรพั ยส์ ินท่ีใชใ้ นการดาเนินธุรกิจผลิตอิฐมวลเบาออกไปเม่ือวนั ท่ี o พฤษภาคม
28 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 ตอ่ มาเม่ือวนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2561 ไดม้ ีการ บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครงั้ ท่ี 6/2560 เพ่ิม
จดทะเบียนเปล่ียนช่ือเป็น บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี คอร์
เปอเรช่ัน จากัด(มหาชน) ตามมติท่ีประชุมผู้ถือหุ้นครั้งท่ี ทุนจดทะเบียน จานวน 546,989,312.10 บาท จากทุนจด
ทะเบียนเดิม 2,734,946,560.70 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่
1/2561 เม่ือวนั ท่ี 25 เมษายน 2561 เพ่ือใหส้ อดคล้องกบั ธุรกิจท่ี 3,2 8 1 ,9 3 5 ,8 7 2 . 80 บ า ท โ ด ย อ อ ก หุ้น ส า มัญ จ า น ว น
เปล่ียนแปลงไป โดยหันมาให้ความสนใจในธุรกิจโรงไฟฟ้า 5,469,893,121 หนุ้ เพ่ือรองรบั การใชส้ ทิ ธิ SUPER-W4
พลงั งานทดแทน และไดม้ ีการปรบั เปล่ียนโครงสรา้ งบรษิ ทั เพ่ือให้
มีความเหมาะสมต่อการดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน o มิถนุ ายน
โดยมีสานักงานใหญ่ของบริษัทตงั้ อยู่ท่ี 223/61 ชนั้ 14 อาคาร บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 7/2560

คนั ทร่ีคอมเพล็กซ์ อาคารเอ ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนาใต้ เขต จัดตงั้ บริษัท ซุปเปอร์ เอิร์ธ เอนเนอร์ยี 6 จากัด โดยมีทุนจด
บางนา กรุงเทพฯ 10260 ทะเบียน 150 ล้านบาท เพ่ือรองรับการลงทุนโครงการผลิต
กระแสไฟฟา้ จากพลงั งานขยะ
ประวัติการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการท่ีสาคัญใน
ส่วนท่ีเก่ียวกับโครงสร้างการถือหุ้น และการเพ่ิมทุน/ลดทุน o สงิ หาคม
ในช่วง 3 ปีท่ผี ่านมา มีรายละเอียดดงั นี้ บรษิ ทั มีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 8/2560 ดงั นี้

พฒั นาการทสี่ าคัญ ในปี 2560 1. อนมุ ตั กิ ารเขา้ ซือ้ หนุ้ สามญั และ/หรือ หนุ้ บุรมิ สิทธิ ใน
บริษัทย่อยของบรษิ ัท ไดแ้ ก่ บจ.เอส ทู พี อีเนอรจ์ ี โดยมีสดั ส่วน
o กุมภาพันธ์ การถือหนุ้ 51% ทงั้ นี้ ภายหลงั การเขา้ ทารายการจะมีสดั ส่วนการ
บรษิ ัทมีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 1/2560 ดงั นี้ ถือหนุ้ เป็น 100% และ บจ.มีเดียมารค์ โดยมีสดั ส่วนการถือหนุ้
70% ทงั้ นี้ ภายหลงั การเขา้ ทารายการจะมีสดั ส่วนการถือหนุ้ เป็น
1. อนุมตั ิการโอนส่วนเกินมลู ค่าหนุ้ เพ่ือชดเชยผลการ 86%
ขาดทนุ สะสมของบรษิ ทั
2. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 6 เพ่ิมทุนจดทะเบียน
2. อนมุ ตั ิการออกและเสนอขายหนุ้ กบู้ ริษัท โดยมีมลู คา่ เป็น 182 ลา้ นบาท

เสนอขายไม่เกนิ 1,500 ลา้ นบาท 3. บริษัทไดล้ งนามความร่วมมือ (MOA) เพ่ือพัฒนา
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานลมขนาดกาลงั การผลิตรวม 698
o มนี าคม เมกะวตั ต์ ในประเทศเวยี ดนาม ณ ตกึ สนั ตไิ มตรี ทาเนียบรฐั บาล
โดยมี พลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ประเทศไทย
บริษัทมีมตทิ ่ีประชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 4/2560 ใหบ้ และ นายเหงียน ซาน ฟกุ นายกรฐั มนตรี ประเทศเวียดนาม เป็น
สกั ขีพยาน
จ.กรีน เพาเวอร์ เอ็นเนอรจ์ ี เพ่ิมทุนจดทะเบียนเป็น 405 ล้าน

26 บาท
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 5/2560

จัดตั้ง บริษัท ซุปเปอร์ วินด์ เอนเนอร์ยี จากัด โดยมีทุนจด

o กันยายน 1. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี เพ่ิมทนุ จดทะเบียนเป็น 27
บรษิ ทั มีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 9/2560 ดงั นี้ 1,000 ลา้ นบาท

1. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 2 เพ่ิมทุนจดทะเบียน 2. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 1 เพ่ิมทุนจดทะเบียน
เป็น 116 ลา้ นบาท เป็น 1,000 ลา้ นบาท

2. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 3 เพ่ิมทุนจดทะเบียน 3. บจ.อีเลคตริกา้ เอเชีย เพาเวอร์ เพ่ิมทุนจดทะเบียน
เป็น 136 ลา้ นบาท เป็น 206 ลา้ นบาท

3. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 5 เพ่ิมทุนจดทะเบียน บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครัง้ ท่ี 16/2560
เป็น 128 ลา้ นบาท อนมุ ตั จิ าหน่ายเงินลงทนุ ของ บจ.ซุปเปอรบ์ ล็อก เซาท์ ซง่ึ เป็นผล
ใหส้ ิน้ สภาพการเป็นบรษิ ัทย่อยของบรษิ ทั
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครัง้ ท่ี 10/2560
ดงั นี้ พัฒนาการทสี่ าคัญ ในปี 2561

1. บจ.ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 4 เพ่ิมทุนจดทะเบียน o กุมภาพนั ธ์
เป็น 120 ลา้ นบาท บรษิ ัทมีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 1/2561 ดงั นี้

2. SUPER-W4 เรม่ิ ซอื้ ขายวนั ท่ี 22 กนั ยายน 2560 1. อนมุ ัติการแกไ้ ขช่ือบริษัท รวมทงั้ แกไ้ ขเปล่ียนแปลง
ตราประทับบริษัท และแก้ไขหนังสือบริคณหส์ นธิเร่ืองช่ือของ
o ตลุ าคม บรษิ ัท เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั การแกไ้ ขช่ือบรษิ ทั
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครัง้ ท่ี 12/2560
2. อนมุ ตั ิการเพ่ิมจานวนกรรมการและแต่งตงั้ กรรมการ
อนมุ ตั ใิ นหลกั การจดั ตงั้ บรษิ ทั ย่อยแหง่ ใหมข่ องบรษิ ัท ในประเทศ ใหม่ของบรษิ ัท
เวียดนาม เพ่ือรองรับการลงทุนโครงการผลิตกระแสไฟฟ้า
พลงั งานลมในประเทศเวียดนาม รวม 6 บริษัท โดย บจ.ซุปเปอร์ 3. อนมุ ตั กิ ารออกและเสนอขายหนุ้ กู้
วินด์ เอนเนอร์ยี ถือหุน้ 51% และบริษัทผู้ร่วมทุนในประเทศ
เวียดนาม ถือหนุ้ 49% o พฤษภาคม
บรษิ ัทมีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 2/2561 ดงั นี้
o พฤศจกิ ายน
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครัง้ ท่ี 13/2560 1. อนมุ ตั ใิ ห้ บจ.ซุปเปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี เขา้ ทารายการ
ไดม้ าซง่ึ สินทรพั ยโ์ ดยการลงทนุ ใน บจ.เมืองไทยนา่ อยู่ และทาให้
ดงั นี้ บรษิ ัทเขา้ ถือหนุ้ ทางออ้ มใน บจ.หนองคายนา่ อยู่
1. อนุมัติเขา้ ลงทุนในบริษัทท่ีเป็นผูส้ นับสนุนโครงการ
o มิถนุ ายน
ผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ติดตั้งบนพื้นดิน สาหรับ บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 4/2561
หน่วยงานราชการและสหกรณภ์ าคการเกษตร พ.ศ.2560 จานวน
รวม 23 เมกะวตั ต์ อนุมัติเร่ืองการตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่ของบริษัท ( SUPER
SOLAR (THAILAND))
2. อนมุ ตั กิ ารเขา้ ซือ้ หนุ้ สามญั และ/หรือ หนุ้ บรุ ิมสิทธิ ใน
บริษัทย่อยของบริษัท ไดแ้ ก่ บจ.ดบั เบลิ้ ยู อาร์ พี อีเนอรจ์ ี โดยมี o กันยายน
สัดส่วนการถือหนุ้ 51% ทงั้ นี้ ภายหลังการเขา้ ทารายการจะมี บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครงั้ ท่ี 7/2561 อนุ
สัดส่วนการถือหุน้ เป็น 100% และ บจ.นอร์ธ อีสต์ ฟิ วเจอร์ อี
เนอรจ์ ี โดยมีสัดส่วนการถือหุน้ 51% ทงั้ นี้ ภายหลงั การเข้าทา ม ติก าร เ ข้าท าธุ ร ก ร ร ม เ ก่ี ย วกับ ก าร ไ ด้ม าแ ล ะ จ าห น่ าย ไ ป ซ่ึ ง
รายการจะมีสดั ส่วนการถือหนุ้ เป็น 100% สินทรพั ย์ ระหวา่ ง บรษิ ัท 17 อญั ญวีร์ โฮลดงิ้ จากดั และ บรษิ ัท
เฮลท์ แพลนเน็ท เมเนจเมน้ ท์ (ประเทศไทย) จากดั กับกองทุน
o ธันวาคม รวมโครงสรา้ งพืน้ ฐานฯ
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครัง้ ท่ี 15/2560

ดงั นี้

o ตลุ าคม 4. ให้ บริษัท ซุปเปอร์ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากดั ซ่งึ เป็น
บรษิ ทั ย่อยของบรษิ ทั เขา้ ทารายการไดม้ าซง่ึ สนิ ทรพั ยโ์ ดยการเขา้
บรษิ ทั มีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 9/2561 ดงั นี้ ซอื้ หนุ้ จากผถู้ ือหนุ้ ของ บรษิ ัท พีที ไดรว์ (ประเทศไทย) จากดั
1. อนุมัติการจดั ตงั้ บริษัทย่อยแห่งใหม่ของบริษัทฯ ใน
ประเทศฮ่องกง เพ่ือรองรบั การขยายงานโครงการผลิตไฟฟ้าจาก 5. อนมุ ตั ิการจดั ตงั้ บรษิ ัทย่อยแห่งใหม่ของ บริษัทฯ เพ่ือ
พลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นตา่ งประเทศ รองรบั การขยายธุรกิจในโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานขยะใน
2. อนุมตั ิการจดั ตงั้ บริษัทย่อยแห่งใหม่ของบริษัทฯ ใน ประเทศ (SUPER-EARTH9)
ประเทศฮ่องกง เพ่ือรองรบั การขยายงานโครงการผลิตไฟฟ้าจาก
o ธันวาคม
พลงั งานลมในตา่ งประเทศ บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 11/2561
3. อนุมตั ิการจัดตงั้ บริษัทย่อยแห่งใหม่ของบริษัทฯ ใน
ดงั นี้
ประเทศ เพ่ือรองรับโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานขยะ 1. อนมุ ตั ิใหS้ UPER SOLAR ENERGY (HONGKONG)
(SUPER-EARTH8)
2 Co.,Ltd. ซ่งึ เป็นบริษัทย่อยของบรษิ ัทเขา้ ลงทนุ โดยการเขา้ ซือ้
o พฤศจกิ ายน หนุ้ ใน Van Giao Solar Power Joint Stock Company ซง่ึ เป็น
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 10/2561 บริษัทเจ้าของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
จานวน 50 เมกะวัตต์ ท่ีประเทศเวียดนาม “โครงการ Van
ดงั นี้ Giao1”

1. อนุมัติให้ SUPER SOLAR ENERGY GROUP 2. อนุมัติให้ SUPER SOLAR ENERGY
(HONGKONG) 2 Co.,Ltd. ซ่งึ เป็นบรษิ ัทย่อยของบริษัทเขา้
(HONGKONG) 1 Co., Ltd. ซ่งึ เป็นบริษัทย่อยของบริษัทเขา้ ลงทนุ โดยการเขา้ ซือ้ หนุ้ ใน Van Giao Solar Energy Joint Stock
Company ซง่ึ เป็นบรษิ ัทเจา้ ของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลงั งาน
ลงทนุ โดยการเขา้ ซือ้ หนุ้ โดยทางตรงและทางออ้ มใน Nam Veit แสงอาทิตยจ์ านวน 50 เมกะวตั ต์ ท่ีประเทศเวียดนาม “โครงการ
Van Giao2”
Phan Lam Co.,Ltd ซง่ึ เป็นบรษิ ัทเจา้ ของโครงการผลิตไฟฟ้าจาก
3. อนมุ ตั ใิ หบ้ ริษัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 5 จากดั ให้
พลังงานแสงอาทิตย์จานวน 36.72 เมกะวัตต์ ท่ีประเทศ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทกรุงเทพธนาคม จากดั โดย
บริษัทได้รับการสนับสนุนแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงินใน
เวียดนาม “โครงการ Phan Lam1” ประเทศแหง่ หน่งึ

2. อนุมัติให้ SUPER SOLAR ENERGY GROUP พฒั นาการทสี่ าคัญ ในปี 2562

(HONGKONG) 1 Co., Ltd. ซ่งึ เป็นบรษิ ัทย่อยของบริษัทเขา้ o กุมภาพันธ์
บรษิ ทั มีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 1/2562 ดงั นี้
ลงทนุ โดยการเขา้ ซือ้ หนุ้ โดยทางออ้ มใน Everich Binh Thuan
1. อนุมัติการเข้าใหค้ วามช่วยเหลือทางการเงินตาม
Energy Limited Liability Company ซ่งึ เป็นบริษัทเจา้ ของ สญั ญากูย้ ืมเงิน (Sponsor Loan Agreement) ในวงเงินรวม
2,025.9 ล้านบาท แก่บริษัท กรุงเทพธนาคม จากัด ของบริษัท
โครงการผลติ ไฟฟา้ จากพลงั งานแสงอาทติ ยจ์ านวน 50 เมกะวตั ต์ ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี 5 จากดั (“SEE 5”) และการเขา้ ลงนาม
ในสญั ญากยู้ ืมเงินกบั สถาบนั การเงนิ ในวงเงินรวม 2,025.9 ลา้ น
ท่ปี ระเทศเวยี ดนาม “โครงการ Binh An” บาท ของบรษิ ทั ซุปเปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี 5 จากดั (“SEE 5”)

3. อนมุ ติให้ Super Energy (East) Pte Ltd. ซง่ึ เป็น

บรษิ ัทย่อยของบรษิ ัทเขา้ ลงทนุ โดยการเขา้ ซือ้ หนุ้ โดยทางออ้ มใน

Sinenergy Ninh Thuan Power Limited Liability Company ซ่งึ

เป็นบริษัทเจา้ ของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์

จานวน 50 เมกะวตั ต์ ท่ีประเทศเวียดนาม “โครงการ Sinenergy

Ninh Thuan”

หมายเหตุ ภายหลงั ไดม้ ีการพิจารณาเปล่ียนแปลงผูเ้ ขา้

28 ลงทุนเป็น SUPER ENERGY GROUP (HONGKONG)
CO.,LTD เป็นผเู้ ขา้ ลงทนุ

2. อนุมตั ิใหบ้ ริษัทย่อยของบริษัทเขา้ ลงนามในสัญญา o กันยายน
ซอื้ ขายหนุ้ ในบรษิ ทั ท่เี ป็นเจา้ ของโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานลม ท่ี บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 5/2562
ประเทศเวยี ดนาม จานวน 2 โครงการ ขนาดกาลงั การผลิตติดตงั้
รวมสงู สดุ 250 เมกะวตั ต์ อนุมัติให้ บริษัท ซุปเปอร์ วินด์ เอนเนอรย์ ี จากัด ซ่ึงเป็นบริษัท
ยอ่ ยของบริษัทเพ่ิมทนุ จดทะเบียนและแกไ้ ขหนงั สือบรคิ ณหส์ นธิ
3. อนมุ ตั ิใหบ้ รษิ ัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 8 จากดั ซง่ึ ขอ้ 5. (ทนุ ) ของบรษิ ทั
เป็นบริษัทย่อยของบริษัทเพ่ิมทุนจดทะเบียน และแกไ้ ขหนงั สือ
บรคิ ณหส์ นธิ ขอ้ 5. (ทนุ ) ของบรษิ ทั o พฤศจกิ ายน
บรษิ ัทมีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 6/2562 ดงั นี้
o พฤษภาคม
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 2/2562 1. อนุมตั ิใหบ้ รษิ ัท ดบั เบิล้ ยู อาร์ พี อีเนอรจ์ ี จากดั เป็น
บรษิ ทั ยอ่ ยท่ปี ระกอบธรุ กจิ หลกั ของบรษิ ัท (บรษิ ัทแกน)
อนุมัติใหบ้ ริษัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี จากัด จาหน่ายเงิน
ลงทนุ ในหนุ้ สามญั ในบริษัท เมืองไทยน่าอยู่ จากดั ใหก้ บั บริษัท 2. อนมุ ตั ใิ หบ้ รษิ ทั ย่อย ซง่ึ ตงั้ อย่ทู ่ี ประเทศเวียดนาม เพ่ิม
เอนเนอรจ์ ี รีพลบั บลิค จากดั ทนุ จดทะเบยี นของบรษิ ทั

o มถิ ุนายน o ธันวาคม
บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 3/2562 บริษัทมีมติท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 7/2562

อนมุ ตั กิ ารเขา้ ลงทนุ ในบรษิ ทั ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากดั และ บริษัท อนุมัติให้ บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอร์เปอเรช่ัน จากัด
กิจการรว่ มคา้ ไทยพานชิ นาวา กอ่ สรา้ ง และ แหล่งนา้ ไทย จากดั (มหาชน) และบริษัท ซุปเปอร์ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากัด เขา้ ลง
นามเอกสารคาขอ, เอกสารสญั ญา, ขอ้ ตกลงตา่ งๆ กบั ธนาคาร
o สิงหาคม สาหรบั โครงการลงทนุ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (โครงการ
บรษิ ทั มีมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการครงั้ ท่ี 4/2562 ดงั นี้ Thinh Long) ในประเทศเวยี ดนาม

1. อนุมัติให้ บริษัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี จากัด ซ่งึ
เป็นบรษิ ัทย่อยของบรษิ ัทเขา้ ทารายการไดม้ าซง่ึ สินทรพั ยโ์ ดยการ
ลงทนุ ใน บรษิ ทั เมืองไทยน่าอยู่ จากดั

2. อนมุ ตั ใิ ห้ บริษัท ซุปเปอร์ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากดั ซง่ึ
เป็นบรษิ ัทย่อยของบรษิ ัทเขา้ ทารายการไดม้ าซง่ึ สนิ ทรพั ยโ์ ดยการ
ลงทนุ ใน บรษิ ทั อพอลโล่ โซลาร์ จากดั

3. อนมุ ตั กิ ารปรบั โครงสรา้ งการถือหนุ้ ใน บริษัท ซุปเปอร์
สปีด คอนสตรคั ช่นั จากดั ซง่ึ เป็นบรษิ ทั ยอ่ ยของบรษิ ทั

4. อนุมัติการจัดตั้งบริษัท ซุปเปอร์ วอเตอร์ พีพีเอส
จากดั ซง่ึ เป็นย่อยแหง่ ใหมข่ องบรษิ ทั

29

สรุปพัฒนาการทสี่ าคัญในปี 2562

กุมภาพนั ธ์
 บรษิ ทั ยอ่ ย ซุปเปอร์ วนิ ด์ เอนเนอรย์ ี (SWE) เขา้ ลงนาม

ในสญั ญาซอื้ ขายหนุ้ โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานลมท่ี
ประเทศเวยี ดนาม จานวน 2 โครงการ 250 MW

มถิ นุ ายน
 จา่ ยไฟฟา้ เขา้ ระบบเชงิ พาณิชย์ (COD) 186.72 MW

ใหก้ บั การไฟฟ้าเวียดนาม (EVN) จานวน 4 โครงการ
1. Van Giao 1 50.00 MW
2. Van Giao 2 50.00 MW
3. Phan Lam 1 36.72 MW
4. Binh An 50.00 MW

 ซอื้ หนุ้ สามญั ของบรษิ ทั ซุปเปอร์ วอเตอร์ จากดั
ซง่ึ ประกอบธุรกิจผลิต-จาหน่ายนา้ ประปา

สงิ หาคม
 ดาเนินการจดั ตงั้ SUPEREIF และทาการเปิดซอื้ ขายหน่วยลงทนุ ใน

กองทนุ รวมโครงสรา้ งพืน้ ฐานโรงไฟฟา้ (SUPEREIF) เป็นท่เี รียบรอ้ ย

ธันวาคม
 จ่ายไฟฟา้ เขา้ ระบบเชงิ พาณิชย์ (COD) โครงการ

Sinergy Ninh Thuan กาลงั การผลติ 50 MW
ใหก้ บั การไฟฟ้าเวียดนาม (EVN)

30

1.9 โครงสร้างการถอื หุ้นของกลุ่มบริษัท ณ วนั ท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2563
โครงสร้างการถอื หุ้นของบรษิ ัท

31

โครงสร้างการถอื หุ้นของบรษิ ัท สาหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนในต่างประเทศ

32

ปัจจบุ นั บรษิ ทั และบรษิ ัทยอ่ ยไดเ้ ขา้ ลงทนุ ในบรษิ ัทท่ดี าเนนิ ธุรกจิ ผลิตและจาหนา่ ยกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานทดแทน ทงั้ ทางตรงและ
ทางออ้ ม โดยมีรายละเอียดท่ตี งั้ โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนกระจายกนั อย่ใู นแตล่ ะภมู ภิ าคของประเทศ รวมถงึ ในประเทศเวียดนาม ดงั นี้
ภาพแสดงตาแหน่งท่ตี งั้ โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน (ในประเทศไทยและประเทศเวยี ดนาม)

โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งาน
ทดแทนในประเทศไทย

โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งาน
ทดแทนในประเทศเวียดนาม

33

รายละเอียดบรษิ ัทย่อยและบรษิ ทั รว่ ม (ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม) ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 มีดงั นี้

ลาดับ บริษทั ทุนจดทะเบยี น สดั ส่วนการ สิทธิการ ลักษณะธุรกิจ
(ลา้ นบาท) ถือหนุ้ ออกเสยี ง
ธุรกจิ พลงั งานทดแทน
1 บจ.ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี่ คอรเ์ ปอเรช่นั 3,281.94 ธุรกิจปฏิบตั ิการดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟา้ ฯ
ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานทดแทน, โรงไฟฟา้
2 บจ.ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุป๊ 10,000.00 100.00% 100.00% พลงั งานขยะ(ขยะชมุ ชน)

3 บจ.ซปุ เปอร์ โซลา่ ร์ เอนเนอรย์ ี 10,000.00 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
4 บจ.เลมอน โกลด์ ฟารม์ 1.00 76.00% 76.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานลม
5 บจ.รูทซนั 150.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
6 บจ.โปร โซลา่ ร์ วนั 263.25 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
7 บจ.พที ี ไดรว์ (ประเทศไทย) 150.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
8 บจ.กรนี ไบ-โอ มหาสารคาม 280.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
9 บจ.มิเลนเน่ียม แอคท์ 2,500.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
10 บจ.17อญั ญาวรี ์ โฮลดิง้ 1,320.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
11 บจ.มีเดยี มารค์ 401.20 85.65% 85.65% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
12 บจ.เฮลท์ แพลนเน็ท เมเนจเมน้ ทฯ์ 680.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
13 บจ.อีเลคตรกิ า้ เอเชียฯ 276.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
14 บจ.นอรท์ โซลา่ เพาเวอร์ 136.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
15 บจ.ตงั้ แซเยยี้ งกรนี พาวเวอร์ วนั 68.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
16 บจ.เอส ที เอฟ อี โซลา่ 110.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
17 บจ.อพอลโล่ โซลาร์ 198.00 74.43% 75.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
18 บจ.พาวเวอร์ เทคโนโลยี อนิ เตอรเ์ นช่นั แนล 903.50 49.00% 51.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
19 บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซฟิ 1,103.00 51.00% 51.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
20 บจ.อามานฟู 412.50 49.00% 86.01% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
21 บจ.ศรนี าคา พาวเวอร*์ 495.00 49.00% 51.63% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
22 บจ.เอสพีพี ซิค 669.00 49.00% 98.97% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
23 บจ.โซลคิด โซลา่ ร์ 85.00 49.00% 98.97% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
24 บจ.นอรท์ อีสต์ ฟิวเจอร์ อีเนอรจ์ ี 85.00 49.00% 51.08% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
25 บจ.เอส ทู พี อีเนอรจ์ ี 490.00 49.00% 51.08% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
26 บจ.ดบั เบิล้ ยู อาร์ พี อเี นอรจ์ ี 655.00 49.00% 51.08% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
27 บจ.อิเควเตอร์ โซลาร์ 1,394.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
28 บจ.ดบั บลิวเอ็กซเ์ อ 4* 85.00 49.00% 51.61% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
29 บจ.ดบั บลวิ เอก็ ซเ์ อ 5* 85.00 49.00% 51.61% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
30 บจ.ดบั บลิวเอ็กซเ์ อ 6* 85.00 49.00% 51.61% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
31 บจ.ดบั บลิวเอ็กซเ์ อ 7* 85.00 49.00% 51.61% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
32 บจ.ไอควิ โซลา่ ร์ 92.75 49.00% 49.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
33 บจ.เอไอควิ เอน็ เนอรย์ ี 33.13 49.00% 49.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
34 บจ.ไอคิว เอน็ เนอรย์ ี 198.75 49.00% 49.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
35 บจ.ไอควิ กรนี 69.85 49.00% 49.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
36 บจ.แอสตา้ พาวเวอร์ 248.00 49.00% 49.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
37 บจ.เอน็ เซฟิ เทคโนโลยี 1.00 100.00% 100.00% ธรุ กิจพลงั งานแสงอาทิตย์
34 38 บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซฟิ วนั 1.00 100.00% 49.00% พฒั นาทดี่ นิ
39 บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซิฟ ทู 1.00 100.00% 49.00% พฒั นาท่ดี นิ
40 บจ.เอน็ เนอรจ์ ี เซิฟ ทรี 1.00 100.00% 49.00% พฒั นาท่ีดิน

ลาดับ บริษัท ทนุ จดทะเบยี น สดั สว่ นการ สทิ ธิการ ลกั ษณะธุรกจิ
(ล้านบาท) ถือหนุ้ ออกเสียง
บจ.พาวเวอร์ เทคโนโลยี
41 อนิ เตอรเ์ นช่นั แนล แลนด์ 100.00 100.00% 100.00% พฒั นาท่ดี นิ

42 บจ.เอ็น.พี.เอส สตาร์ แลนด์ 0.10 100.00% 100.00% พฒั นาทดี่ ิน
0.10 100.00% 100.00% พฒั นาที่ดนิ
43 บจ.เจเนอรสั แลนด์ 0.10 100.00% 100.00% พฒั นาทด่ี ิน
1.0 100.00% 100.00% พฒั นาทีด่ นิ
44 บจ.เอ็นเนอรจ์ ี เซฟิ แลนด์ 1,000.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
5.00 70.00% 70.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
45 บจ.เวิลด์ เอ็กซเ์ ชนจ์ เอเชยี แลนด์ 1,000.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
116.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
46 บจ.ซปุ เปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี 136.00 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
47 บจ.ซปุ เปอร์ สกาย เอนเนอรย์ ี 120.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
48 บจ.ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี1 128.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
182.00 49.00% 49.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
49 บจ.ซปุ เปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี2 1,000.00 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
1.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
50 บจ.ซปุ เปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี3 405.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ(ขยะอตุ สาหกรรม)
51 บจ.ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี4 5,000.00 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานลมในตา่ งประเทศ
52 บจ.ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี5 ถือหนุ้ หรอื ลงทนุ ภายในประเทศไทยหรอื
53 บจ.ซปุ เปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี6 0.1 100.00% 100.00% ตา่ งประเทศ
54 บจ.ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี8 ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
55 บจ.ซปุ เปอร์ เอริ ธ์ เอนเนอรย์ ี9 670.00 92.54% 92.54% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานขยะ
56 บจ.กรนี เพาเวอร์ เอ็นเนอรจ์ ี 1,000.00 67.00% 67.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
57 บจ.ซปุ เปอร์ วนิ ด์ เอนเนอรย์ ี 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
100.00 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
58 บจ.ซปุ เปอร์ โซลา่ ร์ (ประเทศไทย) 121.00 100.00% 100.00%
125.00
59 บจ.เมืองไทยนา่ อยู่
60 บจ.หนองคายน่าอย*ู่ 40.00 76.25% 76.25% เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
61 บจ.ไอคิว ก๊ดู
62 บจ.ไทย กรนี 100.00 100.00% 100.00% บรกิ ารรบั เหมากอ่ สรา้ งและใหค้ าปรกึ ษา
63 บจ.พีเคที กรนี
ธุรกจิ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ SGD
64 บมจ.โอเพน่ เทคโนโลย่ี 200,000
ธุรกิจใหค้ าปรกึ ษาด้านการก่อสร้าง/ลงทุน
65 บจ.ซปุ เปอร์ สปีด คอนสตรคั ช่นั HKD
กลุม่ บริษทั ในต่างประเทศ 100,000

66 SUPER ENERGY(EAST) PTE LTD. JPY 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
100,000 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
67 SUPER ENERGY GROUP 75.00% 75.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
(HONGKONG) CO.,LTD JPY 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
100,000 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
68 SUPER ENERGY-GA JAPAN 1 GK 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
HKD
69 SUPER ENERGY-JAPAN 2 GK 50,000

70 SUPER SOLAR ENERGY HKD 35
(HONGKONG) 1 50,000
SUPER SOLAR ENERGY
71 (HONGKONG) 2

ลาดับ บริษทั ทนุ จดทะเบียน สัดสว่ นการ สิทธิการ ลักษณะธุรกิจ
(ล้านบาท) ถือหนุ้ ออกเสยี ง
SUPER SOLAR ENERGY HKD
72 (HONGKONG) 3 100,000 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์

73 SUPER SOLAR ENERGY HKD 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
(HONGKONG) 4 100,000
SUPER WIND ENERGY CONGLY 1 VND
74 JOINT STOCK COMPANY 79,327,000,000 51.00% 51.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในประเทศเวียดนาม

75 SUPER WIND ENERGY HKD 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในประเทศเวยี ดนาม
(HONGKONG) CO.,LTD 100,000
SUPER WIND ENERGY HKD
76 (HONGKONG) 1 CO.,LTD 100,000 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในประเทศเวยี ดนาม

77 SINENERGY NINH THUAN POWER VND 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
CO., LIMITED 62,943,000,000
Nam Thuan Energy Investment Joint VND
78 Stock Company 180,000,000,000 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์

79 Nam Viet Phan Lam Co.,Ltd VND 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์
180,000,000,000
Nam Binh Energy Investment Joint VND
80 Stock CompanCO., LTD 200,000,000 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์

81 Everich Binh Thuan Energy Limited VND 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
Liability Company 206,250,000,000
Van Giao Solar Energy Plant Joint VND
82 Stock Company 15,000,000,000 100.00% 100.00% ธรุ กิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์

83 Van Giao Solar Power Plant Joint Stock VND 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
Company 15,000,000,000
THINH LONG PHU YEN SOLAR
84 POWER JOINT VND 100.00% 100.00% ธุรกิจโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
67,008,000,000
STOCK COMPANY
Super Wind Energy Cong ly Soc Trang VND
85 Joint Stock Company 17,025,000,000 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในประเทศเวยี ดนาม

86 Super Wind Energy Cong ly Bac Lieu VND 100.00% 100.00% โรงไฟฟา้ พลงั งานลมในประเทศเวยี ดนาม
Joint Stock Company 2,300,000,000
ธุรกิจผลิตและจาหน่ายนา้ เพื่ออุปโภคบริโภค
ผลิตและจาหนา่ ยนา้ ดบิ นา้ ประปา นา้
87 บจ. ซปุ เปอร์ วอเตอร์ 100.00 100.00% 100.00% เพ่ืออตุ สาหกรรม

88 บจ. กิจการรว่ มคา้ ไทยพานิชนาวา กอ่ สรา้ ง 50.00 89.99% 89.99% ผลติ และจาหนา่ ยนา้ ดบิ นา้ ประปา นา้
และแหลง่ นา้ ไทย* เพ่ืออตุ สาหกรรม
ผลิตและจาหนา่ ยนา้ ดิบ นา้ ประปา นา้
89 บจ.ซปุ เปอร์ วอเตอร์ พีพเี อส 1.00 90.00% 90.00% เพ่อื อตุ สาหกรรม

หมายเหตุ 1. กลมุ่ บรษิ ัทถือหนุ้ อยใู่ น บจ.เมืองไทยนา่ อยู่ 92.5 % โดยท่ี บจ.เมอื งไทยน่าอยู่ ถือหนุ้ อยใู่ น บจ.หนองคายนา่ อยู่ 67 %

2. กล่มุ บรษิ ัทถือหนุ้ อยใู่ น บจ.ซปุ เปอร์ วอเตอร์ 89.99 % โดยที่ บจ.ซปุ เปอร์ วอเตอร์ ถือหนุ้ อยใู่ น บจ.กิจการรว่ มคา้ ไทยพานิชนาวาฯ 89.99%
และบจ.ซปุ เปอร์ วอเตอร์ พพี ีเอส 90%

36 3. วนั ท่ี 6 ม.ค. 2563 ทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรษิ ัทมีมติอนมุ ตั ใิ ห้ SSE ทาสญั ญาซอื้ หนุ้ เพิ่มเติมใน SNP ซง่ึ ภายหลงั ทารายการจะทาให้ SSE ถือหนุ้ ใน

สดั สว่ น 100%

4. วนั ที่ 3 ก.พ. 2563 ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการบรษิ ัทมีมตอิ นมุ ตั ิให้ SSE ทาสญั ญาซอื้ หนุ้ เพ่ิมเติมใน WXA4, WXA5, WXA6, WXA7 ซง่ึ ภายหลงั ทา

รายการจะทาให้ SSE ถือหนุ้ ในสดั สว่ น 100%

2. ลกั ษณะการประกอบธุรกิจ

4. วนั ท่ี 3 ก.พ. 2563 ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการบรษิ ัทมีมติอนมุ ตั ใิ ห้ SSE ทาสญั ญาซอื้ หนุ้ เพิ่มเติมใน WXA4, WXA5, WXA6, WXA7 ซง่ึ ภายหลงั ทา
รายการจะทาให้ SSE ถือหนุ้ ในสดั สว่ น 100%

2. ลกั ษณะการประกอบธุรกจิ

บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอร์เปอเรช่ัน จากัด
(มหาชน) (“บริษัท” หรือ “SUPER”) ก่อตงั้ เม่ือวนั ท่ี 20 ธันวาคม
2537 ปัจจบุ นั เป็นบรษิ ัทท่ีดาเนินธุรกิจดา้ นพลงั งานทดแทน โดย
บริษัทเองมีนโยบายการให้บริการด้านการปฏิบัติการดูแล
บารุ งรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (Operation and
Maintenance services) และได้ถือหุ้นในบริษัทอ่ืน (Hollding

Company) ท่ีประกอบธุรกิจหลักด้านผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า
จากโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน และธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง, ธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และธุรกิจผลิตและ
จาหน่ายนา้ เพ่ืออุปโภคบริโภค โดยโครงสรา้ งธุรกิจของบริษัท
สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ไดแ้ ก่ ธุรกิจโรงไฟฟ้า

พลังงานทดแทน ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
และธรุ กิจผลติ และจาหน่ายนา้ เพ่ืออปุ โภคบรโิ ภค

2.1 ธุรกจิ การให้บริการด้านการปฏบิ ัตกิ ารดูแลบารุงรักษา 37
โรงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (Operation and
Maintenance services: O&M)

ดาเนินการโดยบริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ่ี คอรเ์ ปอ
เรช่นั จากดั (มหาชน) (“SUPER”) ไดแ้ ก่ การใหบ้ ริการดา้ นการ
ปฏิบัติการดูแลบารุ งรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
(Operation and Maintenance services), งานบรหิ ารจดั การ
สถานีไฟฟ้าและสายส่ง เป็นตน้ ใหแ้ ก่โครงการของบริษัทย่อยท่ี
SUPER เขา้ ไปถือหนุ้ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ภายหลังจากท่ี
โครงการโรงไฟฟา้ ดงั กล่าวไดด้ าเนนิ การเชงิ พาณิชยเ์ รียบรอ้ ยแลว้
เพ่ือดูแลบารุงรกั ษาเคร่ืองจักรอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า รวมถึงการ
บรหิ ารจดั การเพ่ือใหโ้ รงไฟฟ้าสามารถดาเนินการผลิตไปไดอ้ ย่าง
เตม็ ประสิทธิภาพ ทงั้ นี้ บริษัทมีนโยบายชดั เจนท่ีจะดาเนินธุรกิจ
ดา้ นการปฏิบตั ิการดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าฯทงั้ ท่ีเป็นของกลุ่ม
บรษิ ัท และ/หรือ บรษิ ัทอ่ืนภายนอกท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต และมี
วตั ถปุ ระสงคท์ ่จี ะขยายขอบเขตธุรกิจไปยงั ธุรกิจรบั เหมาก่อสรา้ ง
และการประมวลผลโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนท่ีจะเกิดขึน้ ใน
อนาคตตอ่ ไป

ปัจจบุ นั โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนภายใต้ 2.1.1 ผลิตภณั ฑแ์ ละบริการ
กล่มุ บรษิ ัท ประกอบดว้ ยโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยท์ ่ี
ดาเนินการเชงิ พาณิชยเ์ ป็นท่เี รียบรอ้ ยแลว้ จานวน 563.60 เมกะ งานบริการด้านการปฏิบัติการดูแลบารุ งรักษา
วตั ต์ โรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจากขยะ (ขยะอตุ สาหกรรม) ท่ี โรงไฟฟ้า เป็นการใหบ้ ริการดา้ นการปฏิบัติการดแู ลบารุงรกั ษา
ดาเนินการเชงิ พาณิชยแ์ ลว้ จานวน 9.00 เมกะวตั ต์ ทงั้ นีโ้ รงไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนในแต่ละโครงการ โดยจดั หา
พลงั งานทดแทนดงั กลา่ ว จาเป็นตอ้ งไดร้ บั การปฏิบตั ิการดแู ล บุคลากรท่ีมีความรูค้ วามสามารถเขา้ มาปฏิบัติงานในการดูแล
บารุงรกั ษาท่มี ีประสิทธิภาพ (Operation and Maintenance บารุงรกั ษาโรงไฟฟ้า การทดสอบความพร้อม การทดสอบค่า
services) ภายหลงั จากท่ีโรงไฟฟ้าดงั กล่าวไดด้ าเนินการเชงิ พลังงานไฟฟ้า การติดตามและประมวลผลค่าพลงั งานไฟฟ้าท่ี
พาณิชยแ์ ลว้ ซง่ึ นบั วา่ มีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การตดิ ตาม เกิดขึน้ การจัดหาอุปกรณ์ การประสานงาน การควบคุมการ
การดาเนินงาน เน่ืองจาก โรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทนมีการ ดาเนินงาน การฝึกอบรมทีมปฏิบตั กิ าร การใหค้ าปรกึ ษา รวมทงั้
ออกแบบ, ตดิ ตงั้ , และเลือกใชเ้ คร่อื งจกั รอปุ กรณท์ ่ตี อ้ งใช้ บรหิ ารจดั การโครงการ ณ พืน้ ท่โี รงไฟฟ้าฯ นนั้ ๆ
บคุ ลากรท่มี ีความรูค้ วามสามารถเฉพาะทางในการบรหิ ารจดั การ
และดแู ลบารุงรกั ษาระบบงานครอบคลมุ ในสว่ นงานท่ีจาเป็น ลกั ษณะขอบเขตงาน
ทงั้ หมด โดยเฉพาะอย่างย่งิ โรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจากขยะ 1. ส่วนงานท่ีตอ้ งดาเนินการเป็นประจาทุกวนั ไดแ้ ก่
(ขยะอตุ สาหกรรม) ซง่ึ จะมีกระบวนการผลิตท่ซี บั ซอ้ น ทงั้ นี้
เพ่ือใหโ้ รงไฟฟา้ สามารถดาเนินการผลติ ไปไดอ้ ยา่ งเตม็ งานตดิ ตาม ตรวจสอบค่าความเขม้ แสง, การตรวจสอบ รวบรวม
ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บรษิ ทั ยงั ใหบ้ รกิ ารงานท่ีปรกึ ษา งาน จดั การขอ้ มลู ระบบ PV, การจดบนั ทกึ หน่วยผลิตไฟฟ้าในแต่ละ
บรหิ ารจดั การงานก่อสรา้ งสถานีไฟฟ้าและสายสง่ 115 เควี โดย วนั , การบนั ทกึ เหตกุ ารณส์ าคญั ท่เี กิดขนึ้ ในแต่ละวนั , การติดตาม
บรษิ ัทจะตอ้ งดาเนินงานจดั หาบุคลากรท่มี ีความรูค้ วามสามารถ ตรวจวดั สภาพอากาศ รวมถึงสภาพแวดลอ้ มโดยรอบโรงงาน,
กบั ขอบเขตงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย มีประสบการณ์ และมีจานวน บารุงรักษาอุปกรณ์ท่ีใช้ตรวจสอบการดาเนินงานต่างๆ และ
ท่เี พียงพออยา่ งตอ่ เน่ือง ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยวิศวกรประจา ดาเนนิ การใหค้ วามรว่ มมือในการตรวจวดั หรอื รวบรวมขอ้ มลู กบั
โครงการ และเจา้ หนา้ ท่ปี ฏบิ ตั งิ านทางดา้ นเทคนิค ยามรกั ษา หน่วยงานทอ้ งถ่ิน และใหค้ วามรูค้ วามเข้าใจแก่ผู้ท่ีสนใจและ
ความปลอดภยั เป็นตน้ ประชาชนท่วั ไป

ปัจจบุ นั บรษิ ัทใหบ้ ริการภายใตส้ ญั ญาการปฏิบตั กิ าร 2. การจัดการระบบ ไดแ้ ก่ การใหค้ าแนะนา ปรึกษา
ดแู ลบารุงรกั ษา O&M Service ครอบคลมุ งานบรกิ าร ดงั ตอ่ ไปนี้ และหาแนวทางรว่ มกนั เพ่ือใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิต
ไฟฟ้า, การประมาณการณก์ าลงั การผลิตไฟฟ้า, การตรวจสอบ
1.งานดา้ น Operating และบารุงรักษาระบบงานภายในโรงงาน ตามมาตรฐานความ
2.งานดา้ น Maintenance material and tools ปลอดภยั ท่ถี กู ตอ้ งและเพียงพอ
3.งานดา้ น 3rd party or specialist service, If
required 3. การรายงานการบารุงรกั ษาเชิงป้องกัน ซ่ึงจะไดม้ ี
4.งานดา้ น Facility for O&M plant staff การจัดทารายงานเป็ นรายเดือน เพ่ือยืนยันการตรวจสอบ
5.งานดา้ น Insurance ทรพั ยส์ ิน, ผลการบารุงรกั ษา, การรายงานประสิทธิภาพโครงการ
6.งานดา้ น Others service , การตรวจจบั จอแสดงผลและคา่ ความชืน้ ของอินเวอร์เตอร,์ การ
ตรวจสอบความสะอาดบริเวณพืน้ ท่ีโรงงาน และการติดตาม
38 ประเมินผลการใชง้ านในอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีจาเป็น และอ่ืนๆ โดย
จดั ทาเป็นรายงานภายใน 15 วนั หลงั สิน้ สุดวนั ทาการของแตล่ ะ
เดอื น

4. งานท่ีทาการตรวจสอบทุกสองเดือน ไดแ้ ก่ งาน
ตรวจสอบอุปกรณ์ภาพตามคู่มือการใช้งานและบารุงรกั ษาท่ี
จดั เตรยี มโดยผผู้ ลติ เป็นตน้

5. งานท่ีทาการตรวจสอบทุกไตรมาส ได้แก่ การ ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์ต่างๆในการทางานของ 39
ตรวจสอบรวั้ โครงการ, การตรวจสอบอาคารควบคมุ , อาคาร โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนนั้นๆต่อไป โดยข้อเท็จจริง การ
สานกั งาน, งานสถานีย่อยไฟฟ้า และสภาพถนน เพ่ือใหพ้ รอ้ มใช้ ปฏิบตั กิ ารดแู ลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน โดยเฉพาะ
งานไดอ้ ย่างปลอดภยั เป็นตน้
โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตยท์ ่ีบรษิ ัทดาเนินการอย่นู นั้ นอกจาก
6. งานท่ีทาการตรวจสอบเป็นประจาทกุ ปี ไดแ้ ก่ การ การการทาความสะอาดอุปกรณ์อย่างแผงโซล่าร์แล้ว หัวใจ
ตรวจสอบสภาพการใช้งานทงั้ ภายในและภายนอกในอุปกรณ์ สาคญั อยู่ท่ีการออกแบบก่อสรา้ งและติดตงั้ ระบบตงั้ แต่เร่ิมตน้
หลกั อาทิเช่น 22kV สวทิ ซเ์ กียร,์ 22kV Ring Main Unit, 22kV หากมีมาตรฐานและการควบคุมงานท่ีดี ก็จะช่วยให้การ
Relay Testing, การทดสอบฉนวนสายเคเบิล HV, การทดสอบ ดาเนินงานทางดา้ นการปฏิบตั ิการดูแลบารุงรกั ษามีความเส่ียง
หม้อแปลงอินเวอรเ์ ตอร์, การทาความสะอาดชิน้ ส่วนภายใน ตา่ และเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
อปุ กรณ์ รวมถงึ การทดสอบระบบการทางานตา่ งๆ เป็นตน้
บริษัทไดเ้ ร่ิมใหบ้ ริการในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน
7. งานท่ีทาการตรวจสอบทุกสองปี ได้แก่ งาน แสงอาทติ ย์ (Operation and Maintenance services) ใหแ้ ก่
ตรวจสอบระบบสายไฟและทอ่ เป็นตน้ บรษิ ทั ตา่ งๆท่บี รษิ ัทถือหนุ้ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม โดยไดก้ าหนด
น โ ย บ า ย ก า ร ใ ห้บ ริก า ร ด้า น ก า ร ป ฏิ บัติก า ร ดูแ ล บ า รุ ง รัก ษ า
งานบริการท่ีปรกึ ษา บรหิ ารจดั การงานก่อสรา้ งสถานี โรงไฟฟ้า และบริการท่ีปรึกษา การบริหารจัดการงานก่อสรา้ ง
ไฟฟ้าและสายส่ง 115 เควี เป็นการใหบ้ ริการทางวิศวกรรมและ
บริหารจดั การ ตงั้ แต่ขนั้ ตอนการศกึ ษาความเป็นไปไดโ้ ครงการ สถานีไฟฟ้าและสายส่ง 115 เควี เพ่ือให้การดาเนินงานของ
การออกแบบ การควบคมุ งานก่อสร้าง การติดต่อประสานงาน โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยเ์ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ อย่างไร
เพ่ืออานวยความสะดวกในขั้นตอนการก่อสร้าง การบริหาร ก็ดี บรษิ ัทมีนโยบายชดั เจนท่ีจะดาเนินธุรกิจดา้ นการปฏิบตั กิ าร
จดั การกบั โครงการสถานีไฟฟ้า และสายส่ง 115 เควี ใหส้ ามารถ ดูแลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้าฯ ทงั้ ท่ีเป็นของกลุ่มบริษัท และ/หรือ
ใชง้ าน และเช่ือมตอ่ กบั ระบบของการไฟฟ้าไดอ้ ย่างเรยี บรอ้ ย บริษัทอ่ืนภายนอกท่ีจะเกิดขึน้ ในอนาคต โดยกาหนดส่วนงาน
ออกเป็น ดงั นี้
2.1.2 การตลาดและการแข่งขัน
1) ส่วนงานบริหารโครงการ (Project Management)
ในช่วง 2-3 ท่ีผ่านมา การเติบโตในธุรกิจโรงไฟฟ้า เป็ นศูนย์กลางในการทาหน้าท่ีในการบริหาร ควบคุม การ
พลงั งานทดแทน ไม่ว่าจะเป็นพลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานขยะ ดาเนินการทงั้ หมดของโรงไฟฟ้าฯ เพ่ือใหส้ ามารถดาเนินการผลิต
พลังงานชี วมวล เป็ นต้น เติบโตตามการสนับสนุนจาก กระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามกาลังการผลิตท่ี
ภ า ค รัฐ บ า ล ท่ี จ ะ ใ ห้เ อ ก ช น เ ข้า ม า ล ง ทุ น แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร ใ ช้ เหมาะสม และ เป็นไปตามแผนการดาเนนิ งานท่ีกาหนดไว้
เทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในการผลิตไฟฟ้า จาก
พลงั งานธรรมชาตอิ ย่างแสงอาทติ ย์ และ ลม หรือจากพลงั งานท่ี 2) ส่วนวิเคราะหร์ ะบบงาน (System Analysis) ทา
ไม่ไดม้ ีการใชป้ ระโยชน์ อย่างเช่น พืชผลทางการเกษตร รวมถึง
ขยะท่ีนับวนั จะเป็นปัญหาท่ีสาคญั ในการจดั การดงั กล่าว ดงั จะ หนา้ ท่ีในการศึกษากระบวนการทางานและการเดินเคร่ืองของ
เหน็ ไดจ้ ากการลงทนุ ในธุรกิจดงั กล่าวท่ีมีการเตบิ โตอย่างรวดเร็ว โรงไฟฟ้า การทางานของเคร่ืองจักรและอุปกรณแ์ ต่ละประเภท
ส่งผลใหง้ านทางดา้ นการปฏิบัติการดูแลบารุงรกั ษาโรงไฟฟ้า โดยมีการประมวลผลดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นข้อมูล
พลังงานทดแทนเติบโตตามไปด้วย อย่างไรก็ดี งานดา้ นการ สาหรบั การพฒั นาและปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพโรงไฟฟ้าฯ ตอ่ ไป
ปฏบิ ตั กิ ารดแู ลบารุงรกั ษานนั้ โดยมากผผู้ ลิตมกั จะทาการว่าจา้ ง
ผรู้ บั เหมาในการกอ่ สรา้ งเดมิ เป็นผรู้ บั งานดา้ นการปฏิบตั ิการดแู ล 3 ) ส่ ว น ง า น ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ แ ก้ ไ ข ( System
บารุ ง รัก ษ าต่อ เ น่ื อ ง จ าก ก าร รับ ป ร ะ กัน ง าน รับ เ ห ม าก่ อ ส ร้าง
(EPC) ทั้งนี้ เพ่ือให้ผู้รับเหมาไดด้ าเนินการวางระบบ และ Engineering) ทาหนา้ ท่ใี นการตรวจสอบ ตดิ ตามและดาเนินการ
แก้ไขหากมีความเสียหายเกิดขึน้ ในระบบการเดินเคร่ืองของ
โรงไฟฟ้าฯ รวมถึงการจัดซื้อ จัดหาอุปกรณ์ให้เป็ นไปตาม
ขอ้ กาหนดการทางานของระบบ เป็นตน้

2.2 ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลังงาน
ทดแทน (Renewable Energy)

บรษิ ทั และบรษิ ัทยอ่ ยไดด้ าเนินการเขา้ ลงทนุ ในธุรกิจท่ี
ผลิตและจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน
ท่ผี า่ นมาไดม้ ีการลงทนุ ในโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย,์
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั านความรอ้ นจากขยะ (ขยะอุตสาหกรรม)
และในปี 2562 บริษัทได้เข้าไปลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทติ ยแ์ ละพลงั งานลมในประเทศเวียดนาม โดยดาเนินงาน
ผา่ นบรษิ ัท ซปุ เปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป จากดั ซ่งึ เป็นบรษิ ัทย่อยของ
บรษิ ัท ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการเพ่ือใหเ้ กิดความสะดวก
ในโครงสรา้ งการจดั การธรุ กจิ

โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน ทงั้ ในส่วนพลงั งาน
แสงอาทติ ย์ และพลงั งานความรอ้ นจากขยะ ของกล่มุ บรษิ ัทไดม้ ี
การลงนามในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า กับ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง
ประเทศไทย และ/หรือ การไฟฟ้านครหลวง และ/หรือ การไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาค โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์ไดเ้ ร่ิม
ดาเนินการเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นมา ซ่ึงปัจจุบัน
บริษัทได้มีการลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และ
พลงั งานลมในประเทศเวียด ซ่งึ โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ ได้
ดาเนนิ การเชงิ พาณิชยไ์ ปแลว้ ทงั้ หมด 6 โครงการ กาลงั การผลิต
รวม 286.72 MW ทงั้ นี้ ทกุ โครงการไดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่ิม
ราคารบั ซอื้ ไฟฟ้า ไม่วา่ จะเป็นในรูปแบบ Adder และ/หรือ Feed
in Tariff (FiT) ซง่ึ มีระยะเวลาตงั้ แต่ 7 ปี ไปจนถึง 25 ปี ภายใต้
สญั ญาดงั กล่าว ตามการพฒั นาและการส่งเสริมการใชพ้ ลงั งาน
ทดแทนของประเทศท่มี งุ่ สกู่ ารเตบิ โตท่เี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

40

ประเภทและลกั ษณะสญั ญาซอื้ ขายไฟฟา้ ในประเทศของบรษิ ทั ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

ลาดบั ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมสูงสุดตามสัญญาซอื้ ขายไฟฟ้า(MW) พลังงานไฟฟ้ารวม COD แล้ว ระยะเวลา
(MW) (ปี )
1 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่ิมรบั ซอื้ ไฟฟา้ 7.00 7.00 10
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Adder 8.00 บาท/หนว่ ย
2 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟ้า 5.95 5.95 10
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Adder 6.50 บาท/หนว่ ย
3 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ ท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่ิมรบั ซอื้ ไฟฟ้า 524.15 522.65 25
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 5.66 บาท/หนว่ ย
4 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ ท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟา้ 28.00 28.00 25
โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 4.12 บาท/หน่วย
5 กลมุ่ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟ้า 26.00 97
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น(จากขยะ)
ในรูปแบบ Adder 3.50 บาท/หน่วย
6 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟ้าท่ไี ดร้ บั การสนบั สนนุ ส่วนเพ่มิ รบั ซอื้ ไฟฟ้า 6 - 20
โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานความรอ้ น(จากขยะ)
ในรูปแบบ FiT 5.08 บาท/หน่วย
รวม 597.10 572.60

ประเภทและลกั ษณะสญั ญาซอื้ ขายไฟฟา้ ในตา่ งประเทศของ

ลาดับ ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมสูงสุดตามสัญญาซอื้ ขายไฟฟ้า(MW) พลังงานไฟฟ้ารวม COD แล้ว ระยะเวลา
(MW) 286.72 (ปี )
1 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ 286.72 - 20
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 9.35 UScents/kWh 20
2 กล่มุ สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ โครงการโรงไฟฟ้าพลงั งานลม 171.00 286.72
ในรูปแบบ Feed-in Tariff 9.8 UScents/kWh
รวม 457.72
บรษิ ัท ณ วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

41

2.2.1 ลักษณะผลติ ภัณฑแ์ ละบริการ การผลิตไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตยจ์ ะมีขอ้ จากดั แต่ก็ยงั มีความ
จาเป็นตอ่ การจดั หาพลงั งานไฟฟ้าทงั้ ระบบ เพราะฉะนนั้ จาเป็นท่ี
ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ า จะตอ้ งมีการบรหิ ารจดั การและบูรณาการการผลิตไฟฟ้าร่วมกับ
พลังงานแสงอาทติ ย์ (“Solar Energy”) แหล่งพลังงานพรอ้ มใช้ อย่างก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ซ่ึง
นับวันมีแต่จะหมดไป ดังนั้น การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ใน
บริษัทถือหนุ้ ทางออ้ มผ่านบรษิ ัทย่อย SEGดาเนินการ ปัจจบุ นั จงึ มีบทบาทสาคญั และเป็นทางเลือกท่ีจาเป็น
โดยบรษิ ัท ซุปเปอร์ โซล่าร์ เอนเนอรย์ ี จากดั (“SSE”) และบรษิ ัท
ย่อย เพ่ื อลง ทุนและพัฒนาธุรกิจผลิตแล ะจัดจาหน่าย การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ จะเป็นการ
กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และธุรกิจท่ี เปล่ียนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยการนาสารก่ึง
เก่ียวข้อง ปัจจุบันมีโครงการโรงไฟฟ้าทั้งในประเทศและ ตวั นา เช่น ซิลิคอน ซ่งึ มีราคาถูกท่ีสุดและมีมากท่ีสุดบนพืน้ โลก
ตา่ งประเทศรวม 106 โครงการ จานวน 850.32 เมกะวตั ต์ โดย นามาผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผลิตใหเ้ ป็นแผ่นบาง
ตั้งอยู่ในประเทศไทยทั้งหมด 100โครงการ กาลังการผลิต บรสิ ทุ ธ์ิ และในทนั ทีท่ีมีแสงตกกระทบบนแผ่นเซลล์ รงั สีของแสง
563.60 เมกะวัตต์ และตงั้ อยู่ท่ีประเทศเวียดนาม 6 โครงการ ท่ีมีอนุภาคของพลังงานประกอบ ท่ีเรียกว่า Photon จะถ่ายเท
กาลงั การผลติ 286.72 เมะวตั ต์ พลังงานให้กับ Electron ในสารก่ึงตวั นา จนมีพลังงานมาก
พอท่ีจะกระโดดออกมาจากแรงดงึ ดูดของ Atom และสามารถ
“แสงอาทิตย”์ เป็นแหล่งพลงั งานธรรมชาติท่ีมีขนาด เคล่ือนท่ีไดอ้ ย่างอิสระ ดงั นนั้ เม่ือ Electron มีการเคล่ือนท่ีครบ
วงจร ก็จะทาใหเ้ กิดไฟฟ้ากระแสตรงขึน้ องคป์ ระกอบหลกั ของ
ใหญ่ท่ีสุด เป็นพลังงานสะอาดและมีอยู่ท่วั ไป แต่การนามาใช้ “เซลลแ์ สงอาทิตย”์ คือ สารก่ึง ตวั นา (Semi Conductors) 2
ชนิด มาต่อกนั ซ่งึ เรียกว่า P-N Junction เม่ือแสงอาทิตยต์ ก
ประโยชนอ์ าจยงั มีขอ้ จากดั อย่บู า้ ง เน่ืองจากแสงอาทิตยม์ ีเฉพาะ กระทบเซลลแ์ สงอาทติ ย์ ก็จะถ่ายพลงั งานใหอ้ ะตอมของสารก่ึง
ตวั นา ทาใหเ้ กิดอีเลคตรอนสแ์ ละโฮลส์อิสระ ไปรออยู่ท่ีขั้วต่อ
ในตอนกลางวนั ตลอดจนมีความเขม้ ของแสงท่ีไม่แน่นอน เพราะ ดงั นนั้ เม่ือมีการเช่ือมกับวงจรภายนอก เช่น เอาหลอดไฟฟ้ามา
ต่อคร่อมขั้วต่อ ก็จะเกิดการไหลของอีเลคตรอนส์/โฮลส์ ท่ีให้
ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและฤดูกาลท่ีเปล่ียนไป พลังงาน พลงั งานไฟฟา้ กระแสตรงกบั วงจรภายนอกได้ และจะใหพ้ ลงั งาน
ไฟฟ้าอย่างตอ่ เน่ือง ตราบเทา่ ท่ียงั มีแสงอาทิตยต์ กกระทบเซลล์
แสงอาทิตย์ เป็ นพลังงานทดแทนชนิดหน่ึงท่ีเป็ นพลังงาน ซง่ึ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ นั ที

หมนุ เวยี นใชไ้ ดอ้ ย่างไม่มีวนั หมด แมจ้ ะมีตน้ ทนุ ท่ีสูงเม่ือเทียบกบั ตวั แปรสาคญั ในการทางานของเซลลแ์ สงอาทติ ย์
ตัว แ ป ร ท่ี ส า คัญ ท่ี มี ส่ ว น ท า ใ ห้เ ซ ล ล์แ ส ง อ า ทิ ต ย์มี
ตน้ ทุนอ่ืนในการผลิตพลังงาน อย่างไรก็ตาม ภายหลงั พลังงาน
ประสิทธิภาพการทางานในแตล่ ะพืน้ ท่ีต่างกนั และมีความสาคญั
แสงอาทิตย์ได้รับความสนใจมากขึน้ จนนาไปสู่การพัฒนา ในการพิจารณานาไปใช้ในแต่ละพื้นท่ี ตลอดจนการนาไป
คานวณระบบหรือคานวณจานวนแผงแสงอาทิตยท์ ่ีตอ้ งใชใ้ นแต่
เทคโนโลยีใหม่ๆใหม้ ีประสิทธิภาพสูง และมีราคาท่ีถูกลง อีกทงั้ ละพืน้ ท่ี มีดงั นี้

การก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอ าทิตย์และการดูแล • ความเขม้ ของแสง กระแสไฟ (Current) จะ
เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มของแสง หมายความว่าเม่ือ
42 บารุงรกั ษาทาไดง้ ่าย และท่ีสาคญั ไม่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม ความเขม้ ของแสงสูง กระแสท่ีไดจ้ ากเซลลแ์ สงอาทิตยก์ ็จะสูงขนึ้
จงึ เป็นท่ีนิยมใชก้ นั อย่างแพรห่ ลาย แต่การใชพ้ ลงั งานหมุนเวียน ในขณะท่ีแรงดนั ไฟฟ้าหรือโวลตแ์ ทบจะไม่แปรไปตามความเขม้
ของแสงมากนัก ความเข้มของแสงท่ีใช้วัดเป็นมาตรฐานคือ
อย่างพลงั งานแสงอาทิตย์ มีขอ้ จากัดเร่ืองเวลาในการผลิต แม้

ความเข้มของแสงท่ีวัดบนพืน้ โลกในสภาพอากาศปลอดโปร่ง แผงโซลา่ เซลล์ หมอ้ แปลงไฟฟ้า สายสง่ ไฟฟา้
ป ร า ศ จ า ก เ ม ฆ ห ม อ ก แ ล ะ วั ด ท่ี ร ะ ดั บ น้า ท ะ เ ล ใ น ส ภ า พ ท่ี
แสงอาทติ ยต์ งั้ ฉากกบั พืน้ โลก ขอ้ ดีของโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
1. เป็นพลงั งานท่มี ีอยา่ งตอ่ เน่ือง
• อุณหภูมิ กระแสไฟ (Current) จะไม่แปร 2. เป็นพลงั งานสะอาดท่ไี มก่ ่อใหเ้ กดิ มลภาวะ
ตามอณุ หภมู ิท่เี ปล่ียนแปลงไป ในขณะท่แี รงดนั ไฟฟ้า (โวลท)์ จะ 3. มีการบารุงรกั ษานอ้ ยมากและใชง้ านแบบอตั โนมัติ
ลดลงเม่ืออุณหภูมิสูงขึน้ ซ่งึ โดยเฉล่ียแลว้ ทกุ ๆ 1 องศาท่ีเพ่ิมขึน้
จะทาให้แรงดันไฟฟ้าลดลง 0.5% และในกรณีของแผงเซลล์ ไดง้ ่าย
แ ส ง อ า ทิ ต ย์ม า ต ร ฐ า น ท่ี ใ ช้ ก า ห น ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง แ ผ ง
แสงอาทิตยค์ ือ ณ อุณหภูมิ 25 องศา C เม่ืออุณหภูมิสูงขึน้ ขอ้ จากดั ของโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์
แรงดนั ไฟฟ้าก็จะลดลง ซ่งึ มีผลทาใหก้ าลังไฟฟ้าสูงสุดของแผง 1. เซลลแ์ สงอาทติ ยม์ ีอายกุ ารใชง้ านคอ่ นขา้ งนอ้ ย
แสงอาทติ ยล์ ดลงดว้ ย 2. ปริมาณพลงั งานท่ีผลิตไดจ้ ะไม่คงท่ีเน่ืองจากสภาพ

ขนั้ ตอนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ อากาศท่ไี ม่แน่นอน
ในการผลติ ไฟฟา้ ของโรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ จะ 3. การผลิตไฟฟ้าทาไดเ้ ฉพาะตอนกลางวนั เน่ืองจาก

มีกระบวนการผลติ กระแสไฟฟ้าดว้ ยเซลลแ์ สงอาทิตยแ์ บบต่อกบั ตอ้ งใชแ้ สงจากดวงอาทติ ยใ์ นการผลติ พลงั งาน
ระบบจาหน่าย (PV Grid connected system) เป็นระบบผลิต
ไฟฟ้าท่ีถูกออกแบบสาหรบั ผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปล่ียนระบบ
ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลบั เขา้ ส่รู ะบบสายส่งไฟฟ้า
โดยตรง โดยแผงเซลลแ์ สงอาทิตย(์ Solar Cell)จะทาหนา้ ท่ีรบั
แสงอาทิตย์ เม่ือแสงอาทิตยต์ กกระทบบนแผงเซลลแ์ สงอาทิตย์
ดังกล่าว จะทาให้เกิดการผลิตไฟฟ้าออกมาจากแผงเซลล์
แสงอาทิตย์ ไฟฟ้าท่ีผลิตได้จะเป็ นไฟฟ้ากระแสตรงท่ีมี
แรงดันไฟฟ้าต่า ดังนั้นจึงต้องนาไฟฟ้ากระแสตรงแรงดันต่า
ดงั กล่าวไปผ่านอุปกรณอ์ ินเวอรเ์ ตอร์ (Inverter) เพ่ือแปลงเป็น
ไฟฟ้ากระแสสลับแรงดนั ไฟฟ้าต่า ต่อจากนั้นไฟฟ้ากระแสสลับ
แรงดนั ไฟฟ้าต่าดงั กล่าวจงึ ถูกส่งผ่านไปยงั หมอ้ แปลงไฟฟ้า เพ่ือ
เพ่ิมแรงดนั ไฟฟา้ โดยแปลงเป็นแรงดนั ไฟฟ้าใหส้ ูงขนึ้ หลงั จากนนั้
จึงถูกส่งผ่านไปยงั สายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเพ่ือ
จาหนา่ ยใหก้ บั ผใู้ ชต้ อ่ ไป

43

ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากธุรกิจโรงไฟฟ้า เป็นวตั ถดุ บิ ในกระบวนการผลติ ไฟฟ้า เป็นตน้ ควบค่ไู ปกบั การให้
พลังงานความร้อนจากขยะ (“Waste Energy”) ความรูแ้ ละทาความเขา้ ใจกบั ชาวบา้ น ชมุ ชน และผลกระทบดา้ น
ส่ิงแวดลอ้ มท่ถี กู ตอ้ ง ดงั นี้
ดาเนินการโดยบริษัท ซุปเปอร์ เอิรธ์ เอนเนอรย์ ี จากดั
(“SEE”) และบริษัทย่อย เพ่ือลงทนุ และพฒั นาธุรกิจผลิตและจดั 1. การสรา้ งความเขา้ ใจกบั ประชาชนและชมุ ชนท่ีอยู่
จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานความรอ้ นจากขยะ โดยรอบพืน้ ท่ี ถงึ เหตผุ ลความจาเป็น และการสรา้ งความม่นั ใจใน
และธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง ปัจจุบันมีโครงการโรงไฟฟ้าดังกล่าวท่ี การเดนิ ระบบใหก้ ับประชาชน ตงั้ แต่ขนั้ ตอนการจดั หาพืน้ ท่ี การ
ดาเนินการเชงิ พาณิชยแ์ ลว้ 1 โครงการ จานวน 9 เมกะวตั ต์ และ คดั เลือกเทคโนโลยี กระบวนการบริหารจดั การภายในสถานท่ีฝัง
อยู่ระหว่างดาเนินการก่อสร้างตามสัญญารับซือ้ ไฟฟ้ารวม 2 กลบขยะมลู ฝอย รวมทงั้ ผลดีผลเสียของประชาชนท่ีอย่โู ดยรอบ
โครงการ, จานวน 15 เมกะวตั ต์ พืน้ ท่หี รือประชาชนท่จี ะไดร้ บั ผลกระทบ

ดาเนินการโดยบรษิ ัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี กรุ๊ป จากดั 2. ความเหมาะสมและความโปร่งใสในการคดั เลือก
(“SEG”) ซ่งึ เป็นโครงการผลิตและจดั จาหน่ายกระแสไฟฟ้าจาก พืน้ ท่ี เน่ืองจากการก่อสรา้ งสถานท่ีกาจดั ขยะมลู ฝอยอาจส่งผล
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากขยะ และธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง กระทบต่อวิถีชีวิตและค วามเป็ นอยู่ของประชาชนโดยรอบของ
ปัจจบุ นั มีโครงการโรงไฟฟ้าดงั กล่าวท่ีอยู่ระหวา่ งดาเนินการตาม พืน้ ท่ี ดงั นนั้ ความเหมาะสมของพืน้ ท่จี งึ ตอ้ งเป็นส่ิงท่คี วรคานึงถึง
สญั ญารบั ซอื้ ไฟฟา้ รวม 1 โครงการ, จานวน 8 เมกะวตั ต์ เป็นอันดับแรก รวมทั้งกระบวนการได้มาซ่ึงพืน้ ท่ีควรมีความ
โปร่งใสในการคัดเลือก เพ่ือลดผลกระทบท่ีอาจเกิดขึน้ ได้ใน
“ขยะ” เป็นพลงั งานหมนุ เวียนรูปแบบหน่งึ ท่ีนามาใช้ อนาคต
เป็นวตั ถดุ บิ ในการผลติ ไฟฟา้ และพลงั งานความรอ้ น ในปัจจบุ นั มี
ปริมาณขยะจากชุมชนและอุตสาหกรรมจานวนมากในแต่ละ 3. ความสม่าเสมอในการใหข้ อ้ มลู และการสรา้ งความ
พืน้ ท่ี จากขอ้ มูลกรมควบคมุ มลพิษพบวา่ ปี 2560 ประเทศไทยมี เขา้ ใจกบั ประชาชน กระบวนการนีค้ วรดาเนินการอย่างต่อเน่ือง
สถิติขยะมลู ฝอยเกิดขึน้ 27.40 ลา้ นตนั ปริมาณขยะท่ีเกิดขนึ้ ท่วั เพ่ือใหก้ ระบวนการสรา้ งความเขา้ ใจกบั ประชาชน เกิดผลสมั ฤทธิ์
ประเทศพบว่ามีแนวโนม้ เพ่ิมสูงขึน้ ทุกปี ดงั นนั้ การผลิตไฟฟ้า ตามตอ้ งการ
จากขยะเป็ นอีกหน่ึงวิธีท่ีจะช่วยกาจัดขยะและผลิตพลังงานได้
พรอ้ มๆ กัน เพ่ือใหเ้ กิดความต่ืนตัวในการแก้ไขปัญหาขยะท่ี การผลติ พลังงานโดยใช้กระบวนการทางความร้อน
ดาเนินการไม่ถูกตอ้ ง และเพ่ือเป็นการลดมลพิษจากขยะ ทาง
หน่วยงานภาครฐั จึงไดใ้ ห้ทกุ ภาคส่วนตอ้ งเร่งดาเนินการบริหาร 1. เทคโนโลยกี ารผลิตพลังงานโดยใช้เตาเผา (Incinerator)
Incineration
44 จดั การขยะมลู ฝอยและ ซ่งึ เป็นปัญหาดา้ นส่ิงแวดลอ้ มท่ีสาคญั
เป็นการเผาขยะในเตาท่ไี ดม้ ีการออกแบบมาเป็นพิเศษ
ของประเทศ โดยกาหนดใหด้ าเนินการจดั การขยะ โดยมาตรการ เพ่ือใหเ้ ขา้ กบั ลกั ษณะสมบตั ขิ องขยะ ท่ีมีอตั ราความชืน้ สงู และมี
ท่ีสาคญั อย่างหน่งึ ท่ีภาครฐั ใหก้ ารสนบั สนนุ คือการนาขยะไปใช้ คา่ ความรอ้ นท่แี ปรผนั ได้ การเผาไหมจ้ ะตอ้ งมีการควบคมุ ท่ีดีเพ่ือ
จะป้องกันไม่ใหเ้ กิดมลพิษและการรบกวนต่อส่ิงแวดล้อม เช่น
ก๊าซพิษ เขม่า กล่ิน เป็นตน้ ก๊าซซ่ึงเกิดจากการเผาไหมจ้ ะไดร้ บั
การกาจัดเขม่าและอนุภาคตามท่ีกฎหมายควบคุม ก่อนท่ีจะ
ส่งออกสู่บรรยากาศ โดยจะมีขี้เถ้าท่ีเหลือจากการเผาไหม้
ประมาณรอ้ ยละ 10 โดยปรมิ าตร และรอ้ ยละ 25-30 โดยนา้ หนกั
ของขยะท่ีส่งเขา้ เตาเผา ซ่งึ จะถูกนาไปฝังกลบหรือใชเ้ ป็นวสั ดุปู
พืน้ สาหรับการสรา้ งถนน ส่วนขีเ้ ถา้ ท่ีมีส่วนประกอบของโลหะ
อาจถกู นากลบั มาใชใ้ หม่ได้ นอกจากนนั้ สามารถท่ีจะนาพลงั งาน

ความรอ้ นท่ีไดจ้ ากการเผาขยะมาใชใ้ นการผลิตไอนา้ หรือทานา้ ผู้ออกแบบโรงเผาและผู้ปฏิบัติงาน และยังควบคุมการเกิดผล 45
รอ้ น หรอื ผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ กระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มไดย้ าก ดงั นนั้ การแปรรูปขยะมลู ฝอยโดย
ผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เพ่ือปรับปรุงคุณสมบัติทาง
1.1 เทคโนโลยีเตาเผาแบบ (Moving Grate) เป็น กายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอยเพ่ือทาให้
เตาเผาแบบการเผาไหมม้ วล เป็นระบบท่ีใชก้ ันอย่างแพร่หลาย กลายเป็ นเชื้อเพลิงแข็งท่ีมีคุณสมบัติในด้านค่าความร้อน
ประกอบดว้ ยตะกรบั ท่ีสามารถเคล่ือนท่ีไดแ้ ละมีการเผาไหมอ้ ยู่ (Heating Value) ความชืน้ ต่า มีขนาดและความหนาแน่น
บนตะกรบั นี้ โดยขณะเผาไหมต้ ะกรบั จะเคล่ือนท่แี ละลาเลียงจาก เหมาะสมในการขนยา้ ย หรือการเผา และมีองคป์ ระกอบทงั้ ทาง
จุดเร่ิมตน้ ถึงจุดสุดทา้ ย ซ่ึงหากไดร้ บั การออกแบบท่ีดีจะทาให้ เคมีและกายภาพสม่าเสมอ (Refuse Derived Fuel, RDF) ซง่ึ
ขยะมีการเคล่ือนยา้ ยและผสมผสานกนั อย่างมีประสิทธิภาพและ เชือ้ เพลิงท่ีไดน้ นั้ สามารถนาไปใชเ้ ป็นเชือ้ เพลิงเพ่ือผลิตพลงั งาน
ทาใหอ้ ากาศท่ีใชใ้ นการเผาไหมส้ ามารถแทรกซึมไปท่วั ถงึ พืน้ ผิว ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้ โดยคุณลักษณะท่ัวไปของ
ของขยะ ตะกรบั อาจถูกจัดแบง่ ใหเ้ ป็นพืน้ ท่ีย่อยเฉพาะ ซ่งึ ทาให้ RDF ประกอบดว้ ย
สามารถปรบั ปรมิ าณอากาศเพ่ือใชใ้ นการเผาไหมไ้ ดอ้ ย่างอิสระ
และทาใหส้ ามารถเผาไหมไ้ ดแ้ มข้ ยะท่มี ีคา่ ความรอ้ นต่า - ปลอดเชือ้ โรคจากการอบดว้ ยความรอ้ น ลดความเส่ียง
ตอ่ การสมั ผสั เชือ้ โรค
1.2 เทคโนโลยีเตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln
Incinerator) เป็นการเผาไหมม้ วลของขยะมลู ฝอยโดยใชห้ อ้ งเผา - ไมม่ ีกล่นิ
ไหมท้ รงกระบอกซ่งึ สามารถหมุนไดร้ อบแกน โดยขยะจะเคล่ือน - มีขนาดเหมาะสมตอ่ การปอ้ นเตาเผา-หมอ้ ไอนา้ (เสน้
ตวั ไปตามผนังของเตาเผาทรงกระบอกตามการหมนุ ของเตาเผา ผา่ นศนู ยก์ ลาง 15-30 มิลลเิ มตร ความยาว 30-150 มิลลเิ มตร)
ซ่งึ ทามุมเอียงกบั แนวระดบั เตาเผาแบบหมุนส่วนใหญ่จะเป็น - มีความหนาแน่นมากกวา่ ขยะมลู ฝอยและชีวมวลท่วั ไป
แบบผนงั อิฐทนไฟ (450-600 kg/m3) เหมาะสมตอ่ การจดั เก็บ และขนสง่
- มีคา่ ความรอ้ นสงู เทียบเท่ากบั ชีวมวล (~ 13-18
1.3 เทคโนโลยีเตาเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบด MJ/kg) และมีความชืน้ ต่า (~ 5-10%)
(Fluidized Bed) เตาเผาแบบฟลูอิดไดซเ์ บดทางานโดยอาศยั - ลดปัญหามลภาวะจากการเผาไหม้ เช่น NOx และได
หลกั การท่อี นภุ าคของแขง็ ท่รี วมตวั เป็น Bed (วสั ดทุ ่ีเติมเขา้ ไปใน ออกซนิ และฟรู าน
เตาเพ่ือช่วยใหเ้ กิดการเผาไหมต้ ่อเน่ือง) ในเตาเผาผสมเขา้ กับ
ขยะมลู ฝอย ทาหนา้ ท่ีเป็นเชือ้ เพลิงสาหรบั การเผาไหมถ้ ูกทาให้ 2. เทคโนโลยีการผลติ กา๊ ซ (MSW Gasification)
ลอยตัวขึน้ อันเน่ืองมาจากอากาศท่ีเป่ าเข้าดา้ นขา้ งทาใหม้ ันมี เป็นกระบวนการผลิตก๊าซเชือ้ เพลิง หรือเทคโนโลยีไพโรไล
พฤติกรรมเหมือนกับของไหล เตาเผา โดยท่วั ไปจะมีรูปร่างเป็น
ทรงกระบอกตงั้ และวัสดุท่ีทาBed มักทามาจากทราย ซิลิกา ซิส/ก๊าซซิฟิเคช่นั (Pyrolysis/Gasification) เป็นกระบวนการทาใหข้ ยะ
หินปนู หรือวสั ดเุ ซรามิค โดยเตาเผามีขอ้ ไดเ้ ปรียบท่ีสามารถลด เป็ นก๊าซโดยการทาปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่สมบูณ์ กล่าวคือ
ปรมิ าณสารอนั ตรายไดใ้ น Bed และมีประสทิ ธิภาพเชิงความรอ้ น สารอินทรียใ์ นขยะจะทาปฏิกิริยากับอากาศหรือออกซิเจนปริมาณ
สงู สามารถใชไ้ ดก้ บั เชือ้ เพลงิ หลากหลายประเภท จากัด ทาใหเ้ กิดก๊าซชีวภาพ ซึ่งโดยท่วั ไปจะประกอบดว้ ย แก๊สมีเทน
(CH4) ประมาณ 50-70% และก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ CO2
การผลิตเชือ้ เพลงิ ขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) ประมาณ 30-40% ส่วนท่ีเหลือเป็นแก๊สชนิดอื่นๆ เช่น ไฮโดเจน H2
การใชเ้ ชือ้ เพลิงขยะไปใช้ในการเผาไหมโ้ ดยตรง มัก ออกซิเจน O2 ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ H2S ไนโตรเจน N และไอนา้ โดย
หลกั การ ก๊าซมีเทนจะเกิดการหมกั (fermentation) ของสารอินทรีย์
ก่อใหเ้ กิดความยุ่งยากในการใชง้ าน เน่ืองจากความไม่แน่นอน โดยกระบวนการนีส้ ามารถเกิดขึน้ ไดใ้ นหลมุ ขยะ กองมลู สตั ว์ และกน้
และไม่สม่าเสมอในองคป์ ระกอบต่างๆ (Non-homogeneousness) บ่อแหลง่ นา้ น่ิง กล่าวคือเมื่อไหรก่ ็ตามที่มีสารอินทรียห์ มกั รวมกนั เป็น
ท่ีประกอบกนั ขึน้ เป็นขยะมลู ฝอย ซ่งึ เปล่ียนแปลงไปตามชุมชน เวลานานก็อาจเกิดก๊าซชีวภาพ และพรอ้ มท่ีจะนาไปเผาเพื่อนาความ
และตามฤดูกาล อีกทงั้ ขยะมูลฝอยเหล่านีม้ ีค่าความรอ้ นต่า มี รอ้ นทไ่ี ดไ้ ปตม้ นา้ เพอ่ื ผลิตกระแสไฟฟา้ ตอ่ ไป
ปริมาณเถ้าและความชื้นสูง ส่ิงเหล่านีก้ ่อความยุ่งยากให้กับ

ขอ้ ดขี องโรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจากขยะ เผาไหม้โดยใชอ้ ากาศมากเกินพอ (excess air) ใชอ้ ุณหภูมิ
1. เป็นแหล่งพลงั งานราคาถกู ประมาณ 850-1,200 องศาเซลเซียส โดยท่วั ไปแบ่งออกไดเ้ ป็น 2
2. ลดปัญหาเร่อื งการกาจดั ขยะ ประเภทเหลกั คอื

ขอ้ จากดั ของโรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ นจากขยะ 1. Bubbling fluidized bed เป็นระบบการเผาไหม้
1. เทคโนโลยีบางชนดิ ใชเ้ งนิ ลงทนุ สงู ถา้ ขนาดเล็กเกินไปจะ เชือ้ เพลิงแบบแข็งเดือด โดยการทาใหเ้ ชือ้ เพลิงแข็งมีขนาดเล็ก
ผสมกบั ของแข็ง เช่น ทรายหรือเถา้ หนักแลว้ ใหข้ องผสมทาการ
ไม่คมุ้ การลงทนุ เลียนแบบการเดือดของของเหลวดว้ ยการพ่นลมท่ีมีการกระจาย
2. มีคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การขยะใหเ้ หมาะสมก่อนนาไปแปร จากด้านล่างของห้องเผาไหม้ เกิดการเดือดคลุกเคล้าของ
เชือ้ เพลิงแข็งอย่ใู นขณะท่ีกาลงั ลกุ ไหมอ้ ย่บู น Bed เม็ดเชือ้ เพลิง
รูปเป็นพลงั งาน แข็งจะเผาไหมจ้ นหมดกลายเป็นขีเ้ ถา้ อยทู่ างดา้ นล่างของ Bed ท่ี
3. ตอ้ งมีเทคโนโลยีท่เี หมาะสมในการจดั การกบั ฝ่ นุ ควนั และ มีชอ่ งเปิดปล่อยทงิ้ ออกไป

สารท่ีเกิดขึน้ จากการเผาขยะ ตัวอย่างเช่น ฝ่ ุนควนั ท่ีเกิดจาก 2. Circulating fluidized bed หรือ CFB เป็นระบบ
โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงขยะอาจมีโลหะหนกั เช่น ตะก่วั หรือแคดเม่ียม Fluidized Bed แบบหมนุ เวียน จะมีกลไกในการแยกอนภุ าค
ปนอยู่ หรือการเผาขยะอาจทาใหเ้ กิดไดอ๊อกซิน ซ่ึงเป็นสารก่อ ของแข็งท่ีมีขนาดใหญ่หรือเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่สมบูรณ์และ
มะเรง็ ปอ้ นกลบั เขา้ ส่กู ระบวนการอีกครงั้ ระบบการเผาไหมแ้ บบฟลูอิด
ไดซ์เบด สามารถใช้กับเชื้อเพลิงแข็งได้เกือบทุกชนิด และมี
4. โรงไฟฟ้าขยะมักไดร้ ับการต่อต้านจากชุมชนท่ีอยู่ อณุ หภมู ภิ ายในเตาสม่าเสมอตลอดท่วั ทงั้ เตา มีอตั ราการเผาไหม้
ใกลเ้ คียง ท่ีคงท่ี สามารถใชก้ ับเชือ้ เพลิงท่ีมีความชืน้ สงู ไดด้ ี ขอ้ ดีท่ีสาคญั
คือการมีสารเฉ่ือย เช่น ทรายเป็นเบดจะทาใหเ้ กิดการผสมของ
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากขยะ (ขยะอุตสาหกรรม) เชือ้ เพลิงและออกซิเจนเป็นอย่างดี การเผาไหมจ้ งึ สมบูรณแ์ ละ
รวดเร็ว นอกจากนีเ้ บดยังช่วยใหค้ วามรอ้ นมีความเสถียรไม่ดบั
โร ง ไ ฟ ฟ้ า พ ลัง ง า น ค ว าม ร้อ น จ า ก ข ย ะ ( ข ย ะ ง่าย อุณหภูมิภายในเตาไม่สูงมากนักทาใหไ้ ม่ก่อใหเ้ กิดปัญหา
ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (NO2)
อุตสาหกรรม) ของบริษัท ใชร้ ะบบการเผาไหมแ้ บบฟลูอิไดซเ์ บด
กระบวนการผลติ ไฟฟ้าแบบฟลูอิไดซเ์ บด
ในกระบวนการผลิตหลกั ประกอบดว้ ย 1) ระบบการ

เตรียมเชือ้ เพลิง (Fuel Preparation) 2) ระบบการเผาไหมแ้ ละ
การผลิตไอนา้ (Combustion System & Boiler) 3) ระบบผลิต
ไฟฟ้าแบบกงั หนั ไอนา้ (Steam Turbine Generator) ดงั นี้

(Fluidized Bed) คือ เป็นการเพ่ิมความเร็วใหก้ บั อากาศท่ีใชใ้ น

การเผาไหม้ใหส้ ูงพอท่ีจะทาใหต้ วั ขยะเกิดการลอยตวั บนวสั ดุ

ตวั กลางมีสภาพเหมือนของไหล การเผาไหม้ท่ีเกิดขึน้ ในขณะท่ี

ขยะ มี ส ภ าพเ ป็ นข อ ง ไหล ส ามาร ถเ พ่ิมปร ะ สิ ทธิ ภ าพการ เ ผ า

ไหม้ การถา่ ยเทความรอ้ นและการถ่ายเทมวลได้ ในทางปฏิบตั จิ ะ

46 มีการใส่ตัวกลางท่ีใช้ในเตาเผาเป็นแร่ควอทซห์ รือทรายแม่นา้
ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร ขยะมลู ฝอยจะตอ้ งถูกย่อยใหม้ ี

ขนาดเล็ก ตวั กลางและขยะมลู ฝอยจะถกู กวนผสมกนั ในเตาและ

ระบบการเตรียมเชอื้ เพลงิ เซลเซียส จากนนั้ ก๊าซรอ้ นท่ีเกิดขนึ้ จะถ่ายเทความรอ้ นใหแ้ ก่นา้ 47
เชือ้ เพลิงท่ีจะนามาใชน้ นั้ ตอ้ งมีขนาดท่ีเหมาะสมตาม ปราศจากแรธ่ าตทุ ่ถี กู ปอ้ นเขา้ ทอ่ ท่ีอย่รู อบๆผนงั หมอ้ ไอนา้ จนทา
ใหน้ า้ มีอณุ หภูมิสงู ขนึ้ และเดือดกลายเป็นไอสาหรบั ไอนา้ ท่ีผลิต
ขอ้ กาหนดของเตาเผา เพ่ือใหเ้ กิดการเผาไหมท้ ่ีสมบูรณ์ โดย ไดจ้ ะถูกป้อนเขา้ สู่เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าแบบกงั หนั ไอนา้ เพ่ือผลิต
เชือ้ เพลิงตอ้ งมีขนาดเล็กจึงสามารถลาเลียงผ่านสายพานและ กระแสไฟฟ้าตอ่ ไป
ทยอยป้อนเขา้ ส่หู อ้ งเผาไหมไ้ ด้ ซ่งึ ในโครงการนีท้ างบริษัทฯ ไดม้ ี
การจดั เตรียมเชือ้ เพลิงในแต่ละส่วนอย่ใู นอาคารปิด ซ่งึ อาคาร ระบบผลิตไฟฟ้าแบบกังหนั ไอนา้
เตรียมเชือ้ เพลิงดงั กล่าวจะอยู่ติดกับอาคารเก็บเชือ้ เพลิงในร่ม ไอน้าท่ีผลิตได้จากหม้อไอนา้ จะถูกส่งเข้าสู่เคร่ือง
(Indoor Fuel Storage House) เพ่ือเป็นการป้องกนั เสียงและฝ่ นุ
ท่ีจะเล็ดลอดออกไปสู่ภายนอก อาคารเตรียมเชือ้ เพลิงจึงถูก กาเนิดไฟฟ้าแบบกังหนั ไอนา้ ซ่งึ ทาหนา้ ท่ีเปล่ียนพลังงานท่ีได้
ออกแบบใหม้ ีผนงั คอนกรีตปิดมดิ ชิด เชือ้ เพลิงท่ีปอ้ นขนึ้ ส่เู ตาเผา จากไอนา้ ใหก้ ลายเป็นพลงั งานไฟฟา้ โดยไอนา้ ท่ีผลิตไดจ้ ากหมอ้
จะถูกลาเลียงดว้ ยสายพานลาเลียงคู่ จานวน 2 ชุด (สาหรบั ไอนา้ ถูกส่งไปขับเคล่ือนกังหนั ไอนา้ ซ่ึงมีแกนหมนุ เดียวกันกับ
เชือ้ เพลิง 2 ชนิด) พรอ้ มกบั มีฝาครอบมดิ ชดิ (Cover) เพ่ือปอ้ งกนั เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า ทาใหเ้ กิดการหมนุ ตดั กนั ของสนามแม่เหล็ก
ฝ่นุ ของเชือ้ เพลงิ กระจายไปในอากาศ ภายในเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ กอ่ ใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้าขนึ้ โดยโครงการ
ได้ติดตั้งเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอนา้ จานวน 1 ชุด
ระบบการเผาไหม้และการผลติ ไอนา้ สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 9.9 เมกะวัตต์ (Gross Power) ซ่ึง
ระบบการเผาไหมข้ องโครงการเป็นระบบ Circulating กระแสไฟฟ้า 9.0 เมกกะวัตตจ์ ะจาหน่ายใหแ้ ก่การไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาค ส่วนท่ีเหลือจะถูกนามาใชภ้ ายในโครงการไอนา้ ท่ีผ่าน
Fluidized-Bed (CFB) ซ่งึ เป็นเทคโนโลยีในการผลิตไอนา้ ท่ีมี เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าแบบกงั หนั ไอนา้ แลว้ จะถูกส่งเขา้ มาควบแน่น
กระบวนการควบคุมมลภาวะไดด้ ีก่อนปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ (Condenser) เพ่ือเปล่ียนรูปไอนา้ ใหก้ ลายเป็นนา้ คอนเดนเสท
เตาเผาแบบ Circulating Fluidized-Bed ทางานโดยอาศัย (Condensate Water) ก่อนกลบั มาใชเ้ พ่ือผลิตไอนา้ อีกครงั้ ทงั้ ท่ี
หลกั การท่ีอนภุ าคของแข็งท่ีรวมตวั เป็น Bed ในเตาเผาผสมเขา้ การควบแนน่ ไอนา้ จาเป็นตอ้ งคายความรอ้ นออกจากไอนา้ ดว้ ย
กับเชื้อเพลิงสาหรับการเผาไหม้ถูก ทาให้ลอยตัวขึ้น อัน
เน่ืองมาจากอากาศท่ีเป่ าเข้าด้านข้างทาให้มันมีพฤติกรรม เชือ้ เพลงิ สาหรับโครงการ ถกู แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้
เหมือนกบั ของไหล (Fluidization) และวสั ดทุ ่ีทา Bed ส่วนมาก (1) เชือ้ เพลงิ ทดแทนจากส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้
จะใชท้ รายซิลิกา หินปูน หรือวสั ดุเซรามิก โครงสรา้ งของระบบ
การเผาไหมป้ ระเภทนีด้ า้ นล่างของเตาเผาจะมี Plate Distributor ท่ีไม่เป็นของเสียอนั ตราย ซ่งึ เกิดจากกระบวนทางอุตสาหกรรม
ซ่งึ มีรูเล็กๆอยู่เป็นจานวนมากสาหรบั พ่นอากาศ สาหรบั การเผา หลายประเภท เช่น อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมบรรจุ
ไหมเ้ ชือ้ เพลิงท่ีป้อนเขา้ ไปจะเกิดลักษณะ Fluidization เสมือน ภณั ฑ์ อุตสาหกรรมยาง เป็นตน้ ทงั้ นีส้ ่ิงปฏิกูลหรือวสั ดุท่ีไม่ใช้
กบั ของเหลวกาลงั เดือดอยแู่ ละเผาไหมไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพสงู แลว้ ดงั กล่าว อาจจะไดแ้ ก่ของเสียจากวตั ถุดิบ ของเสียท่ีเกิดจาก
กระบวนการผลิต หรือ ของเสียท่ีเกิดจากผลิตภัณฑ์เส่ือม
วิธีการภายใน Fluidized-Bed จะมีการเผาไหม้ท่ี คุณภาพ โดยส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ดงั กล่าว จะตอ้ งไม่
อณุ หภมู ติ ่า ซง่ึ สามารถควบคมุ การเกิดออกไซดข์ องไนโตรเจนได้ เป็นของเสียอันตราย หรือ ปนเปื้อนสารอันตรายตามประกาศ
และหากมีการป้อนปนู ขาว (Lime Stone: CaCO3) เขา้ ไปร่วม ของภาครฐั รวมทงั้ ไม่เป็นขยะอินทรียวตั ถุ เชือ้ เพลิงประเภทนีจ้ ะ
เผาไหมก้ บั เชือ้ เพลิงดว้ ยจะทาใหส้ ามารถกาจัดกมั มะถนั ออกไป มีคา่ พลงั งานความรอ้ นท่สี งู มาก (Hight Heating Value: HHV)
ได้ (ลดไดออกไซดข์ องซลั เฟอร์ หรือ SOx) ความรอ้ นท่ีเกิดจาก
การเผาไหมก้ ็จะถกู ถ่ายทอดไปส่หู มอ้ ไอนา้ เพ่ือผลิตไอนา้ ต่อไป (2) เชือ้ เพลงิ ทดแทนจากส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้
หมอ้ ไอนา้ ของโครงการเป็นหม้อไอนา้ ท่ีใชเ้ ชือ้ เพลิงผสมในการ ท่ีไม่เป็นของเสียอันตราย ซ่งึ เกิดจากขยะชุมชนจาพวกขยะมูล
ผลติ ไอนา้ โดยเชือ้ เพลงิ จะถกู ปอ้ นเขา้ สหู่ อ้ งเผาไหมโ้ ดยสายพาน ฝอย รวมไปถึงเศษพลาสติก เศษไม้ เศษกระดาษ และเศษวสั ดุ
ลาเลียง อุณหภูมิเฉล่ียในหอ้ งเผาไหมป้ ระมาณ 850 องศา อ่ืนๆ จากขยะชุมชนท่ีไม่เป็นขยะอินทรียวตั ถุ และสามารถนามา

เป็นเชือ้ เพลิงได้ เชือ้ เพลิงดังกล่าวจะมีค่าความรอ้ นต่า (Low ลมเป็นแหล่งพลงั งานสะอาดชนดิ หนง่ึ ท่เี กิดขนึ้ เองตาม
Heating Value: LHV) ธรรมชาติ ไม่มีตน้ ทุนทางพลงั งาน ท่ีสาคญั พลังงานลม ใชไ้ ม่มี
วนั หมด และกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากลมยงั ไม่ปล่อยของเสียท่ี
ขอ้ ดี เป็นอันตรายต่อสภาพแวดลอ้ ม แต่การใชพ้ ลังงานลมเพ่ือการ
1. ใช้เชือ้ เพลิงไดห้ ลายชนิด โดยใช้เด่ียวหรือผสมท่ีมี ผลิตไฟฟ้าจะตอ้ งมีความเร็วลมสม่าเสมอ ทงั้ นีท้ างภาคกลาง
ตอนล่างและภาคใตข้ องประเทศเวียดนาม ถือว่าเป็นประเทศท่ีมี
คณุ ภาพแตกต่างกันมากไดเ้ พราะมีเวลาอยู่ในเบดนานจึง เผา ศักยภาพดา้ นพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงพลังงาน
ไหมไ้ ดส้ มบรู ณ์ แสงอาทิตยแ์ ละพลังงานลม ในส่วนของพลงั งานลม เวียดนาม
ไดร้ ับการประเมินจากธนาคารโลกว่ามีศกั ยภาพในการพัฒนา
2. เน่ืองจากอณุ หภูมิในเตาเผาต่า ทาใหล้ ดการกดั กร่อน ไฟฟา้ จากพลงั งามลมถงึ 27 กิกะวตั ต์ เน่ืองจากมีพืน้ ภมู ิประเทศ
และการเกาะของเถ้าหลอมเหลว บนพืน้ ผิวถ่ายโอนความรอ้ น ท่เี ป็นแนวชายฝ่ังยาว และดว้ ยศกั ยภาพดงั กล่าว จงึ ทาใหร้ ฐั บาล
(fouling) เวยี ดนามกาหนดใหจ้ งั หวดั นินหถ์ ่วนเป็นศนู ยเ์ ป็นศนู ยก์ ลางดา้ น
พลงั งานหมนุ เวยี นของประเทศ
ขอ้ จากดั
1. ระยะเวลาเรม่ิ จดุ เตาหรือหยดุ เดนิ เตานาน เทคโนโลยีกงั หนั ลม
2. การทางานของระบบป้อนผันแปรกับสมบัติของ เทคโนโลยีของกงั หนั ลมผลิตไฟฟ้าไดร้ บั การพัฒนาให้

เชือ้ เพลิงมาก สามารถผลิตไฟฟ้าไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยกังหนั ลม คือ
3. ไอนา้ เกิดการการสึกกร่อน (erosion) สูงจากการ เคร่ืองจกั รกลอย่างหน่งึ ถูกนามาใชส้ กดั พลงั งานจลนข์ องกระแส
ลม และเปล่ียนใหเ้ ป็นใหเ้ ป็นพลงั งานกล จากนนั้ จึงนาพลงั งาน
ปะทะของอนภุ าคและก๊าซ กลมาใชป้ ระโยชน์ กล่าวคือ เม่ือกระแสลมพดั ผ่านใบกังหนั จะ
4. ระบบจดั การกบั เถา้ ขนาดใหญ่ และยงุ่ มาก เกิดการถา่ ยทอดพลงั งานจลนไ์ ปส่ใู บกงั หนั ทาใหก้ งั หนั หมนุ รอบ
แกน สามารถนาพลังงานจากการหมนุ นีไ้ ปใชง้ านได้ โดยเคร่ือง
ธุรกิจผลิตและจัดจาหน่ายกระแสไฟฟ้าจากธุรกิจโรงไฟฟ้า กาเนดิ ไฟฟ้าท่เี ช่ือมตอ่ อยกู่ บั แกนหมนุ ของกงั หนั ลม
พลังงานลม (“Wind Energy”)
จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านระบบควบคุมไฟฟ้า และจ่าย
บริษัทถือหนุ้ ทางออ้ มผ่านบริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอรย์ ี กระแสไฟฟ้าเขา้ สู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟ้าท่ีผลิต ไดจ้ ะ
กรุ๊ป จากดั ดาเนินการโดยบรษิ ัท ซปุ เปอร์ วินด์ เอนเนอรย์ ี จากดั ขนึ้ อยกู่ บั ความเรว็ ของลม ความยาวของใบพดั และสถานท่ีติดตงั้
(“SWE”) เพ่ือลงทุนและพัฒนาธุรกิจผลิตและจัดจาหน่าย กงั หนั ลม
กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลงั งานลม และธุรกิจท่ีเก่ียวขอ้ ง ซ่งึ
หลงั จากท่บี รษิ ัทไดท้ าการศกึ ษาโครงการมาระยะหน่งึ ดว้ ยความ
มุ่งม่ันท่ีจะขยายธุรกิจการผลิตไฟฟ้านอกเหนือจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ และพลังงานความรอ้ นจากขยะ จึงไดเ้ ขา้ ลงทุนใน
ธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมท่ีประเทศเวียดนาม โดยมี
เป้าหมายแรกอยู่ท่ี 421 เมกะวัตต์ ทงั้ หมด 4 โครงการ โดย 2
โครงการ ปัจจุบนั กาลงั ก่อสรา้ ง ปริมาณขายไฟฟ้าจานวน 171
เมกะวตั ต์ ท่ีจงั หวดั Soc Trang และ Bac Lieu อย่ทู างตอนใต้
ของเวียดนาม ซ่ึงคาดว่าจะดาเนินการเชิงพานิชย์ได้ปลายปี
2564 และมีอีก 2 โครงการ ท่ีจงั หวดั Phu Yen และ Gia Lai ท่ี
กาลังอยู่ระหว่างดาเนินการด้านสัญญาก่อสรา้ ง ซ่ึงคาดว่าจะ

48 สามารถดาเนนิ การเชงิ พาณิชยไ์ ดช้ ่วงปลายปี 2564 เช่นกนั


Click to View FlipBook Version