The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nok pood, 2020-12-21 04:05:16

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

คำนำ

รายงานสรุปผลโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ฉบับนี้ เป็นการประมวล
สรุปผลการรับความคิดเห็นของประชาชนต่อผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และผู้แทนพรรคการเมือง
ฝ่ายค้านผ่านโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ประจาปี พ.ศ. 2563 ซึ่งจัดขึ้นระหว่าง
วันท่ี 15 สิงหาคม – วันที่ 26 กันยายน 2563 โดยผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้เปิดรับฟังปัญหา
ความเดือดร้อนของประชาชนซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ในภาคส่วนต่าง ๆ จานวน 4 คร้ัง คือ ครั้งท่ี 1 รับฟังความเดือดร้อนของภาคแรงงานใน
และนอกระบบ ณ กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 รับฟังความเดือดร้อนของผู้ประกอบกิจการภาคการท่องเที่ยว
และการบริการ ณ จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งท่ี 3 รับฟังความเดือดร้อนของภาคการเกษตร ณ จังหวัดหนองคาย
และคร้ังที่ 4 รับฟังความเดือดร้อนของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก ณ จังหวัดชลบุรี เพื่อรับทราบสภาพ
ปัญหาท่ีแท้จริงของประชาชน และแสวงหาแนวทางการแก้ไขปัญหาทั้งในด้านนโยบาย ด้านการแก้ไขปรับปรุง
หรอื ยกเลิกกฎหมาย และดาเนนิ การตามกระบวนการทางนิตบิ ัญญตั ิ

สาหรับรายละเอียดเนื้อหา ประกอบด้วย การกล่าวเปิดและปาฐกถาพิเศษของผู้นาฝ่ายค้าน
ในสภาผแู้ ทนราษฎร การเสวนาของวทิ ยากร ประเดน็ คาถามและขอ้ เสนอแนะของประชาชน ผลการประเมนิ โครงการ
และประมวลภาพการดาเนินโครงการ โดยกลุ่มงานผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร หวังเป็นอย่างย่ิงว่า
รายงานสรุปผลโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจศึกษา
ให้ได้รับทราบข้อมูลตามสมควร และสามารถใช้ประกอบการพัฒนาการจัดโครงการของส่วนราชการให้มี
ประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

กลมุ่ งานผนู้ าฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร
ธนั วาคม 2563



สารบัญ หนา้

คานา 1
บทนา โครงการผนู้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน 3
4
หลกั การและเหตุผล 4
วัตถปุ ระสงค์ 4
การดาเนินการ 4
คา่ ใช้จ่ายประจาปงี บประมาณ 2563 5
ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 5
ตวั ชี้วดั
การติดตามและประเมนิ ผล 7
10
ครั้งที่ 1 การรับฟังความเดือดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ 12
การกลา่ วเปดิ และปาฐกถาพิเศษ 17
สรุปการเสวนาของวิทยากร 21
ประเดน็ คาถามและข้อเสนอแนะของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการเสวนา
ผลการประเมินโครงการ 31
33
ครั้งที่ 2 การรับฟงั ความเดือดรอ้ นของผ้ปู ระกอบกิจการภาคการท่องเที่ยวและการบริการ 35
การกลา่ วเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ 43
สรุปการเสวนาของวทิ ยากร 46
ประเดน็ คาถามและข้อเสนอแนะของผเู้ ข้าร่วมโครงการเสวนา
ผลการประเมนิ โครงการ 54
57
ครั้งที่ 3 การรบั ฟงั ความเดอื ดร้อนของภาคการเกษตร 59
การกล่าวเปิดและปาฐกถาพิเศษ 63
สรปุ การเสวนาของวิทยากร 65
ประเด็นคาถามและข้อเสนอแนะของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการเสวนา
ผลการประเมินโครงการ 73

ครง้ั ที่ 4 การรับฟังความเดือดรอ้ นของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก 76
การกล่าวเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ
สรปุ การเสวนาของวิทยากร 78
ประเด็นคาถามและข้อเสนอแนะของผู้เข้ารว่ มโครงการเสวนา
ผลการประเมนิ โครงการ 85

89

สารบัญ

หนา้

ภาคผนวก

ประมวลภาพ คร้ังที่ 1 การรับฟังความเดอื ดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ 101

ประมวลภาพ ครั้งที่ 2 การรบั ฟังความเดือดร้อนของผู้ประกอบกิจการภาคการท่องเที่ยวและการบริการ 105

ประมวลภาพ ครั้งท่ี 3 การรับฟังความเดอื ดร้อนของภาคการเกษตร 109

ประมวลภาพ ครง้ั ท่ี 4 การรบั ฟงั ความเดือดร้อนของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก 113

บทนำ

|2|

โครงการผนู้ าฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎรพบประชาชน

1. หลกั การและเหตุผล
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กาหนดให้ผูน้ าฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสามารถ

แจ้งขอเปิดอภิปรายท่ัวไปในที่ประชุมรัฐสภา ในกรณีท่ีมีปัญหาสาคัญเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยหรือเศรษฐกิจ
ของประเทศ เพ่ือประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สามารถเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทว่ั ไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรฐั มนตรี เสนอญัตติ
ขอเปิดอภิปรายท่ัวไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ ต้ังกระทู้ถาม รวมทั้งการเสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ดังน้ัน ในการทาหน้าที่ของผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่าย
ค้าน จึงจาเป็นต้องได้รับทราบข้อมูลข้อเท็จจริงจากประชาชน เพื่อเป็นการเปิดรับฟังความคิดเห็น รวมถึง
ปัญหาความเดือนร้อนต่าง ๆ จากประชาชน ซึ่งจะทาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามารถนาปัญหาไปสู่แนว
ทางการแกไ้ ขตามกระบวนการทางนิตบิ ัญญตั ิต่อไป

ในปี พ.ศ.2563 เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ซ่ึงก่อให้เกิดผลกระทบและความเสียหายในวงกว้างแก่หลายประเทศทั่วโลก เช้ือไวรัสดังกล่าวแพร่ระบาด
อย่างรวดเร็ว โดยการป้องกันในระยะแรก ด้วยการเว้นระยะห่างทางสังคม สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยง
การอยู่ในท่ีชุมชนหรือสถานท่ีแออัด ซึ่งมาตรการทางสาธารณสุขดังกล่าว ทาให้สถานที่หลายแห่งปิดทาการ
ชั่วคราว ท้ังในโรงเรียน แหล่งชุมชน ตลาด ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า เกิดการทางานท่ีบ้าน (Work from Home)
และกิจกรรมต่าง ๆ มากมายถูกระงับ จึงส่งผลให้บุคคลหลายกลุ่มได้รับผลกระทบ ไม่สามารถประกอบอาชีพ
ได้ตามปกติและขาดรายได้ ซึ่งหากประชาชนไม่ได้รับการช่วยเหลือเยยี วยาหรือการช่วยเหลือไม่ท่ัวถึงเพียงพอ
ยอ่ มไดร้ ับความเดือดรอ้ นเป็นอย่างมาก

จากสถานการณ์ดังกล่าว ผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรตระหนักถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย
ในหลากหลายกลุ่ม และเห็นว่าจาเป็นต้องได้รับทราบข้อมูลท่ีแท้จริงจากประชาชนกลุ่มเปราะบางที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเปิดโอกาสให้
มีการรับฟังแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากภาคแรงงานในระบบและนอกระบบ กลุ่มผู้ประกอบกิจการภาคการ
ท่องเท่ียวและการบริการ ภาคการเกษตร และผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก ซึ่งจะนาไปสู่
การรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์สรุปประเด็นปัญหา เพ่ือเสนอต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกัน
ผลักดันการแก้ไขปัญหาท้ังในด้านนโยบาย การแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมาย และการดาเนินการตาม
กระบวนการนิตบิ ัญญัตติ อ่ ไป

ในการน้ี กลุ่มงานผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จึงได้จัด
โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชนข้ึน เพ่ือรับฟังปัญหาความเดือดร้อนจากประชาชนภาค
ส่วนต่าง ๆ ในแตล่ ะพื้นท่ี ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือ
เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน สร้างความเข้าใจอันดีต่อการปฏิบัติภารกิจการดาเนินงานของ
สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรพรรคการเมอื งฝา่ ยค้านใหม้ ากย่งิ ขึ้น

|3|

2. วัตถปุ ระสงค์
1) เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ได้รับทราบข้อมูลและข้อเท็จจริง

เกยี่ วกบั สถานการณ์สังคมและปญั หาตา่ ง ๆ จากประชาชนในพนื้ ที่
2) เพ่ือนาประเด็นปัญหาที่ได้รับไปสู่การแก้ไขผ่านกระบวนการทางนิติบัญญัติ โดยการตั้งกระทู้ถาม

การเสนอญัตติ และการปรึกษาหารอื ในการประชมุ สภาผู้แทนราษฎร
3) เพ่ือสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและเพ่ิมช่องทางให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรค

การเมืองฝา่ ยค้านได้ตรวจสอบการบรหิ ารราชการแผ่นดินมากขน้ึ

3. การดาเนนิ การ
กาหนดจดั โครงการผนู้ าฝา่ ยค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน จานวน 4 คร้งั ดังน้ี
ครั้งท่ี 1 การรับฟังความเดือดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์

กรุงเทพมหานคร วนั เสารท์ ี่ 15 สงิ หาคม 2563
ครั้งที่ 2 การรับฟังความเดือดร้อนของผู้ประกอบกิจการภาคการท่องเท่ียวและการบริการ ณ โรงแรม

ฮอลิเดย์ อินน์ เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ วันเสาร์ท่ี 29 สงิ หาคม 2563
คร้ังที่ 3 การรับฟงั ความเดือดร้อนของภาคการเกษตร ณ หอ้ งคอนเวนช่นั ฮอลล์ โรงแรมรอยลั นาคารา

และคอนเวนช่ันเซ็นเตอร์ หนองคาย จังหวดั หนองคาย วันเสารท์ ่ี 12 กันยายน 2563
คร้ังท่ี 4 การรับฟังความเดือดร้อนของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์

มิราจบีชรสี อร์ท พัทยา จังหวัดชลบุรี วนั เสารท์ ่ี 26 กันยายน 2563

4. คา่ ใช้จา่ ยประจาปีงบประมาณ 2563
งบประมาณ จากการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงาน

เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร

5. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
1) ทาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่ายค้าน มีโอกาสได้รับทราบข้อมูลและข้อเท็จจริง

เกี่ยวกบั สถานการณส์ ังคม และปัญหาตา่ ง ๆ จากประชาชนในพ้ืนที่
2) ทาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ได้นาปัญหาเข้าสู่กระบวนการทางนิติบัญญัติ

อาทิ การต้ังกระทู้ถาม การเสนอญัตติ และการปรึกษาหารือในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อแก้ไขปัญหา
ต่อไป

3) ทาให้เกิดการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและเพ่ิมช่องทางให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พรรคการเมืองฝา่ ยคา้ นไดต้ รวจสอบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เพิ่มมากขึ้น

|4|

6. ตวั ช้วี ดั
เชิงปริมาณ
มีประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน จานวนไม่น้อย

กวา่ ร้อยละ 80 ของจานวนกลุ่มเป้าหมายทง้ั หมด ในการจดั โครงการเสวนาแตล่ ะคร้งั
เชงิ คุณภาพ
1) สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรพรรคฝา่ ยค้าน ไดร้ ับทราบปัญหาของประชาชนภาคส่วนต่าง ๆ ในแตล่ ะพนื้ ที่
2) มีการนาประเด็นปัญหาเข้าสู่กระบวนการทางนิติบัญญัติ อาทิ การตั้งกระทู้ถาม การเสนอญัตติ

และการปรึกษาหารือในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
ต่อไป
7. การติดตามและประเมนิ ผล

1) ประเมินจากจานวนประชาชนกลมุ่ เป้าหมายทง้ั หมด ในการจัดโครงการเสวนาแต่ละครัง้
2) ประเมินผล โดยรวบรวมแบบสอบถามของประชาชนภาคส่วนตา่ ง ๆ ท่ีเข้ารว่ มโครงการเสวนา และวเิ คราะห์
เพอื่ หาข้อมูลทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ SPSS for Windows
8. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
กลุม่ งานผนู้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

|5|

|6|

ครั้งท่ี การรบั ฟังความเดือดรอ้ นของ
ภาคแรงงานในระบบและนอกระบบ
1

|8|

ครั้งที่ 1 การรับฟังความเดือดรอ้ นของภาคแรงงานในและนอกระบบ

สถานท่ี ระยะเวลา วนั เสาร์ท่ี 15 สงิ หาคม 2563
ณ โรงแรมรามาการเ์ ด้นส์ ถนนวิภาวดีรงั สิต กรุงเทพมหานคร

กลมุ่ เปา้ หมาย กลุม่ เปา้ หมาย คอื ตวั แทนภาคแรงงานในระบบและนอกระบบ และประชาชนท่ัวไปที่ไดร้ ับ
ผลกระทบวิกฤติเศรษฐกิจจากโควิด-19 จานวน 450 คน รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ
ผสู้ ังเกตการณ์ จานวน 50 คน

รปู แบบกจิ กรรม การเสวนาและรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน

กาหนดการโครงการผูน้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน

วันเสาร์ท่ี 15 สงิ หาคม 2563

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบยี นผูเ้ ข้าร่วมโครงการเสวนา/ช้ีแจงรายละเอยี ดการเขา้ รว่ มโครงการเสวนา

09.00 - 09.30 น. พิธเี ปิดและปาฐกถาพเิ ศษเร่ือง “ผลกระทบ ความเดือดรอ้ นของแรงงานไทย
จากวกิ ฤตโิ ควิด-19”
โดย นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ผูน้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร

09.30 - 14.00 น. เสวนาในหวั ข้อ “ฝ่ายค้านรับฟงั 4 กลุ่มเปราะบางจากวกิ ฤติโควดิ -19”
เปดิ รับฟงั ความคิดเห็น แลกเปลี่ยนปัญหาความเดือดรอ้ นกับประชาชน
คร้ังท่ี 1 : ความเดือดรอ้ นของแรงงานในและนอกระบบจากวกิ ฤติโควดิ -19
โดย วิทยากร

1. นายกติ ตริ ตั น์ ณ ระนอง รองหัวหนา้ พรรคเพ่ือไทย
2. นายสุเทพ อู่อน้ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการแรงงาน
พรรคก้าวไกล
3. นายแพทยเ์ รวัต วิศรุตเวช รองหัวหนา้ พรรคเสรีรวมไทย
4. พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ
5. นายสงคราม กิจเลศิ ไพโรจน์ หัวหน้าพรรคเพ่ือชาติ

6. นายนิคม บุญวเิ ศษ หัวหน้าพรรคพลงั ปวงชนไทย
7. นายศิโรตม์ คล้ามไพบลู ย์ ผู้ดาเนนิ รายการ

- การเปดิ รับฟังปัญหาความเดือดร้อนและข้อคดิ เห็นของประชาชน

ปดิ การเสวนา

*หมายเหตุ : ระหวา่ งเวลา 12.00 -13.00 นาฬกิ า รับประทานอาหารกลางวนั

|9|

การกล่าวเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ

นายสมพงษ์ อมรวิวฒั น์ ผ้นู าฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร

ครงั้ ที่ 1 การรับฟังความเดือดรอ้ นของภาคแรงงานในและนอกระบบ
ณ ห้องคอนเวนชั่น โรงแรมรามาการเ์ ดน้ ส์ ถนนวภิ าวดรี งั สติ กรุงเทพมหานคร

การจัดโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบ
ประชาชน มีผู้แทนพรรคการเมืองฝ่ายค้านเข้าร่วมการเสวนา
ประกอบด้วย หัวหน้าพรรคการเมืองฝ่ายค้านกรรมการบริหาร
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน และผู้มีเกียรติท่ีเข้าร่วมโครงการ โดย
วัตถุประสงค์ของการจัดเสวนาคร้ังนี้ เป็นแนวคิดร่วมกันของ
พรรคการเมืองฝ่ายค้านซ่ึงมีความเห็นว่าสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต้ังแต่
เดือนเมษายนท่ีผ่านมา ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนและประเทศชาติเป็นอย่างมาก ปัจจุบันต้องยอมรับว่า
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคยังคงมีอยู่แต่ลดลงไปอย่างมาก ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา รัฐบาล
จาเป็นต้องนางบประมาณจากส่วนต่าง ๆ มาใช้เพ่ือบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น จึงมีการตราพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไข
ปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) พ.ศ. 2563 หรือพระราชกาหนดเงินกู้ 1 ล้านล้าน ทั้งนี้ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการ
คลังของรัฐ พ.ศ. 2561 และประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ เร่ืองกาหนดกรอบในการ
บริหารหน้ีสาธารณะ พ.ศ.2561 กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลังให้หนี้สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศตอ้ งไม่เกินร้อยละ 60 แตห่ ลังจากท่ีรฐั บาล โดยกระทรวงการคลงั กู้เงนิ จานวนมากนั้น ทาให้ประเทศ
ไทยมีหนี้สาธารณะมากกว่าร้อยละ 58 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อีกทั้งประชาชนจาเป็นต้องนาแนวทาง
ปฏิบัติด้านสาธารณสุข มาเป็นแนวทางปฏิบัติในการดาเนินชีวิต เพื่อป้องกันมิให้ประเทศไทยมีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา
สาหรับวัตถุประสงค์ของการจัดเสวนาคร้ังน้ี พรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรเห็นว่า
จาเป็นท่ีผู้แทนพรรคการเมืองฝ่ายค้านจะต้องลงพ้ืนที่เพื่อรับฟังความคิดเห็น และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท่ีส่งผลกระทบ
ต่อความเดือดร้อนของประชาชนจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การดูแล การควบคุม
การดาเนินงานของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ใช้แรงงาน เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค รัฐบาลได้
ประกาศหยุดงานเพ่ือให้ประชาชนเว้นระยะห่างทางสังคม ลดการพบปะและสัมผัสระหว่างกัน โรงงาน
อุตสาหกรรมหลายแห่งจาเป็นต้องหยุดและปิดกิจการลง ร้านค้าและร้านอาหารไม่สามารถเปิดให้บริการได้
ตามปกติ ผู้ใช้แรงงานในกลุ่มต่าง ๆ ต้องหยุดการปฏิบัติงาน โดยไม่มีการชดเชยรายได้แก่ลูกจ้างหรือกลุ่มแรงงาน
สถานประกอบการได้รับผลกระทบและความเดือดร้อน และรัฐบาลพยายามผลักดันให้ผู้ใช้แรงงานที่ว่างงาน
หนั ไปประกอบอาชีพเกษตรกรในภูมลิ าเนาของตน โดยผูใ้ ช้แรงงานสว่ นใหญ่ไมม่ ีความถนัดและความเชยี่ วชาญ

| 10 |

ในอาชีพดังกล่าว ประกอบกับประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งและสินค้าเกษตรราคาตกต่าอย่างต่อเน่ือง
ทั้งน้ี รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 จะมีงบประมาณรองรับให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการในประเทศของตน ประมาณร้อยละ 50 - 80
แต่ผู้ประกอบการและผู้ใช้แรงงานของประเทศไทยกลับไม่ได้รบั การช่วยเหลือจากรัฐบาลอย่างทั่วถึง และพรรค
การเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งไม่มีอานาจหรือบังคับใช้กฎหมายหรือส่ังการให้รัฐบาลดาเนินการ
ตามท่ีต้องการได้ ดังนั้น จึงได้จัดโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชนขึ้น เพ่ือทาหน้าท่ีรับฟัง
ข้อมูลและข้อเท็จจริงเชิงลึกจากประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการการเสวนา และนาไปประมวลผลเป็นข้อสรุป
เสนอแนะตอ่ รฐั บาล เพื่อจะหาแนวทางและให้หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งแก้ไขปัญหาใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพต่อไป

| 11 |

สรุปการเสวนาของวิทยากร

ครั้งที่ 1 การรบั ฟงั ความเดือดรอ้ นของภาคแรงงานในและนอกระบบ

นายศโิ รตม์ คลา้ มไพบูลย์ ผ้ดู าเนินรายการ

โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ครั้งท่ี 1

กรุงเทพมหานคร เป็นโครงการรับฟังความเห็นของประชาชนภาคแรงงาน

ในและนอกระบบ ได้เชิญผู้แทนในแต่ละพรรคการเมืองฝ่ายค้าน มาแสดง

มุมมองวิสัยทัศน์การแก้ไขปัญหาภาคแรงงานในและนอกระบบ หลังจากนั้น

จ ะเปิ ด โอ ก า ส ให้ ผู้ เข้ า ร่ ว ม เส ว น า ได้ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เห็ น เก่ี ย ว กั บ ค ว า ม

เดือดร้อนและผลกระทบที่เกิดจากจากสถานการณ์โควิด-19 โดยเชิญ

ผู้แทนแตล่ ะพรรคการเมือง ดังต่อไปน้ี

1. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองหัวหนา้ พรรคเพ่ือไทย

2. นายสเุ ทพ อู่อน้ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการแรงงาน พรรคก้าวไกล

3. นายแพทย์เรวตั วศิ รุตเวช รองหวั หนา้ พรรคเสรรี วมไทย

4. พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธิการพรรคประชาชาติ

5. นายสงคราม กจิ เลิศไพโรจน์ หวั หนา้ พรรคเพ่ือชาติ

6. นายนิคม บญุ วิเศษ หวั หนา้ พรรคพลงั ปวงชนไทย

วิทยากรของผู้แทนพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ได้ตอบประเด็นคาถามท่ีเกี่ยวกับ
แรงงานในและนอกระบบจากวกิ ฤตโิ ควิด-19 โดยสรปุ ดังน้ี

ประเด็นคาถามท่ี 1 : การประเมินสถานการณ์ตลาดแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบ สภาวการณ์
ตกงานจานวนมหาศาล การเยียวยา การจ้างงานใหม่ และมาตรการของรัฐบาลที่เก่ียวกับแรงงานซึ่งได้รับ

ผลกระทบจากวกิ ฤตโิ ควดิ -19 แตล่ ะพรรคการเมืองมีการประเมนิ สถานการณ์ที่เกิดข้ึนอยา่ งไร

ประเด็นคาถามที่ 2 : การแก้ไขปัญหาการตกงานที่มีแนวโน้มสูงข้ึน มาตรการเยียวยา มาตรการสินเชื่อ
และการพกั ชาระหนีใ้ ห้กบั แรงงานน้ัน แต่ละพรรคการเมืองมแี นวคดิ หรอื ข้อเสนอเกย่ี วกับเรอ่ื งดังกล่าวอย่างไร

1. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง อดีตรองนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลัง

ประเทศไทยมีระบบโครงสร้างเศรษฐกิจที่พ่ึงพากลไกทางเศรษฐกิจท่ีมาจาก
ภายนอกมาก ตั้งแต่ภาคการส่งออก ซ่ึงมีขนาดร้อยละ 70 ของ GDP รวมท้ัง
ภาคการท่องเท่ียว ซ่ึงเป็นกาลังสาคัญในการสร้างงานแขนงต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
โดยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
เปน็ วกิ ฤติท่ีเกดิ ขนึ้ ท่ัวโลกจะมีความแตกตา่ งจากวกิ ฤติต้มยากุ้ง เมื่อปี พ.ศ.

| 12 |

2540 ส่งผลให้กาลังซื้อภายในประเทศลดน้อยลง และการค้าขายระหว่างประเทศได้รับผลกระทบด้วย
เช่นเดียวกัน โดยรัฐบาลจะต้องทุเลาส่ิงที่เป็นผลกระทบ ต้องสร้างความเชื่อมั่นเพ่ือพยุงระบบเศรษฐกิจให้เกิด
ความมั่นคง โดยจาเป็นต้องใช้งบประมาณเป็นกลไกสาคัญ และจากประสบการณ์ท่ีเคยดูแลรับผิดชอบ ด้าน
เศรษฐกิจ เมื่อช่วงปี พ.ศ. 2554 - 2557 นโยบายการคลังหรือการใช้จ่ายงบประมาณเป็นกลไกสาคัญทาให้
ระบบเศรษฐกิจขับเคลื่อนได้ หากรัฐบาลมีการใช้จ่ายงบประมาณแล้วสามารถเกิดประโยชน์ต่อทุกฝ่าย โดย
จานวนเงินงบประมาณที่ลงทุนของรัฐบาล จะสามารถสร้างมูลค่าการลงทุนได้อย่างมหาศาลและสามารถทาให้
มูลค่าการลงทุนได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน ท้ังนี้ หากรัฐบาลมีการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวให้เกิด
ประสิทธิภาพจะสามารถกระจายงบประมาณให้กับประชาชนได้อย่างทั่วถึง และหากหัวหน้าทีมเศรษฐกิจของ
รัฐบาลรู้จักหลักการทางเศรษฐศาสตร์ที่ดีจะสามารถนางบประมาณไปใช้ในการสร้างงาน มีการหมุนเวียน
เกี่ยวกับรายได้ และมีกิจกรรมหรือโครงการท่ีรองรับงบประมาณ เพ่ือให้วิกฤติเศรษฐกิจคร้ังน้ีได้รับผลกระทบ
นอ้ ยลง

แต่จากการประเมินระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย คาดว่าจะได้รับผลกระทบระยะยาวถึงปี 2565
และมีจานวนคนตกงาน ประมาณ 8 ล้านคน ซ่ึงระบบเศรษฐกิจจะหมุนเวียนได้จากการใช้จ่ายงบประมาณของ
รัฐบาล ชว่ งระยะเวลาทเ่ี ศรษฐกจิ ชะลอตวั จะมกี ารลดจานวนบคุ ลากรและในบางธุรกิจหยุดการจ่ายคา่ ตอบแทนหรือ
รายได้ หากประชากรรายได้ลดลงจะได้รบั ผลกระทบจากการใช้จ่ายอย่างต่อเน่ือง ทาให้วงจรด้านเศรษฐกิจได้รับ
ผลกระทบเช่นเดียวกัน ทั้งน้ี หากรัฐบาลขาดการบริหารจัดการด้านงบประมาณท่ีดีจะทาให้มีคนตกงานเป็น
จานวนเพ่ิมมากข้ึน ทาให้ชะลอการเติบโตด้านธุรกิจของบางภาคลดลงด้วยเช่นกัน โดยแนวทางหรือวิธีการแก้ไข
ปัญหาดังกล่าวจะต้องสร้างงาน หรือท่ีเรียกว่า “New Normal” กระแสสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
จาเป็นต้องสร้างแง่มุมของระบบเศรษฐกิจใหม่ ต้องแก้ไขระบบ เพ่ือให้คนตกงานลดน้อยลง ลดการสูญเสีย
รายได้ของแรงงานท่ัวประเทศ หากรัฐบาลมีความจริงใจในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจะสามารถช่วยลดปัญหา
การตกงานและสามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้กับแรงงานได้ ซึง่ จะเป็นการบรหิ ารใหเ้ กิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพแทจ้ ริง

2. นายสุเทพ อู่อน้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

สถานการณ์การจ้างแรงงานในระบบ ประมาณ 12 ล้านคน และ
แรงงานนอกระบบ ประมาณ 20 ล้านคน โดยปัจจุบันวิกฤติการณ์แรงงาน
ท่ีเกิดข้ึน มีคนตกงานจานวนเพิ่มมากขึ้น และการประกาศใช้กฎกระทรวง
การได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงานเน่ืองจากมีเหตุสุดวิสัยอันเกิด
จากการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ
พ.ศ. 2563 โดยให้ได้รับตลอดระยะเวลาท่ีลกู จา้ งซ่งึ เป็นผู้ประกนั ตนไม่ได้
ทางาน หรือนายจ้างไม่ให้ทางานแต่ไม่เกิน 90 วัน ท้ังน้ี มีผลใช้บังคับ
ต้ังแต่วันที่ 1 มีนาคม - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2563 หรือตามระยะเวลาที่
รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซ่ึงการดาเนินการข้างต้นส่งผลกระทบให้
สถานประกอบการหลายแห่งปดิ กิจการ และลูกจ้างถกู ยกเลิกสัญญาจา้ ง จานวนกว่า 2 ล้านคน

| 13 |

สาหรับแรงงานนอกระบบ ประมาณ 2 ล้านคน อาทิ ภาคการเกษตร ภาคการประมง ภาคแรงงาน
รับจ้าง และการบริการด้านต่าง ๆ ตกงานจานวนมาก กลุ่มบุคคลดังกล่าวไม่ได้รับความช่ วยเหลือ
โดยตัวเลขที่รัฐบาลนาเสนอต่อสาธารณชนนั้นเป็นเพียงสถิติตัวเลขของแรงงานในระบบเท่าน้ัน ซ่ึงเป็นข้อมูล
จากสานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ท่ีมิได้นาตัวเลขสถิติของแรงงานนอกระบบมาประกอบการ
พิจารณาด้วย ดังน้ัน คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร จึงได้ลงพื้นท่ีเพื่อติดตาม ตรวจสอบข้อมูล
ข้อเท็จจรงิ ของแรงงานทไ่ี ด้รับผลกระทบดังกล่าว พบว่า แรงงานส่วนใหญ่ตกงานเปน็ จานวนมาก และเม่ือกลับ
ภูมิลาเนาก็ไม่มีอาชีพรองรับอย่างชัดเจน แรงงานบางคนจะประกอบอาชีพเกษตรกร แต่ไม่สามารถทาได้
เน่ืองจากพื้นทีป่ ระสบปญั หาภัยแล้ง ไม่มแี หลง่ น้ารองรับการเกษตรอย่างย่ังยนื ทั้งนี้ ภาครัฐให้ความช่วยเหลือ
เยียวยาภาคการท่องเที่ยวได้เพียงร้อยละ 30 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 60 เท่าน้ัน ซ่ึงการบริหารจัดการของ
รัฐบาลในช่วงที่ผ่านมา ไม่ได้มีการเจรจาให้ความช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานในระบบและนอกระบบ ประกอบกับ
ภาครัฐได้นาเงินประกันสังคมมาใช้ในการบริหารประเทศ รวมท้ังรัฐบาลยังค้างจ่ายเงินสมทบให้กับระบบ
ประกันสังคมอีก

3. นายแพทยเ์ รวัต วศิ รุตเวช สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร

พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 เป็นการประมาณการจานวนงบประมาณเดิมที่ไม่ได้สะท้อน
การแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์วิกฤติการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีเกิดขึ้น ส่งผลให้การ
ประมาณการรายได้และผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศลดลง (Gross
Domestic Product : GDP) แต่เพิ่มหน้ีสาธารณะสูงขึ้น ซึ่งส่งผลต่อ
ปัญหาด้านระบบเศรษฐกิจท่ีรุนแรงอย่างมาก ทั้งนี้ พระราชบัญญัติวินัย
การเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 และประกาศคณะกรรมการนโยบาย
การเงินการคลังของรัฐ เรื่องกาหนดกรอบในการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.2561 กาหนดว่าสัดส่วนหนี้
สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ต้องไม่เกินร้อยละ 60 โดยสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
(สปน.) ได้แถลงว่า การกู้เงินอาจจะมากกว่าร้อยละ 60 ได้ ซ่ึงการให้ข้อมูลข้างต้นสะท้อนถึงการบริหารงาน
ของรัฐบาลที่คาดว่าจะมีแผนการกู้เงินเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต ซึ่งรัฐบาลในชุดปัจจุบันได้สร้างภาระหน้ีสิน
และความยากจนให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก

| 14 |

4. พนั ตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ

รัฐบาลกาลังเผชิญปัญหาด้านข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่ผ่านมา รฐั บาลได้มนี โยบายให้เงินเยยี วยาแรงงานนอกระบบ แต่ข้อมูล
สถิติตัวเลขทางสังคมไม่มีความชัดเจน ประกอบกบั กระทรวงการคลังได้
ให้ข้อมูลว่า ภาครัฐได้เยียวยาแรงงานนอกระบบ จานวน 15.3 ล้านคน
คนละ 5,000 บาท โดยเงินเยียวยาดังกล่าวไปยังกลุ่มเป้าหมายหลักคือ
เกษตรกร ซ่ึงหลักเกณฑ์การเยียวยาให้ความชว่ ยเหลือกบั กลุ่มเปา้ หมาย
ควรมีฐานข้อมูลท่ีชัดเจน เพ่ือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนได้ตรงตาม
วตั ถุประสงคอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ

สาหรับการจัดสรรงบประมาณ ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ส่วนใหญ่เป็นเงินเดือนและเงินบาเหน็จบานาญของข้าราชการ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า งบประมาณ
ดังกล่าวไม่ได้ลงสู่ประชาชนอย่างแท้จริง แต่กลับสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบงานราชการเท่านั้น ประกอบ
กบั ปัจจุบันรัฐบาลได้ซ้ือไฟฟ้าจากภาคเอกชนในราคาแพง ทาให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากการดาเนินงาน
ดังกล่าว ซึ่งรัฐบาลจะเน้นความสาคัญเร่ืองความม่ันคงของรัฐบาลเป็นหลักมากกว่าความม่ันคงของประเทศ
และความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนเรื่องหน้ีสินของแรงงานที่มีมากถึงร้อยละ 92 ส่วนใหญ่เป็นหน้ีสิน
เรื่องอุปโภคบริโภคและที่พักอาศัย สาหรับภาคการเกษตร มีหน้ีสินมากกว่าร้อยละ 80 ดังน้ัน ภาครัฐ
จาเป็นต้องมีการสงเคราะห์งบประมาณให้ความช่วยเหลือด้านความเป็นอยู่และด้านสาธารณสุข โดยคานึงถึง
“การอยู่รอดของมนุษย์ ย่อมสาคัญกว่ากฎหมาย” ซ่ึงเป็นการให้สิทธิท่ีมีความเสมอภาคกันทั่วหน้าและท่ัวถึง
ของประชาชนอยา่ งแท้จรงิ

5. นายสงคราม กิจเลศิ ไพโรจน์ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร

รฐั บาลจะมีแนวคิดแบบระบบราชการ เน่ืองจากรัฐบาลมาจาก
ข้าราชการเป็นส่วนใหญ่ จึงไม่ได้คานึงถึงความเป็นอยู่ของประชาชนเป็น
สาคัญ และปัจจุบันมีผู้ประกอบการบางส่วนที่สามารถเปิดกิจการได้
เน่ืองจากมีการพักชาระหน้ีและดอกเบี้ย แต่หลังจากเดือนตุลาคมเป็นต้นไป
กลุ่มผู้ประกอบการจะต้องกลับเข้าสู่การชาระหนี้และชาระดอกเบี้ยตาม
ระบบปกติ หากผู้ประกอบการได้รับผลกระทบเป็นจานวนมากจะทาให้
เกิดสินเชื่อที่ค้างชาระเงินต้น หรือท่ีเรียกว่าหนี้เสีย (Non-Performing
Loan : NPL) ทั้งน้ี หากรัฐบาลไม่ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดข้ึนและไม่มีการแก้ไขให้ถูกต้อง อาจส่งผลให้ประเทศไทย
ล้มละลายได้ ดังนั้น ภาครัฐจาเป็นต้องหาแนวทางการเยียวยาให้ความช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบการ
และกลุ่มแรงงานในระบบและนอกระบบด้วย

| 15 |

6. นายนิคม บญุ วเิ ศษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

รัฐบาลจาเป็นต้องจัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้กับประชาชน
อย่างท่ัวถึง เน่ืองจากที่ผ่านมานโยบายของรัฐบาลเข้าไม่ถึงพ้ืนท่ีชนบท
ทาให้แรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก
และไม่มีแหล่งเงินทุน เพราะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs) ท้ังน้ี กลุ่มแรงงานนอกระบบซ่ึงผู้ประกอบการเป็น
ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีจานวนมากถึง 20 ล้านคน หรือ
ร้อยละ 43 ของ GDP แต่เป็นกลุ่มที่รัฐบาลให้ความสาคัญน้อยมาก
เน่ืองจากรัฐบาลจะเน้นท่ีกลุ่มนายทุนท่ีสนับสนุนรัฐบาลเท่านั้น ดังน้ัน รัฐบาลจาเป็นต้องปรับแนวคิดการ
บริหารจัดการโดยสนับสนุนให้ประชาชนสร้างงานและสร้างอาชีพก่อน ตลอดจนสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ
ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีอาชีพและรายได้โดยการให้สนิ เช่ือดอกเบ้ียต่าเพื่อเป็นการสร้างขวัญ
และกาลังใจให้กบั กลมุ่ ดงั กลา่ ว

| 16 |

ประเดน็ คาถามและข้อเสนอแนะของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเสวนา

คร้งั ท่ี 1 การรบั ฟังความเดือดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ

1. กลุ่มอาชพี ผู้ขับขรี่ ถสาธารณะแท็กซ่ี
1.1 ปัญหาการปฏิเสธลูกค้าของแท็กซี่ส่วนใหญ่เกิดจากรถแท็กซ่ีเก่า จึงไม่สามารถวิ่งไปส่งผู้โดยสาร

ในเมืองได้ เพราะเกรงว่าจะถูกเจ้าหน้าที่ตารวจจับกุม และแท็กซี่เหล่าน้ีไม่ใช่แท็กซี่ปกติท่ีถูกกฎหมายทั่วไป
ทาใหเ้ กดิ ภาพลักษณท์ ไี่ มด่ ตี อ่ แท็กซี่ท่ีปฏิเสธการรับผู้โดยสาร

1.2 รถแท็กซ่ีที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายผขู้ ับขี่จะแตง่ กายไม่ถูกต้องตามระเบียบและไมเ่ รียบร้อย อีกท้ัง
รถแท็กซ่ีดังกล่าวไม่มีพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ไม่มีการประกันอุบัติเหตุรองรับ
ผูโ้ ดยสาร ดังนน้ั หากเกดิ อบุ ตั ิเหตขุ ึ้นกอ็ าจจะสง่ ผลให้ผู้โดยสารไดร้ ับความเดือดรอ้ นได้

1.3 การติดต้ังอุปกรณ์แท็กซี่ตามโครงการ Taxi OK หรือ Taxi VIP ซ่ึงไม่มีประสิทธิภาพ เป็นการ
สร้างภาระให้คนขับแท็กซ่ี และเอื้อผลประโยชน์ให้แก่นายทุน แต่หากมองว่าอุปกรณ์ดังกล่าวตอบโจทย์ของ
สังคมวา่ เป็นความปลอดภยั กค็ วรเอาภาษีสังคมมาจ่ายแทน ไมค่ วรผลกั ภาระใหค้ นขบั รถแทก็ ซี่

1.4 ควรออกกฎหมายคุ้มครองผู้ประกอบอาชีพขับรถแท็กซ่ีเป็นอาชีพอนุรักษ์ และควรออกกฎหมาย
คมุ้ ครองไม่ให้เกิดการแข่งขันทางอาชพี เน่ืองจากการมแี ท็กซ่ีป้ายดามตี ้นทุนต่างจากแท็กซี่ที่ถูกกฎหมาย เพราะ
คนขับรถแทก็ ซท่ี ถี่ กู กฎหมายจะตอ้ งอบรมและสอบใบขบั ข่ี เพื่อจะได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี

1.5 ควรพิจารณาเรื่องการขอขยายอายุการใช้งานรถสาธารณะแท็กซ่ีจาก 9 ปี เป็น 12 ปี ซ่ึงกลุ่มอาชีพ
ผูข้ บั ขรี่ ถสาธารณะแทก็ ซเี่ สนอมา 3 ปีแล้ว แตย่ งั ไม่ผา่ นการพจิ ารณา

1.6 จากช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีผ่านมา
ผู้ประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ขาดรายได้จานวนมาก และการท่องเที่ยวยังไม่ฟ้ืนตัวเท่าท่ีควร แต่บริษัท ปตท. จากัด
(มหาชน) ข้ึนราคาค่าก๊าซ NGV ประมาณ 3 บาท ประกอบกับมีการพักชาระหนี้ของไฟแนนซ์ จานวน 6 เดือน
และ 3 เดือน แต่ดอกเบี้ยไม่ได้หยุดพักด้วย ซึ่งดอกเบ้ียแท็กซ่ีจะแพงกว่ารถธรรมดา แท็กซี่จา่ ยดอกเบี้ยร้อยละ
15-35 และดอกเบี้ยค่าปรับ ดอกเบ้ียล่าช้า ค่าติดตามทวงถาม ซ่ึงราคาซื้อรถแท็กซ่ี 1 คัน ประมาณ 1.8 ล้านบาท
แต่พอครบ 9 ปี กลับขายรถไดเ้ พียง 50,000 บาท เทา่ นัน้

| 17 |

2. กลมุ่ อาชพี ผขู้ ับขรี่ ถจักรยานยนต์รับจา้ ง

2.1 รัฐบาลควรสรา้ ง Application เพ่ือยกระดับอาชีพผู้ขับขรี่ ถจักรยานยนต์รบั จา้ งไมใ่ ห้ถูกหักเงินจาก
นายหน้าหรือถูกครอบงาด้วยบริษัทเอกชน เน่ืองจากช่วงท่ีผ่านมาวินมอเตอร์ไซค์ในกรุงเทพมหานคร มีประมาณ
200,000 คัน สามารถรับ-ส่งผู้โดยสารวันละ 8-10 ล้านคน คนกลุ่มนี้เมื่อมีรายได้มาก็ใช้ไปในแต่ละวันทาให้เกิด
การหมุนเวียน ซง่ึ คดิ เปน็ เงินมลู ค่ากวา่ 200 ลา้ นบาทตอ่ วัน และประมาณ 70,000 กวา่ ล้านตอ่ ปี

2.2 ควรออกระเบียบหรือกฎหมายท่ีช่วยเหลือหรือเอื้อต่อกลุ่มอาชีพผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง
เพราะกลุ่มอาชีพดังกล่าวไม่สามารถเข้าถึงเงินช่วยเหลือของรัฐบาลได้ หรือผู้ท่ีได้รับเงินช่วยเหลือแล้ว
ก็ไมเ่ พยี งพอต่อการดารงชวี ติ จงึ ควรมีระเบียบหรือกฎหมายรองรบั เฉพาะกลุม่

2.3 กลมุ่ ผู้ขับข่ีรถจกั รยานยนต์รับจ้างไม่สามารถเข้าถึงโครงการพักชาระหนี้ได้ เพราะบริษัทไฟแนนซ์
ท่ีกู้เงินมาซ้ือรถเป็นบริษัทขนาดเล็กไม่ได้อยู่ในโครงการ ส่งผลให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้างถูกยึดรถจานวน
มากเพราะเข้าใจวา่ ได้รับการพกั ชาระหนตี้ ามโครงการของรัฐบาล

3. กลมุ่ อาชีพผคู้ ้าหาบเร่แผงลอย

3.1 ต้ังแต่กรุงเทพมหานครมีนโยบายจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยในปี พ.ศ. 2559-2563 ก็ได้รับความ
เดือดร้อนมาตลอด เพราะไม่มีพื้นที่ทามาหากิน ทั้งท่ีกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายให้กรุงเทพมหานครและ
ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร ดูแลกลุ่มผ้คู ้าหาบเร่แผงลอยโดยใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล และมหี นังสือจากกระทรวงมหาดไทย
ให้จัดระเบียบผู้ค้าและคุ้มครองผู้บริโภค แต่กรุงเทพมหานครมิได้ดาเนินการใด ๆ ท้ังน้ี ผู้ค้าหาบเร่แผงลอย
มคี วามประสงค์เพียงพ้ืนทคี่ า้ ขายทามาหากนิ เทา่ นัน้

3.2 ต้ังแต่มีนโยบายของรัฐบาล ทบทวนเกี่ยวกับ Street food แต่จนถึงบัดนี้รัฐบาลยังไม่มีการ
ดาเนินการใด ๆ ท่ีเป็นรูปธรรม ประกอบกับรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีนโยบายจะยกเลิกหาบเร่แผงลอย
บางส่วน ซึ่งส่งผลกระทบให้ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยขาดรายได้ และในขณะนี้ประเทศไทยประสบปัญหาสภาพ
เศรษฐกิจตกตา่ จากสถานการณ์ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) อีกดว้ ย

4. กลมุ่ ผขู้ ับข่ีขนส่งอาหารผ่าน Application
4.1 การขับขี่ขนส่งอาหารผ่าน Application เป็นอาชีพอิสระและอาชีพเสริม แต่ถ้าคนขับข่ีคนใด

เปิด-ปิดในการรับงานบ่อย ๆ ก็ถูกหักเงินจาก Application ดังกล่าวได้ ซึ่งระบบนี้จะไม่สอดคล้องกับการ
ประกอบอาชพี อสิ ระหรืออาชีพเสรมิ

4.2 การดูแลสวัสดิการของ Application เช่น กรณีเม่ือเกิดอุบัติเหตุ ทาง Application จะให้ผู้ขับข่ีรับเงิน
ชดเชยจากพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยสารองจ่ายไปพลางก่อน และส่วนเกินทาง
Application จะช่วยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้ แต่ในทางปฏิบัติ ผู้ขับข่ีขนส่งอาหารไม่เคยได้รับเงินช่วยเหลือใด ๆ จาก
Application เลย

| 18 |

4.3 การสั่งซ้ืออาหารผ่าน Platform ร้านค้าจ่ายเข้า Platform ร้อยละ 30 ส่วนลูกค้าจ่ายค่าส่ง
แต่ Platform จ่ายค่าส่งให้ผู้ขับขี่ขนส่งอาหารเพียงครึ่งเดียว โดยในต่างจังหวัดมีระยะทางการขนส่งอาหาร
ประมาณ 5-8 กิโลเมตร ประกอบกับส่ังอาหารแล้วต้องรออีกอย่างน้อยประมาณ 30 นาที ถึงจะได้สินค้าแล้ว
นาไปจัดส่งแก่ลูกค้าได้ โดยมีการคิดค่าส่งเพียง 15 บาทต่อรอบเท่าน้ัน ทาให้กลุ่มผู้ขับข่ีขนส่งอาหารผ่าน
Application ไดร้ บั คา่ จ้างที่ไม่เปน็ ธรรมและถูกกดราคาเปน็ อย่างมาก

5. กลุม่ ผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากดอกเบยี้ ธนาคาร
5.1 ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ควรมีการเปิดเผยข้อมูลให้กับประชาชนได้รับทราบเก่ียวกับตัวเลขอัตรา

ดอกเบย้ี การพกั ชาระหน้ีให้มคี วามชัดเจนมากยิ่งข้นึ
5.2 การปรับเปล่ียนหลักเกณฑ์อัตราดอกเบ้ียต่าง ๆ ของธนาคารพาณิชย์ ควรมีการออกประกาศและ

เผยแพรผ่ า่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ กอ่ นล่วงหน้า 30 วนั แลว้ จงึ จะสามารถเก็บดอกเบย้ี ลูกหนี้ได้ แตป่ ัจจุบันธนาคาร
พาณชิ ย์ไมม่ ีการจัดทาประกาศหรือเผยแพรข่ ้อมลู ข้างต้นอย่างชดั เจน

5.3 สัญญาเช่าซอ้ื อยู่ภายใต้ประกาศคณะกรรมการวา่ ด้วยสัญญา ซ่ึงมีอัตราดอกเบ้ียเชา่ ซ้ือ โดยอาศัย
อานาจตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ได้แก่ 1) เงินค่าปรับ 2) ค่าติดตาม
ทวงถาม และ 3) คา่ ใช้จา่ ยอ่ืนใด แตป่ ัจจบุ นั ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ใชค้ าว่าดอกเบ้ียพักชาระหน้ี ซ่งึ ไม่ได้มีกาหนด
ไว้ในพระราชบัญญัติฉบบั ดงั กลา่ ว และไมไ่ ด้กาหนดให้ธนาคารเรียกเก็บดอกเบย้ี โดยใชค้ าว่าพักชาระหนี้ได้

5.4 สญั ญาเชา่ ซอื้ รถเปน็ สัญญาทม่ี ีลักษณะเฉพาะ ราคารถจะคานวณจากราคาขายหักลบด้วยเงนิ ดาวน์
จานวนที่เหลือจึงจะนามาคิดดอกเบี้ยตามจานวนปีที่ผ่อนชาระเม่ือยอดท้ังหมดรวมกันจะถูกบวกด้วย
ภาษมี ลู ค่าเพิม่ ส่งผลให้ราคาตน้ ทนุ ของรถราคาสงู ขนึ้

5.5 ความไม่เป็นธรรมของธนาคารพาณิชย์ เช่น การส่งค่างวดรถ จานวน 16,000 บาท ถ้าไม่จ่ายจะมี
ค่าปรับรายวัน วันละ 8 บาท จานวน 30 วัน เท่ากับ 240 บาท ค่าทวงถาม 214 บาท ซ่ึงใน 1 งวด จะโดนค่าปรับ
ไมเ่ กิน 500 บาท แต่เมื่อมโี ครงการพกั ชาระหนี้ จะเสียเดือนละ 5,000 บาท เพ่ือแลกกับการท่ีธนาคารไม่สง่ ชื่อ
ลกู หนี้เขา้ เครดติ บูโร คือ 10 เทา่ ของดอกเบ้ีย เป็นตน้

6. กลมุ่ ลกู จา้ งในระบบ
6.1 ภาครัฐควรเยียวยาและให้ความช่วยเหลือคา่ ใช้จ่ายกับพนักงานทถ่ี ูกลดค่าจ้างหรือมีรายไดต้ ่ากว่า

5,000 บาทต่อเดือน ซึ่งมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดารงชีวิต ท้ังน้ี เพ่ือให้ลูกจ้างได้รับเงินเดือนเพิ่มเติมอย่าง
ทวั่ ถงึ และเป็นธรรม

6.2 รฐั บาลหรอื หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งควรจดั ต้ังกองทุนเงินเกษยี ณอายุให้กบั กลุ่มลกู จ้างในระบบ เพ่ือให้สามารถ
นาเงนิ ดังกล่าวมาใชจ้ า่ ยชว่ ยเหลอื กลุ่มลกู จา้ งท่ีไดร้ บั ความเดือดร้อนได้
7. กลุ่มผรู้ ับงานไปทาทีบ่ ้าน

7.1 ปัจจุบันผู้รับงานไปทาที่บ้านได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก เน่ืองจากผู้ประกอบการไม่มีรายการสั่ง
สินค้าจากลูกค้า ทาให้ผู้รับงานไปทาที่บ้านไม่มีงานและรายได้ท่ีชัดเจน ประกอบกับภาครัฐมีฐานข้อมูลอาชีพ

| 19 |

ของประชาชนผิดพลาดและมีความคาดเคลื่อนของข้อมูลส่วนบุคคล เช่น กลุ่มผู้รับงานไปทาที่บ้านเป็นคนมี
อาชีพ เป็นเจ้าของกิจการ ทาให้กลุ่มบุคคลดงั กล่าวต้องเสียเวลาไปอทุ ธรณ์และชี้แจงต่อภาครัฐว่าเป็นบุคคลท่ี
ไมม่ ีอาชีพ และส่งผลให้ไดร้ ับเงินชว่ ยเหลอื ล่าช้า

7.2 ผู้ประกอบการหรือนักธุรกิจจากต่างชาติ ละเลยการใส่ใจดูแลแรงงานในประเทศ โดยบริหาร
จัดการไม่มีประสิทธิภาพปลอ่ ยให้แรงงานในระบบกลายเปน็ แรงงานนอกระบบ
8. ประเดน็ ดา้ นอ่นื ๆ

8.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบต่อ
ประชาชนในประเทศ รวมถึงกลุ่มพระสงฆ์ ดังนั้น ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรให้ความช่วยเหลือและ
บรรเทาความเดือดร้อนใหก้ ลมุ่ พระสงฆ์ดังกล่าวอยา่ งท่ัวถึงดว้ ย

8.2 ควรจัดเวทีเสวนาเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพ่ือประชาชนได้มีส่วนร่วมในการเสนอแก้ไข
รฐั ธรรมนญู

8.3 ควรเร่งแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกจิ ปัญหาหนี้สินครวั เรือน หน้ีนอกระบบ ความเป็นอยู่ของประชาชน
เพอ่ื ให้ประชาชนมรี ายได้ ลดการเกิดโจรกรรม และลดปัญหายาเสพติด

| 20 |

ผลการประเมินโครงการผ้นู าฝา่ ยคา้ นพบประชาชน

คร้งั ท่ี 1 การรับฟังความเดือดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ

ผลการสารวจความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเข้าร่วมโครงการเสวนา คร้ังท่ี 1 การรับฟัง
ความเดือดร้อนของภาคแรงงานในและนอกระบบ จากผู้ตอบแบบถาม จานวน 293 คน เม่ือวิเคราะห์ข้อมูล
ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม และความพึงพอใจตอ่ โครงการ มผี ลการประเมิน ดังตอ่ ไปน้ี

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 1 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

ชาย 111 37.9
หญงิ 182 62.1
293 100
รวม

ชาย
37.9%

หญิง
62.1%

ภาพที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นเพศ

จากตารางที่ 1 และภาพท่ี 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 62.1
และเป็นเพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.9

| 21 |

ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นสถานะ/อาชพี

สถานะ/อาชพี จานวน รอ้ ยละ

นกั ศึกษา 31 10.6
ผใู้ ชแ้ รงงานในระบบ 39 13.3
ผูใ้ ชแ้ รงงานนอกระบบ 106 36.2
ประชาชนท่วั ไป 104 35.5
อื่น ๆ 13 4.4
293 100
รวม

35.5% 10.6% นักศึกษา
13.3% ผใู้ ชแ้ รงงานในระบบ
ผู้ใช้แรงงานนอกระบบ
36.2% ประชาชนท่วั ไป

ภาพท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านสถานะ/อาชีพ

จากตารางท่ี 2 และภาพที่ 2 พบว่า ส่วนใหญ่มีสถานะ/อาชีพเป็นผู้ใช้แรงงานนอกระบบมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 36.2 รองลงมา คือ ประชาชนทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 35.5 และผู้ใช้แรงงานในระบบ คิดเป็น
ร้อยละ 13.3 ทั้งนี้ สถานะอาชพี ของนกั ศึกษามจี านวนน้อยท่ีสดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.6

| 22 |

ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถามดา้ นวุฒกิ ารศกึ ษา

วุฒิการศกึ ษา จานวน รอ้ ยละ
75.1
ต่ากว่าปริญญาตรี 220 20.8
ปริญญาตรี 61 3.8
ปริญญาโท 11 0.3
สูงกวา่ ปรญิ ญาโท 1 100
293
รวม ต่ากว่าปรญิ ญาตรี
ปริญญาตรี
3.8% 0.3% ปรญิ ญาโท
20.8% สงู กว่าปรญิ ญาโท

75.1%

ภาพท่ี 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นวุฒกิ ารศกึ ษา

จากตารางที่ 3 และภาพท่ี 3 พบวา่ สว่ นใหญ่มีวฒุ ิการศึกษาระดับต่ากวา่ ปริญญาตรมี ากทส่ี ุด คดิ เป็น
ร้อยละ 75.1 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 20.8 และระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 3.8
ทั้งน้ี วุฒิการศกึ ษาสูงกว่าปริญญาโทมจี านวนนอ้ ยที่สดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.3

| 23 |

ตารางท่ี 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านอายุ

อายุ จานวน รอ้ ยละ

ต่ากว่า 20 ปี 30 10.2
20 - 30 ปี 7 2.4
31 - 40 ปี 19 6.5
41 - 50 ปี 63 21.5
51 ปขี ึ้นไป 174 59.4
293 100
รวม

10.2% 2.4%
6.5%
59.4% ต่ากวา่ 20 ปี
21.5% 20-30 ปี
31-40 ปี
41-50 ปี
51 ปขี ึน้ ไป

ภาพท่ี 4 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านอายุ

จากตารางท่ี 4 และภาพท่ี 4 พบว่า ส่วนใหญ่มีช่วงอายุต้ังแต่ 51 ปีขึ้นไป มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
59.4 รองลงมา คอื ช่วงอายรุ ะหว่าง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.5 ช่วงอายุต่ากว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.2
และชว่ งอายุระหว่าง 31-40 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 6.5 ทงั้ น้ี ชว่ งอายรุ ะหว่าง 20-30 ปี น้อยที่สดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.4

| 24 |

ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการเสวนา

ระดับคะแนนเฉลี่ย สามารถแบ่งระดับความคิดเห็นการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ
5 ระดับ (Likert Scale) ดังน้ี

4.21 - 5.00 ระดับมากท่สี ดุ
3.41 - 4.20 ระดบั มาก
2.61 - 3.40 ระดับปานกลาง
1.81 - 2.60 ระดับน้อย
1.00 - 1.80 ระดบั นอ้ ยท่สี ดุ

2.1 กระบวนการและการดาเนินงานโครงการ

ตารางท่ี 5 ความคิดเห็นของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการท่ีมตี ่อกระบวนการและการดาเนนิ งานโครงการ

ระดับการประเมิน ระดบั
คะแนน
หัวข้อ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ คา่ เฉล่ีย มาก
(1)
(5) (4) (3) (2) 3 3.95 มาก
(1.0)
1. การดาเนนิ การจดั เสวนา 64 161 61 4 มาก
2 4.18
(21.8) (54.9) (20.8) (1.4) (0.7) มาก

2. ความเหมาะสมของสถานท่ี 100 153 36 2 2 3.80 มาก
(0.7)
(34.1) (52.2) (12.3) (0.7)
3 3.89
3. ความเหมาะสมของ 57 130 98 6 (1.0)

ระยะเวลา (19.5) (44.4) (33.4) (2.0) 3 3.83
(1.0)
4. ความเหมาะสมของช่วงเวลา 64 147 72 7

ทีจ่ ัด (21.8) (50.2) (24.6) (2.4)

5. การจัดลาดับขน้ั ตอนของ 53 146 87 4

กิจกรรม (18.1) (49.8) (29.7) (1.4)

จากตารางท่ี 5 ความคดิ เห็นของผเู้ ข้าร่วมโครงการเสวนาต่อกระบวนการและการดาเนินงานโครงการ
พบว่า มีการตอบความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (ระดับ 4) โดยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกี่ยวกับความ
เหมาะสมของสถานท่ีมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.18 รองลงมา คือ การดาเนินการจัดเสวนา ค่าเฉลี่ย 3.95 ความ
เหมาะสมของช่วงเวลาท่ีจัด ค่าเฉล่ีย 3.89 และการจัดลาดับข้ันตอนของกิจกรรม ค่าเฉล่ีย 3.83 ท้ังน้ี มีความ
พงึ พอใจตอ่ ความเหมาะสมของระยะเวลาน้อยท่สี ุด คา่ เฉลย่ี 3.80

| 25 |

2.2 วิทยากร

ตารางท่ี 6 ความคดิ เหน็ ของผู้เข้ารว่ มโครงการทม่ี ตี อ่ วทิ ยากร

ระดับการประเมนิ ระดบั
คะแนน
หัวข้อ มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ ค่าเฉลยี่ มาก
(1)
(5) (4) (3) (2) 3 4.00 มาก
(1.0)
1. ความรอบรใู้ นเนื้อหาของ 75 152 61 2 มาก
3 3.92
วทิ ยากร (25.6) (51.9) (20.8) (0.7) (1.0) มาก

2. ความสามารถในการ 62 154 71 3 3 3.94 มาก
(1.0)
ถา่ ยทอดความรู้ (21.2) (52.6) (24.2) (1.0)
3 3.90
3. ความชดั เจนในการตอบ 73 140 73 4 (1.0)

คาถามของวิทยากร (24.9) (47.8) (24.9) (1.4) 3 3.99
(1.0)
4. การเปดิ โอกาสให้ 65 148 70 7

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (22.2) (50.5) (23.9) (2.4)

5. ความเหมาะสมของวิทยากร 74 151 62 3

ในภาพรวม (25.3) (51.5) (21.2) (1.0)

จากตารางที่ 6 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาท่ีมีต่อวิทยากร พบว่า มีการตอบความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมาก (ระดับ 4) โดยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเก่ียวกับความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากรมาก
ที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.00 รองลงมา คือ ความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวม ค่าเฉลี่ย 3.99 ความชัดเจนในการ
ตอบคาถามของวิทยากร ค่าเฉลี่ย 3.94 และความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉลี่ย 3.92 ท้ังนี้ มีความ
พงึ พอใจต่อการเปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ น้อยทส่ี ดุ คา่ เฉลีย่ 3.90

| 26 |

2.3 ความพึงพอใจการจดั โครงการเสวนาในภาพรวม

ตารางท่ี 7 จานวนร้อยละความคดิ เหน็ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการทม่ี ตี อ่ การจัดโครงการเสวนาในภาพรวม

ระดับการประเมิน ระดับ
คะแนน
หวั ข้อ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ คา่ เฉลย่ี มาก
(1)
(5) (4) (3) (2) 3 3.91 มาก
(1.0)
1. ทา่ นไดร้ ับความรู้ แนวคิด 65 149 71 5 มาก
5 3.80 มาก
ทกั ษะ และประสบการณ์ (22.2) (50.9) (24.2) (1.7) (1.7) มาก

ใหม่ ๆ จากการเสวนา 4 3.86
(1.4)
2. สิ่งทท่ี า่ นได้รับจากโครงการ 48 153 81 6 4 3.92
(1.4)
คร้งั นีต้ รงตามความคาดหวัง (16.4) (52.2) (27.6) (2.0) 2 4.06
(0.7)
ของทา่ นหรือไม่

3. โดยรวมทา่ นได้รบั ประโยชน์ 59 147 78 5

จากการเสวนาในคร้ังน้ี (20.1) (50.2) (26.6) (1.7)

4. ความพงึ พอใจของท่านต่อ 58 166 61 4

ภาพรวมโครงการ (19.8) (56.7) (20.8) (1.4)

5. ทา่ นได้รบั ความสะดวกต่อ 82 150 59 -

เจ้าหน้าที่ (28.0) (51.2) (20.1)

จากตารางท่ี 7 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาท่ีมีต่อการจัดโครงการเสวนาในภาพรวม
พบว่า มีการตอบความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (ระดับ 4) ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเก่ียวกับการได้รับความ
สะดวกต่อเจ้าหน้าท่ีมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.06 รองลงมา คือ ความพงึ พอใจต่อภาพรวมโครงการ ค่าเฉล่ีย 3.92
การได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะ และประสบการณ์ใหม่ ๆ จากการเสวนา ค่าเฉล่ีย 3.91 และการได้รับ
ประโยชน์จากการเสวนาในคร้ังน้ี ค่าเฉล่ีย 3.86 ทั้งน้ี มีความพึงพอใจต่อส่ิงที่ได้รับจากโครงการคร้งั นี้ตรงตาม
ความคาดหวงั นอ้ ยทีส่ ดุ คา่ เฉลย่ี 3.80

| 27 |

2.4 สิง่ ท่ปี ระทบั ใจในการจดั โครงการ

ตารางที่ 8 จานวนรอ้ ยละความคิดเห็นของผเู้ ข้าร่วมโครงการเสวนาทม่ี ีต่อสิ่งที่ประทับใจในการจัดโครงการ

ด้าน จานวน (ผตู้ อบ) ร้อยละ

วิทยากร 185 22.2
เนอ้ื หาข้อมูลในการเสวนา 214 25.6
ผ้จู ดั 137 16.4
สถานท่ี 192 23.0
อาหาร/เคร่ืองด่มื 107 12.8

จากตารางที่ 8 ความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมโครงการเสวนามีตอ่ สิ่งที่ประทับใจในการจัดโครงการ พบว่า
ส่วนใหญ่มีความประทับใจเกี่ยวกับเนื้อหาข้อมูลมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 25.6 รองลงมา คือ ความประทับใจ
ต่อสถานท่ี คิดเป็นร้อยละ 23.0 ความประทับใจต่อวิทยากร คิดเป็นรอ้ ยละ 22.2 และความประทับใจต่อผู้จัด
คิดเป็นรอ้ ยละ 16.4 ท้งั นี้ มคี วามประทับใจต่ออาหารและเคร่ืองด่ืมนอ้ ยทีส่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 12.8

สว่ นที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ

3.1 ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกบั ประโยชน์ของโครงการ
 ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นว่าโครงการการเสวนาดังกล่าวมีประโยชน์ ได้รับความรู้ และมีส่วนร่วมใน

การแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ สามารถเสนอแนะและบอกกลา่ วปัญหาความเดือดร้อนของแรงงานแต่ละกลุ่มได้
 ผู้เข้าร่วมโครงการเสวนามีความรู้สึกประทับใจและขอบคุณ รวมท้ังขอให้มีการจัดโครงการ

ในลักษณะเดียวกันนี้ท่วั ประเทศ

3.2 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การจดั โครงการครง้ั ตอ่ ไป
1) ด้านระยะเวลา
 ควรจดั โครงการกระจายในทกุ จงั หวดั เพอ่ื รบั ฟงั ปญั หาและชว่ ยเหลือแรงงานในและนอกระบบ
 ควรมีเวลามากกว่าน้ี และควรจัดโครงการทุกระยะ เช่น เดือนละคร้ัง, ทุกไตรมาส, เป็นต้น

ควรจดั ชว่ งบ่าย เพอ่ื ความพร้อมของผูร้ ว่ มโครงการและประหยัดงบประมาณอาหารกลางวัน
2) ดา้ นเนือ้ หาข้อมูลการเสวนา
 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาของแรงงานน้อย การตอบคาถามยังไม่ชัดเจน

และการแสดงความคิดเหน็ ไม่ควรฝกั ใฝก่ ารเมอื งฝา่ ยใด
 ควรมีวิทยากรจากฝ่ายรฐั บาลมารบั ฟังความคดิ เห็นเพ่ือนาไปสู่การแก้ไขปัญหาต่อไป

| 28 |

3) ด้านการดาเนนิ โครงการ/อน่ื ๆ
 ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประสงค์เข้าร่วมโครงการทราบล่วงหน้าผ่านทางเว็บไซต์ หรือ

Facebook และลงทะเบยี นผา่ น google form
 ควรมีเอกสารประกอบหวั ข้อเสวนา และมคี วามพร้อมในการจัดงาน
 อาหารว่างควรมีความหลากหลาย และควรติดป้ายกากับบอกประเภทหรือชนิดของอาหาร

เชน่ ไก่ หมู หรืออาหารอิสลาม เป็นตน้
 การคานวณค่าเดินทาง ควรคานวณใหเ้ หมาะสมตามความเป็นจริง

| 29 |



ครั้งท่ี การรบั ฟังความเดือดร้อนของผปู้ ระกอบการ
ภาคการท่องเที่ยวและบริการ
2

| 31 |

ครง้ั ที่ 2 การรับฟังความเดอื ดรอ้ นของผูป้ ระกอบการภาคการท่องเที่ยวและบรกิ าร

สถานท่ี ระยะเวลา วนั เสาร์ท่ี 29 สงิ หาคม 2563
ณ โรงแรมฮอลเิ ดย์ อนิ น์ เชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่

กลุม่ เป้าหมาย กลุม่ เปา้ หมาย คือ ตัวแทนภาคการท่องเท่ยี ว การบริการ และประชาชนท่วั ไปท่ีไดร้ ับ
ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจจากโควิด-19 จานวน 450 คน รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
และผสู้ ังเกตการณ์ จานวน 50 คน

รูปแบบกิจกรรม การเสวนาและรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน

กำหนดกำรโครงกำรผู้นำฝ่ำยค้ำนในสภำผแู้ ทนรำษฎรพบประชำชน

วนั เสาร์ที่ 29 สงิ หาคม 2563
10.30 – 11.30 น. - ลงทะเบยี นผู้เข้ารว่ มโครงการเสวนา

- ชี้แจงรายละเอยี ดการเข้ารว่ มโครงการเสวนา
11.30 – 12.30 น. - รับประทานอาหารกลางวนั
12.30 – 13.00 น. - พิธีเปิดและปาฐกถาพิเศษเรื่อง “ผลกระทบ ความเดือดร้อนต่อภาคการท่องเที่ยว

และบริการจากวิกฤติโควิด-19” โดย นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ผู้นาฝ่ายค้านในสภา
ผแู้ ทนราษฎร
13.00 – 16.30 น. - เสวนาในหัวข้อ “ฝา่ ยค้านรับฟัง 4 กล่มุ เปราะบางจากวิกฤตโิ ควิด-19”
คร้งั ท่ี 2 : ความเดือดรอ้ นต่อภาคการท่องเที่ยวและบรกิ ารจากวิกฤตโิ ควิด-19
โดย วทิ ยากร

1. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรฐั มนตรี พรรคเพ่อื ไทย

2. นายแพทย์เอกภพ เพยี รพเิ ศษ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร จังหวดั เชียงราย พรรคก้าวไกล

3. นายแพทย์เรวตั วศิ รุตเวช รองหัวหนา้ พรรคเสรรี วมไทย

4. พนั ตารวจเอก ทวี สอดสอ่ ง เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ

5. นายสงคราม กจิ เลศิ ไพโรจน์ หัวหน้าพรรคเพื่อชาติ

6. นายนิคม บญุ วิเศษ หัวหนา้ พรรคพลงั ปวงชนไทย

7. นายศิโรตม์ คล้ามไพบลู ย์ ผดู้ าเนนิ รายการ

16.30 น. - การเปดิ รับฟังปญั หาความเดือดร้อน และข้อคิดเหน็ ของประชาชน
ปดิ การเสวนา

| 32 |

การกลา่ วเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ผนู้ าฝา่ ยค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ครัง้ ที่ 2 การรับฟังความเดอื ดรอ้ นของผปู้ ระกอบการภาคการท่องเท่ียวและบรกิ าร
ณ หอ้ งแกรนดน์ นั ทาบอลรูม โรงแรมฮอลิเดย์ อนิ น์ เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

ในฐานะผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และ
สมาชิกพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ได้ตระหนักถึงความเดือดร้อน
จากกรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนในทุกภาคส่วน
เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงเรื่องปัญหาความเป็นอยู่
และการอุปโภคบริโภคของประชาชน พรรคการเมืองฝ่ายค้าน
จงึ มีแนวคิดและปรึกษาหารอื รว่ มกัน เพอื่ ดาเนนิ การรับฟังข้อมูล
ขอ้ เทจ็ จรงิ ทป่ี ระชาชนได้รบั ความเดอื ดรอ้ น และผลกระทบทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ และสงั คม ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ เพ่ือนาข้อมูล
ขอ้ เท็จจริงที่ได้รับมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เสนอผ่านที่ประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎรให้ไดร้ ับทราบและหาแนวทาง
หรือมาตรการแก้ไขปัญหาให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ที่ผ่านมาพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้จัดโครงการเสวนา
รับฟังความคิดเห็นมาแล้ว จานวน 1 คร้ัง เม่ือวันท่ี 15 สิงหาคม 2563 โดยเป็นการเสวนาเก่ียวกับความเดือดร้อน
ของภาคแรงงานในระบบและนอกระบบจากวิกฤติโควิด-19 และการเสวนาคร้ังน้ีเป็นการรับฟังความคิดเห็น
เรื่องผลกระทบความเดือดร้อนต่อภาคการท่องเที่ยวและบริการจากวิกฤติโควิด-19 ซ่ึงเป็นจุดเปลี่ยนหนึ่ง
ที่สาคัญต่อภาคการท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ประกอบกับตลอดระยะเวลา 20 ปีท่ีผ่านมา การท่องเที่ยวของ
ประเทศไทยสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจและนาเงินตราต่างประเทศเข้ามาประเทศไทยเป็นจานวนมาก
โดยงบประมาณดังกล่าวสร้างรายได้ และการจ้างงานของคนในประเทศได้

ในปัจจุบันมีความพยายามท่ีจะฟื้นฟูภาคอุตสาหกรรมทั้งระบบ แต่ผลกระทบด้านการท่องเที่ยว
ในช่วงที่ผ่านมายังไม่ได้รับการฟ้ืนฟูและพัฒนาเท่าท่ีควร แม้ว่ารัฐบาลจะมีการนาเสนอนโยบายชักจูงให้
ประชาชนคนไทยท่องเท่ียวภายในประเทศเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องก็ตาม แต่นโยบายของรัฐบาล
ไม่ประสบผลสาเร็จ ประกอบกับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ได้รับผลกระทบ
จากหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการกู้เงินในระบบธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้ธุรกิจด้านการท่องเท่ียวไม่ฟื้นฟู
และเติบโตเท่าที่ควร แต่อย่างไรก็ตามประชาชนอาจมีความสับสนและเกิดความคาดหวังว่าในปลายปี 2564
ประเทศไทยจะมีระบบเศรษฐกิจที่ดีข้ึน แต่ในข้อเท็จจริงแล้ว เม่ือถึงปลายปี 2564 ประชาชน ผู้ใช้แรงงาน
และผู้ให้บริการภาคการท่องเที่ยว รวมถึงปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ อาจยังไม่ได้รับการดูแล
และจัดเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ในอนาคตเท่าที่ควร ส่งผลให้โอกาสท่ีจะฟ้ืนฟูด้านเศรษฐกิจ
ภายในประเทศกลับมาเติบโตอย่างรวดเร็วนั้นเป็นไปได้ยาก และขณะนี้ประเทศไทยมีรูปแบบหรือแนวทาง
การทอ่ งเท่ียวแบบใหม่ คือ การทอ่ งเที่ยวเชิงสุขภาพ หรือธุรกิจบริการสขุ ภาพ เปน็ การชักชวนชาวต่างประเทศเข้า

| 33 |

มาใช้บริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนของไทย โดยชาวต่างชาติท่ีจะเข้าประเทศไทยต้องถูกกักตัวก่อน
14 วัน ภาครัฐมีความคาดหวังว่า การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพหรือธุรกิจบริการสุขภาพข้างต้นจะสามารถนาเงิน
เข้าสู่ประเทศไทยไดอ้ ย่างมหาศาล แต่ข้อเท็จจริงทเ่ี กดิ ขน้ึ อาจไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ีคาดหวงั ไว้

จุดมุ่งหมายของการเสวนาคร้ังน้ี ต้องการให้พรรคการเมืองฝ่ายค้านได้รับคาแนะนา และรับฟังความ
เดือดร้อนภาคการท่องเที่ยวและบริการต่าง ๆ ของประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือนาข้อมูลท่ีได้รับเสนอท่ีประชุม
สภาผู้แทนราษฎร ปรึกษาหารือหรือถกประเด็นปัญหาร่วมกัน นาไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านการท่องเที่ยวใน
ระยะยาวใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อทุกภาคสว่ นและเกิดความมัน่ คงตอ่ ไปในอนาคต

| 34 |

สรุปการเสวนาของวิทยากร

ครง้ั ท่ี 2 การรับฟังความเดอื ดร้อนของผู้ประกอบการภาคการท่องเที่ยวและบริการ

นายศโิ รตม์ คลา้ มไพบูลย์ ผู้ดาเนินรายการ

โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน มีกาหนดการจัด

เสวนา จานวน 4 คร้ัง คือ คร้ังท่ี 1 เม่ือวันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม 2563

ณ โรงแรมรามาการ์เด้น กรุงเทพฯ ครั้งที่ 2 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 3

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน 2563 จังหวัดหนองคาย และคร้ังที่ 4 ในวันเสาร์ท่ี

26 กันยายน 2563 จังหวัดชลบุรี ซ่ึงการจัดโครงการเสวนาครั้งนี้เป็นการ

ดาเนินการครั้งท่ี 2 เพื่อรับฟังความเห็นคิดของประชาชน ซ่ึงจะเชิญผู้แทนในแต่ละพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้

แสดงมุมมองวิสัยทัศน์ในการแก้ไขปัญหาภาคการท่องเท่ียวและบริการ เก่ียวกับประเด็นปัญหาเร่ืองนโยบายของ

แต่ละพรรคในการแก้ไขปัญหาจากผลกระทบการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อาทิ

ภาวะการตกงาน มาตรการการช่วยเหลือด้านสินเชื่อ ความคิดเห็นในการเปิดรับนักท่องเท่ียวในอนาคต และการ

ฟ้ืนฟูภาคการท่องเท่ียวและบริการ หลังจากน้ันจะเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารว่ มโครงการเสวนาได้แสดงความคิดเห็น

เก่ียวกับความเดือดร้อนที่เกิดจากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19) โดยเชิญวทิ ยากร ผแู้ ทนแต่ละพรรค ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรี พรรคเพ่ือไทย

2. นายแพทย์เอกภพ เพยี รพเิ ศษ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร จังหวดั เชียงราย พรรคกา้ วไกล

3. นายแพทย์เรวตั วศิ รุตเวช รองหวั หนา้ พรรคเสรีรวมไทย

4. พนั ตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธิการพรรคประชาชาติ

5. นายสงคราม กจิ เลิศไพโรจน์ หัวหน้าพรรคเพื่อชาติ

6. นายนคิ ม บญุ วิเศษ หัวหน้าพรรคพลงั ปวงชนไทย

| 35 |

1. นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา อดตี รองนายกรัฐมนตรี

ปัญหาภาคการท่องเท่ียวและบริการ รวมถึงปัญหาทางด้าน
เศรษฐกิจภาพรวมนั้น ภาคการท่องเท่ียวในจังหวัดเชียงใหม่ไม่ได้มีเฉพาะ
นักท่องเท่ียงต่างชาติเท่าน้ัน ยังมีนักท่องเท่ียวคนไทยด้วย เม่ือดูจากสถิติ
ของการท่องเท่ียวพบว่า นักท่องเที่ยวคนไทยมีจานวนมากกว่านักท่องเท่ียว
ชาวต่างชาติ แต่ปัญหาสาคัญ คือ ประชาชนไม่มีรายได้เพียงพอกับการ
ดารงชีวิต นับตั้งแต่รัฐบาลเข้ามาบริหารประเทศ ตลอดจนปัญหาด้าน
ตา่ ง ๆ ทีค่ วรเรง่ ดาเนนิ การแกไ้ ขใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรม ดงั น้ี

แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

1

ควรดาเนินการสรา้ งความเชื่อมน่ั ให้กับรฐั บาลและผนู้ าประเทศ

2

ควรเจรจาเขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) กับสหภาพยุโรปเก่ียวกับ
มาตรการด้านภาษี เน่ืองจากช่วงที่ผ่านมาสินค้าไทยไม่ได้รับการงดเว้นภาษี ทาให้
ราคาสินค้าไทยแข่งขันกับประเทศอ่ืนไม่ได้ อาทิ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
รวมถงึ ค่าเงินบาทแข็งค่า ส่งผลให้สินคา้ ไทยมรี าคาแพงเมือ่ ขายในตลาดต่างประเทศ
รวมถงึ ปญั หาการคอร์รัปชนั ทมี่ ีการบริหารจัดการงบประมาณไม่ตรงตามเปา้ หมายและ
วตั ถุประสงคใ์ นการพฒั นาประเทศ

3

การกระตนุ้ ระบบเศรษฐกิจจาเปน็ ต้องลดคา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ มจ่ าเปน็ เช่น การซ้ืออาวุธ
และการเกณฑ์ทหาร เป็นต้น โดยจาเป็นตอ้ งหามาตรการทางภาษีให้เกิดการลงทุน
และการบริหารเงนิ งบประมาณใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจเพิม่ มากข้นึ

ขอ้ เสนอแนะด้านการทอ่ งเท่ยี ว

รฐั บาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องจาเป็นตอ้ งกระตนุ้ ระบบเศรษฐกิจ โดยการเชิญชวนนักท่องเท่ียวคนไทย
ให้ทอ่ งเที่ยวภายในประเทศเพม่ิ มากข้นึ รวมถึงนกั ท่องเท่ียวตา่ งชาติด้วย โดยจาเป็นตอ้ งมีการประชาสัมพนั ธ์
และเชิญชวนให้นักท่องเที่ยวพานักอยู่ในประเทศไทยในระยะยาว โดยเฉพาะนักท่องเท่ียวกลุ่มแถบ
สแกนดเิ นเวยี เนอื่ งจากกลมุ่ บคุ คลดังกล่าวมชี ว่ งวันหยดุ ยาวในฤดหู นาวนานกว่ากลุม่ อื่น ๆ

| 36 |

2. นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

เร่ืองการท่องเท่ียวและการบริการ ซ่ึงได้รับผลกระทบจากการแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้มีคนตกงาน
เป็นจานวนมาก และรายได้จากการท่องเท่ียวประมาณร้อยละ 13 ของ
GDP ทัง้ หมดของประเทศ ซ่ึงใกลเ้ คียงกับการทอ่ งเท่ียวของโลกประมาณ
ร้อยละ 10 ของ GDP โลก โดยช่วงที่มีการระบาดของโรค ทาให้มีข้อจากัด
ในการเดินทาง เพราะข้อจากัดอุตสาหกรรมและธุรกิจท่องเท่ียว
ที่ เกี่ ย ว โย งกับ ก าร ท่ อ งเท่ี ย ว ทุ ก ป ระเภ ท ได้รั บ ผ ล ก ระท บ อย่ างม าก
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของโรงแรม ร้านอาหาร ร้านค้า การขนส่งทางอากาศ
ทางบก และทางน้า รวมถึงการบริการนวดสปาและธุรกิจอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง นอกจากผู้ประกอบการ จะได้รับ
ผลกระทบแล้วแรงงานที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการก็ต้องตกงานด้วยเช่นเดียวกัน
ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ดังนั้น จึงขอเสนอแนะแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ดังน้ี

ข้อเสนอท่ี 1 ควรมุ่งเน้นการท่องเท่ียวท้องถิ่นและการท่องเท่ียวภายในประเทศ โดยโน้มน้าวหรือชักจูง
ให้นักท่องเท่ียวชาวไทยที่ชอบเดินทางไปต่างประเทศหันมาให้ความสาคัญกับการท่องเที่ยวภายในประเทศ
เพิ่มมากข้ึน ซ่ึงภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องใช้โอกาสนี้ในการพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว
ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมีความคล้ายคลึงกับบรรยากาศต่างประเทศ เพื่อยกระดับมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว
ความปลอดภัยและความสะอาดให้ดียิ่งข้ึน เพื่อให้การท่องเที่ยวไทยสามารถสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศเพ่ิมมากขึ้น
ประกอบกับควรมีมาตรการหรือแนวทางในการกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว เช่น การจดั โปรโมชั่นราคาพิเศษ
ของธุรกิจที่พักโรงแรม รีสอร์ท และร้านอาหารต่าง ๆ เป็นต้น โดยผู้ประกอบการต้องมีการปรับตัวและปรับเปลี่ยน
กลยทุ ธ์ในการประกอบธุรกจิ ให้สามารถดารงอยูไ่ ด้ในสถานการณ์วิกฤตขิ องประเทศ

ข้อเสนอท่ี 2 จัดอบรมเสวนาในจงั หวัดต่าง ๆ เพ่อื ให้ผู้ประกอบการธุรกิจในทุกภาคส่วนไดแ้ ลกเปลยี่ น
ความคิดเห็นและสร้างความสัมพันธ์อันดีในการดาเนินธุรกิจร่วมกัน การอบรมเสวนาจะต้องเน้นการพัฒนา
ศกั ยภาพของบุคลากรใหม้ ีคณุ ภาพและความพรอ้ ม เพ่ือรองรบั สถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคต

สาหรับการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาประเทศไทยน้ัน เป็นประเด็นสาคัญท่ีภาครัฐ
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันพจิ ารณาอย่างรอบคอบ เพราะสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกยังคงมีการระบาดอย่างต่อเน่ือง
ซึ่งหากประเทศไทยเปิดรับนักท่องเท่ียวจะมีภาวะความเสี่ยงสูงมากและอาจไม่คุ้มค่าต่อความปลอดภัยของ
ประชาชนภายในประเทศ แต่หากภาครัฐมีแนวทางหรือมาตรการที่ดี การท่องเที่ยวในลักษณะเชิงสุขภาพ
จะเป็นที่นิยมและช่ืนชอบของชาวต่างชาติเป็นอย่างมาก เน่ืองจากประเทศไทยมีมาตรฐานการรักษาพยาบาล
ท่ีมีคุณภาพ ทั้งเรื่องการแพทย์และการบริการสาธารณสุข และขณะนี้มีผู้ป่วยที่เดินทางเข้ามารับการรักษาแล้ว
ประมาณ 1,000 คน พร้อมทั้งมีผู้ติดตามผู้ป่วยด้วย ดังน้ัน สถานกักกันในการรักษาพยาบาลจะต้องมีความ
สะอาดและมีความปลอดภัย เพื่อใหป้ ระชาชนคนไทยและนักท่องเทยี่ วชาวต่างชาติเกิดความม่นั ใจ

| 37 |

ข้อเสนอฟ้ืนฟูด้านเศรษฐกิจ ประเทศไทยประสบปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ามาอย่างต่อเน่ือง
จงึ ขอเสนอให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งพิจารณาบริหารจัดการการใช้จา่ ยงบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุดต่อประชาชน โครงการใดท่ีไม่มีความจาเป็นและกระทบต่องบประมาณเป็นจานวนมากขอให้พิจารณา
ยกเลกิ ไปก่อน เชน่ การจัดซ้ืออาวธุ ยทุ โธปกรณ์ของกองทัพ หรอื การจัดหาเรอื ดานา้ ของกองทพั เรือ เป็นตน้

3. นายแพทย์เอกภพ เพียรพเิ ศษ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร

องคก์ รการท่องเท่ียวโลกแห่งสหประชาชาติ (United Nations
World Tourism Organization : UNWTO) ได้ออกคาแถลงการณ์ว่า
“ไม่มเี วลาสาหรับผู้นาที่ข้ีขลาดตาขาวอีกต่อไป” ถ้อยคาดังกล่าวภาครัฐ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องพิจารณาบทบาท โดยการคิดใหม่
ทาใหม่ และต้องเปิดกว้างในการรับนักท่องเท่ียว และศูนย์บริหาร
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จะต้องไม่ยึดติดกับสถิติตัวเลขของผู้ท่ีติดเช้ือไวรัสภายในประเทศ
มากเกินไป และปัจจุบันประเทศไทยมีแนวทางหรือวิธีการรับมือกับการ
แพร่ระบาดของโรค โดยวิธีการปิดทุกอย่างแล้วรอวัคซีนในการรักษา คาดว่าการทดลองวัคซีนดังกล่าว
อาจจะต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร แต่ในทางกลับกันประเทศไทยได้รับผลกระทบจากเรื่องดังกล่าว ส่งผลต่อ
ธุรกิจสายการบินภายในประเทศและธุรกิจโรงแรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวท่ีสาคัญ
อาทิ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย และกรุงเทพมหานคร ซง่ึ มอี ัตรานกั ท่องเที่ยวเข้าพักไม่ถงึ รอ้ ยละ 10

ในปี 2563 การท่องเท่ียวภายในประเทศเม่ือเทียบกับปีท่ีผ่านมาพบว่า นักท่องเที่ยวคนไทยลดลง
ถึงร้อยละ 60 นักท่องเท่ียวต่างชาติลดลงร้อยละ 70 รวมทั้งรายได้ที่เข้าประเทศลดลงถึงร้อยละ 60-70
ท้ังนี้ ประเทศไทยจาเป็นต้องมีแนวทางหรือมาตรการในการรับมือสถานการณ์ดังกล่าวท่ีเกิดขึ้น เนื่องจากการ
ท่องเที่ยวเป็นธุรกิจท่ีสร้างรายได้หลักให้กับประเทศมากถึง 3 ล้านล้านบาทต่อปี ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติเข้าประเทศไทยมากกว่า 2 ล้านคน ดังน้ัน ประเทศไทยจาเป็นต้องทบทวนและปรับแผนกลยุทธ์
การรับมือต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โดยให้แต่ละจังหวัดจัดเตรียมความพร้อมในการรับมือ
และพัฒนาศักยภาพด้านการสาธารณสขุ ให้มีความเข้มแขง็ และเกิดประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

ขอ้ เสนอต่อการพฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพของภาคการทอ่ งเทยี่ วและบรกิ าร
1) ผู้ประกอบการในปัจจุบันไม่สามารถรับนักท่องเท่ียวและดาเนินธุรกิจได้ปกติ จึงจาเป็นต้องปรับ
แผนกลยุทธ์และเพิ่มความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการเพ่ือให้การดาเนินธุรกิจสามารถคงอยู่ได้ ประกอบกับ
ภาครัฐและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจาเป็นต้องสนับสนุนเงินทุนให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs) ด้านการท่องเที่ยวให้สามารถจ้างแรงงานได้ประมาณ 10 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 28
ของการจ้างงานทั้งหมด และหากผู้ประกอบการมีรายได้จ้างแรงงานในช่วงวิกฤตที่เกิดข้ึนนี้ได้ก็จะเป็นช่องทางหน่ึง
ทีส่ ามารถฟืน้ ฟูระบบเศรษฐกิจและแหลง่ ท่องเทยี่ วใหม่ ๆ ไดด้ ้วยเช่นเดยี วกนั
2) การเปิดรับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเข้ามาท่องเท่ียวในประเทศไทย จาเป็นอย่างยิ่งที่ภาครัฐ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องคานึงถึงระบบการสาธารณสุขเป็นสาคัญ โดยระบบดังกล่าวจะต้องมีการบริหาร
จัดการเชิงบูรณาการ คือ การจัดเตรียมความพร้อมเครื่องมือทางการแพทย์ท่ีทันสมัย แพทย์และบุคลากร

| 38 |

ด้านสาธารณสุข และระบบสอบสวนและคัดกรองโรค เป็นต้น ประกอบกับการปรับกลยุทธ์เชิงสร้างสรรค์
ด้านการทอ่ งเทย่ี วโดยการคิดรูปแบบหรือโมเดลใหม่ ๆ ทีช่ ักจูงหรือโน้มนา้ วให้ทุกคนมีส่วนรว่ มเพม่ิ มากขน้ึ

3) ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวทุกภาคส่วนจะต้องเตรียมความพร้อมในการรับมือและปรับตัว
ให้เข้ากบั สถานการณ์ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) น้ัน ไม่มีผู้ใดหรือองค์กรใดยืนยันและเช่ือมั่นว่าจะมีวัคซีนป้องกันโรคในช่วงนี้ ดังนั้น จาเป็นอย่างยิ่ง
ท่ีทุกภาคสว่ นจะตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มอยูเ่ สมอ

4) ควรปรับปรุงระบบการสาธารณสุขให้มีความรวดเร็วและทันสมัย หากประเทศไทยเปิดรับ
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้ามาภายในประเทศแล้ว ระบบการสาธารณสุขต้องมีความพร้อมในการตรวจและ
รับทราบผลของเชื้อไวรัสโคโรนาอย่างรวดเร็วและทันท่วงที โดยกระทรวงสาธารณสุขจาเป็นต้องสร้างระบบ
หรอื นวตั กรรมท่ีมีความทันสมยั เพื่อรองรับความปลอดภัยจากเช้ือไวรสั ดงั กล่าวใหก้ ับประชาชนภายในประเทศด้วย

4. พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ในปี พ.ศ. 2545 นายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน ได้สร้างจุดเปลี่ยนด้านการ
ท่องเท่ียวของประเทศ โดยการเปิดเสรีทางการบิน เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจด้าน
การท่องเท่ียวในประเทศ ซ่ึงในช่วงนั้นมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมา
ประเทศไทย ประมาณ 9-10 ล้านคนต่อปี และในปี พ.ศ. 2562 มีนักท่องเท่ียว
ต่างชาติเข้าประเทศไทยเกือบ 40 ล้านคนต่อปี และจากการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีเกิดขึ้นได้ส่งผลกระทบอย่าง
รุนแรงโดยเฉพาะภาคการท่องเท่ียวและบริการ โดยผู้ว่าการท่องเท่ียวแห่ง
ประเทศไทย กล่าวว่า ในช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ประเทศไทยมีนักท่องเที่ยว
ประมาณ 13 ล้านคน และหลังจากเดือนมีนาคมเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน นักท่องเท่ียวลดลงเป็นอย่างมาก
ดังน้ัน ประเด็นดังกล่าวภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องทบทวนสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
เพื่อวางแผนและรองรับการเปลี่ยนแปลงให้ภาคธุรกิจและประชาชนสามารถดารงอยู่ได้ ทั้งนี้ จังหวดั เชียงใหม่
และจังหวดั ในเขตพ้ืนท่ีภาคเหนือตอ้ งยอมรับว่าประชาชนมคี วามหลากหลายทางอาชีพ และอาชีพทสี่ าคัญ คือ
ธุรกิจภาคการท่องเท่ียว ภาครัฐจะต้องร่วมมือและแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยการบริหารงบประมาณลงสู่ท้องถ่ิน
ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นท่ีเพ่ิมมากขึ้น โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวนประมาณ 21,000 ล้านบาท ซง่ึ งบประมาณดังกล่าวไม่ได้ลงสู่ท้องถิน่ เพ่ือใช้
ในการพัฒนาพ้ืนที่เท่าท่ีควร ดังนั้น ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือจะต้อง
คานึงถึงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และความเป็นอยู่ ดงั น้ี

| 39 |

5อหลกั อาหาร
อาชีพคนไทยทกุ คนต้องมีอาหารกนิ ตอ้ งไมย่ ากจน
สง่ิ สาคัญท่ีประชาชนต้องมี
คนไทยทกุ คนจะตอ้ งได้รบั การดแู ลตอ้ งมีอาชีพ

อนามยัการมีอาชพี คอื ไดร้ บั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพและมีงานทา
คนไทยทกุ คนจะต้องไดร้ บั ความรเู้ ก่ยี วกบั อนามัย

อัเพ่อื การมสี ุขภาพกายทีแ่ ข็งแรงและสุขภาพจติ ท่ีดี
ตลักษณ์

คนทุกพืน้ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ ับการส่งเสรมิ เรื่องอัตลกั ษณ์ ภาษาไทย

อยุติธรรม

คนไทยทกุ คนจะต้องได้รบั เท่าเทยี มโดยปราศจากความอยตุ ธิ รรม
และการคอรปั ชั่น

นอกจากเรื่องภาคการท่องเท่ียวและบริการที่จาเป็นต้องให้ความสาคัญแล้ว ปัญหาการผูกขาดของ
สินค้าและบริการเป็นส่ิงจาเป็นท่ีจะต้องคานึงถึงด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
แห่งประเทศไทย (กฟผ.) จากการศึกษาโครงสร้างปรากฏว่า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ผลิตไฟฟ้า
ให้กับประเทศเพียงร้อยละ 30 เท่าน้ัน และใช้วิธีการซ้ือไฟฟ้าจากภาคเอกชนแทน ซึ่งการดาเนินการดังกล่าว
จะเห็นได้ว่า ผู้ประกอบการหรือบริษัทท่ีขายไฟฟ้าได้กาไรเป็นจานวนมาก แต่กลับผลักภาระความรับผิดชอบ
ค่าไฟฟ้าให้ประชาชนแทน โดยเฉพาะอย่างย่ิงประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือ
ตอนบนและตอนล่างจะได้รบั ค่าไฟฟ้าแพงกว่าที่กาหนดไว้ เน่ืองจากประชาชนจานวนหน่ึงไม่มีที่ดินทากินเป็น
ของตนเอง ซึ่งการดาเนินการข้างต้นส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนเป็นอย่างมาก ดังนั้น ภาครัฐ
จาเป็นตอ้ งลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของประชาชน โดยใช้แนวทางหรือวิธกี าร ดงั นี้

1) ภาครัฐจะต้องโอนงบประมาณให้ท้องถิ่นบริหารจัดการโดยตรง เพ่ือนางบประมาณดังกล่าวมาพัฒนา
ดูแลคุณภาพชวี ิตของคนในพ้ืนท่ีให้สามารถมีอาชีพท่ีมนั่ คง และมีความเปน็ อยูท่ ่ีดีข้นึ

2) ภาครัฐต้องมีการปฏิรปู ที่ดินในจังหวดั ใหเ้ กิดความเสมอภาค เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าในสงั คม
3) ภาครัฐต้องสร้างความเชื่อมั่นโดยการส่งเสริมการลงทุนเพื่อกระตุ้นระบบเศรษฐกิจของประเทศให้
มคี วามเขม้ แขง็ อย่างตอ่ เนื่อง
4) ภาครัฐต้องขจัดปัญหาการคอรัปช่ันและเปิดโอกาสให้ประชาชนหรือภาคประชาสังคมได้เข้ามา
มีสว่ นรว่ มในการตรวจสอบได้
5) ภาครัฐจะตอ้ งเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนได้มสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการพน้ื ท่ขี องตนเพิ่มมากขน้ึ

| 40 |

5. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร ในปัจจุบันธุรกิจด้านการทอ่ งเทีย่ วและการบริการได้รับผลกระทบ

และตกต่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่มีนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเข้ามา
ประเทศไทย โดยภาพรวมตั้งแต่ 7 ปีที่แล้ว ในช่วงที่มีการทารัฐประหาร
เป็นต้นมา ไดส้ ่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจภายในประเทศเป็นอย่างมาก
แม้กระทั่งในขณะน้ีประเทศไทยและทั่วโลกต่างต้องเผชิญกับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
อย่างต่อเนื่อง และหากประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศเวียดนามแล้ว
พบว่า คนเวียดนามทุกกลุ่มทุกอาชีพในช่วงที่ว่างงานจะมีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษอย่างต่อเนอื่ ง โดยเน้น
การส่ือสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ประกอบกับภาคการเกษตรของประเทศเวียดนามมีการพัฒนาราคา
ข้าวและการส่งออกเพิ่มมากขึ้น ทั้งน้ี ประเทศไทยควรแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจในภาพรวมท้ังหมด
ไม่เฉพาะเจาะจงเพียงด้านการท่องเท่ียวและบริการเท่าน้ัน เพราะหากระบบเศรษฐกิจภาพรวมของประเทศดี
ข้ึนภาคการท่องเที่ยวและบริการจะได้รับประโยชน์เกี่ยวเน่ืองกันไปทั้งระบบ ประกอบกับในขณะน้ี รัฐบาล
ประสบปัญหากับสหภาพยุโรป (EU) ในการต่อต้านเรื่องการประมงผิดกฎหมาย จึงส่งผลให้การประมงไทย
ได้รับผลกระทบทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเรือขนาดเล็ก เรือขนาดใหญ่ หรือเรือประมงชายฝั่งด้วย ดังนั้น รัฐบาล
จะต้องแสดงความจรงิ ใจในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว พร้อมท้ังเจรจาในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้การประมงไทย
และการค้าขายด้านอ่ืน ๆ สามารถสร้างรายได้และพัฒนาเศรษฐกิจให้กับประชาชนในประเทศและระบบ
เศรษฐกิจในภาพรวมได้ แม้ว่าการท่องเท่ียวส่วนใหญ่จะได้รับผลกระทบก็ตาม แต่หากคนไทยสนับสนุนการ
ท่องเที่ยวภายในประเทศก็จะสามารถช่วยพยุงเศรษฐกิจในระดับหน่ึง และการบริหารจัดการงบประมาณ
จาเป็นอย่างยิ่งต้องกระจายลงสู่ท้องถิ่นโดยตรงและทั่วถึง โดยงบประมาณต้องไม่กระจุกตัวอยู่ท่ีส่วนกลาง
เท่าน้ัน แต่ต้องใหป้ ระชาชนในพื้นทส่ี ามารถจัดตั้งเป็นกองทุนหมู่บ้าน บริหารจัดการงบประมาณได้ด้วยตนเอง
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี นรายได้ในพ้ืนทีแ่ ละลดปญั หาความเหล่อื มล้าในสังคมดว้ ย

6. นายนคิ ม บุญวิเศษ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

ในการแก้ไขปัญหารัฐบาลจะต้องยกเลิกพระราชกาหนดฉุกเฉินเพ่ือควบคุม
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 26 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป เพื่อสร้างบรรยากาศ
การท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยมีข้อเสนอเพ่ือการพัฒนาภาคการท่องเที่ยว
และบรกิ ารไว้ ดงั นี้

1) รัฐบาลต้องมีนโยบายสร้างความเช่ือมั่นให้กับประชาชนคนไทย
พ ร้ อ ม ท้ั งค ว ร ก า ห น ด ม าต ร ก าร ห รื อ ก ฎ เก ณ ฑ์ ก าร ค ว บ คุ ม ส ถ าน ก าร ณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการอยู่
รว่ มกันในสังคมให้มีความชดั เจนและเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั
2) รัฐบาลควรสร้างแรงจูงใจในการท่องเที่ยว โดยการอัดฉีดเงินงบประมาณเข้าไป เน่ืองจากรัฐบาลได้
ออกพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเยียวยาและฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคม

| 41 |

ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พ.ศ. 2563
หรือ พ.ร.ก. เงินกู้ 1 ล้านล้าน โดยให้เงินประชาชนในช่วงแรก คนละ 5,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน และส่วนท่ี
เหลือจัดสรรให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้
โดยรัฐบาลจาเป็นตอ้ งออกนโยบายเพ่ือให้ธนาคารพาณิชย์ตา่ ง ๆ อนุมัติสินเชอ่ื เงนิ กู้และดอกเบี้ยตา่ โดยเชอื่ ว่า
การดาเนินการดังกล่าวจะสามารถประคองธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการได้ โดยผู้ประกอบการไม่จาเป็นต้อง
ขายกิจการและนายจ้างยังคงสามารถจ้างแรงงานต่อไปได้ ท้ังนี้ ในปัจจบุ ันสถิตขิ ้อมูลแรงงานภาคการท่องเทีย่ ว
ของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า แรงงานภาคการท่องเที่ยว ประมาณ 3.9 ล้านคน
ตกงานแล้วประมาณ 2.8 ล้านคน ดังนน้ั รัฐบาลจาเป็นตอ้ งแก้ไขปญั หาดงั กลา่ วอยา่ งเรง่ ดว่ น

3) รัฐบาลควรนานโยบายกองทุนหมู่บ้านเข้ามาแก้ไขฟ้ืนฟูระบบการท่องเที่ยวให้เกิดประสิทธิภาพ
ท้ังระบบ โดยรัฐบาลต้องกล้าทาเพื่อสร้างความเช่ือมั่นในการกระตุ้นระบบเศรษฐกิจภาคการท่องเท่ียวให้มี
ความเข้มแขง็ เพิ่มมากข้ึน

| 42 |

ประเดน็ คำถำมและขอ้ เสนอแนะของผู้เข้ำร่วมโครงกำรเสวนำ

ครง้ั ที่ 2 การรบั ฟงั ความเดือดร้อนของผู้ประกอบการภาคการทอ่ งเที่ยวและบรกิ าร

1. ภาครัฐควรแกไ้ ขปัญหาให้กับผู้ประกอบอาชีพมคั คเุ ทศก์ ดังน้ี
1.1 ควรแก้ไขปัญหาการขาดรายได้ของผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เน่ืองจากในปัจจุบันสถานการณ์

แม้ว่าการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จะสามารถควบคุมได้ในระดับที่น่าพึงพอใจ
และธุรกิจบางประเภทสามารถเปิดกิจการได้ตามปกติแล้วก็ตาม แต่สาหรับธุรกิจด้านการท่องเท่ียว พบว่า
ในขณะน้ปี ระเทศไทยยังไม่มกี ารเปิดรับนักท่องเทยี่ วจากต่างประเทศเขา้ มาภายในประเทศ ดังน้ัน ประเทศไทย
จาเป็นต้องปรับเปล่ียนรูปแบบการท่องเที่ยวให้เข้ากับสถานการณ์ โดยจะเป็นการท่องเที่ยวลักษณะ “New
Normal” คือ การท่องเที่ยวแบบบุคคลหรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็กเท่านั้น ซึ่งรูปแบบการท่องเท่ียวดังกล่าว
สง่ ผลกระทบให้ผปู้ ระกอบอาชพี มัคคุเทศก์เกิดการว่างงานข้ึนเปน็ จานวนมาก จึงจาเปน็ ต้องให้ความชว่ ยเหลือ
กลมุ่ ผปู้ ระกอบอาชพี ดังกล่าว

1.2 ควรสร้างงานให้ผู้ประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เช่น โครงการ “กาลังใจ” ที่รัฐบาลจัดการท่องเท่ียว
ให้กับเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทั่วประเทศ ซ่ึงบริษัทท่องเท่ียวบางบริษัทที่ผ่านการคัดกรอง
ของการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ไม่มีการจัดจ้างมัคคุเทศก์นาเท่ียว แต่ใช้พนักงานในบริษัทเป็นผู้นาเที่ยว
ควรให้การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยเน้นย้าไปทางบริษัทท่ีได้รับดูแลการท่องเที่ยวของ อสม. ให้สร้างงาน
ให้มัคคุเทศก์ที่ตกงาน หรือมีโครงการให้เที่ยวผ่านบริษัททัวร์ โดยได้รับส่วนลด 40 เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกับ
โครงการ “เราเท่ยี วด้วยกัน” เน่ืองจากจะสร้างงานในภาคการท่องเท่ียวเปน็ จานวนมาก ไม่ใช่แค่ธุรกิจโรงแรม
และสายการบนิ

2. ภาครัฐควรหาแหล่งเงินทุนหรือจัดต้ังกองทุนให้เจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบอาชีพอิสระสามารถ
เข้าถึงแหล่งเงนิ กู้จากสถาบันการเงินท่ัวไปได้ในวงเงินท่ีสูงและอัตราดอกเบ้ียต่าได้ เน่ืองจากเจ้าของธุรกิจหรือ
ผู้ประกอบอาชีพอิสระประสบปัญหาเก่ียวกับความน่าเชื่อถือในการกู้เงิน ส่งผลให้ธนาคารอนุมัติเงินยาก
และวงเงนิ ทีไ่ ดร้ ับไมเ่ พยี งพอกับการใช้จ่าย

3. ภาครัฐควรแก้ไขปัญหาเร่ืองเอกสารสิทธ์ิในพ้ืนท่ีการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากผู้ประกอบการ
ไม่สามารถจดั สร้างโรงแรมหรอื รสี อรท์ ได้ และไม่สามารถพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวได้อย่างเตม็ ท่ี

4. ภาครัฐควรมีมาตรการชว่ ยเหลอื ผู้ประกอบธุรกจิ รถทวั ร์ รถรับจา้ ง และรถเช่า ดังน้ี
4.1 ให้ความช่วยเหลือโดยการหามาตรการตอ่ รองกับสถาบนั การเงินในการพักชาระหน้ี (คา่ รถ)

หรอื ชว่ ยเหลอื ชดเชยการขาดรายไดใ้ นชว่ งท่ไี มม่ นี กั ท่องเทีย่ วชาวต่างชาติเขา้ มาในประเทศ
| 43 |


Click to View FlipBook Version