The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rattanaporn PK, 2021-03-15 12:59:21

Port047NB

Port047NB

PORTFOLIO
แฟม้ สะสมผลงาน

RATTANAPORN PHOKA
นางสาวรตั นาภรณ์ โภคา

คำนำ

แฟ้มผลงานมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั น้ีเป็ นการรวบรวมเกี่ยวกบั การปฏิบตั ิงานหนา้ ที่
ครูฝึกสอนในการจดั การเรียนการสอนในช้นั เรียน การจดั ทาส่ือการสอนในหน่วยการเรียนต่าง
ๆการจดั สภาพแวดลอ้ มในช้นั เรียน และแผนการสอน

การจัดทาแฟ้มผลงานเล่มน้ีจึงเป็ นการเก็บรวบรวมหลักฐานในการปฏิบัติงานของ
ขา้ พเจา้ โดยเป็ นการรวบรวมขอ้ มูล ผลงานครูและนักเรียนระดบั ช้นั อนุบาล 2 ละออพลสั โดย
หวงั วา่ จะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีสนใจต่อไป

ท้งั น้ีขา้ พเจา้ ขอขอบคุณ ผศ.อรุณศรี จนั ทร์ทรง (ผอู้ านวยการโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ)
ที่เปิ ดโอกาสให้ข้าพเจ้าได้มาฝึ กปฏิบัติการสอนในคร้ังน้ี และขอขอบคุณคุณครู
อญั ชลิกา ปากพลีนอก (คุณครูประจาช้ัน) ที่ไดใ้ ห้คาแนะนาในการจดั การเรียนการสอนและ
จดั ทาแฟ้มผลงานจนสาเร็จดว้ ยดี

ผจู้ ดั ทา
นางสาว รัตนาภรณ์ โภคา





โรงเรียนสาธติ ลอออทุ ศิ

ประวตั คิ วามเป็นมา

โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ศิ เดิมชื่อโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ กลา่ ว
ได้ว่าเป็นโรงเรียนอนุบาลของรฐั แห่งแรก สร้างขึ้นด้วยเงินบริจาคของ น.ส.ละออ หลิมเซ่งไถ่ ได้
เปดิ การทำการสอนเมือ่ วนั ท่ี 2 กนั ยายน พ.ศ. 2483 แรกเรม่ิ ทำการรบั นักเรยี นอายุ 4-5 ปี จำนวน
30 คน เพื่อทำการทดลองสอนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารของวิทยาลัยครูตามระบบของสภา
การฝึกหัดครู ตลอดระยะเวลาแห่งการดำเนินงานนอกเหนือไปจากภารกิจหลักที่ให้การศึกษา
อบรมแก่เด็กเล็ก แล้วยังมุ่งมั่นสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหมๆ่ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยการศึกษา วิจัย และ
พัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ เช่น การสร้างสระว่ายน้ำ และ สร้างพ้ืนที่ตามความ
สนใจของเด็ก พื้นที่สำหรับกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็ก เป็นต้น นอกจากนั้น โรงเรียนยังได้
ทดลองหารูปแบบที่เหมาะสม สำหรับพัฒนาการของเด็กอย่างสร้างสรรค์กว่า 60 ปีแห่ง
ความสำเรจ็ อย่างภาคภูมิ ภายใตก้ ารบรหิ ารของทีมงานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ และการดแู ลจากคณะครู
ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนสาธิตละอออุทิศในสังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนดุสิต ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองเป็นอย่างมาก ในการดูแลและสร้างเสริมบุตร
หลานให้มีความพร้อมทางพัฒนาการอยา่ งสมบรณู ใ์ นทกุ ๆ ด้าน

ปัจจุบันด้วนแนวนโยบายเชิงรุกในการบริหารจัดการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับ
แนวนโยบาย คณะผู้บริหารจึงจัดให้มี การจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อภารกิจหลักของ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ให้หลากหลายและมากขึ้น สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย
(พ.ศ. 2552-2556) ซึ่งหนึ่งในกลยุทธ์ที่สำคัญภายใต้แผนพัฒนา คือ การขยายโอกาสทาง
การศึกษาและพัฒนาเด็กเล็กสู่ระดับภูมิภาค โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อได้เป็นแหล่งเรียนรู้แห่งใหม่

สำหรบั การเสริมสร้างทกั ษะและพฒั นาการของเด็กนกั เรยี น ท่ีมีอายตุ ้งั แต่ 1 ปี 6 เดือน ถงึ 5 ปีให้
มคี วามพร้อมทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ด้านสังคม และดา้ นสตปิ ัญญา

โรงเรียนสาธิตละอออทุ ิศ เปน็ สถานศกึ ษาตน้ แบบทางการศกึ ษาปฐมวยั บคุ ลากรมี
ประสทิ ธภิ าพให้คำแนะนำหรือคำปรกึ ษาแก่หนว่ ยงานที่ต้องการความสมบรูณ์แบบทางการศึกษา
ปฐมวยั และจดั ประสบการณ์ประสานความร่วมมอื กับผูป้ กครองเพื่อใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม สติปัญญา จรยิ ธรรม เพื่อดำรงชวี ติ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข

ลกั ษณะการดำเนินงานด้านการศกึ ษาปฐมวัย

1.เป็นสถาบันให้การศึกษาอบรมแก่เด็กปฐมวัย อายุระหว่าง 1.6 ปี – 5 ปี โดยแบ่งเป็น
ระดบั ชน้ั ต่างๆ ดงั น้ี

- โครงการบา้ นหนูนอ้ ย รบั เด็กอายุ 1.6 ปี – 1.11 ปี
- โครงการบ้านเดก็ สาธิต รบั เดก็ อายุ 2.0 ปี – 2.11 ปี
- ระดับอนบุ าล รบั เด็กอายุ 3 ปี – 5 ปี
โรงเรียนได้ยึดแนวปรัชญาวิถีดำเนินการเรียนการสอน ตามวิถีทางแห่งการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยที่สืบเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มก่อตั้งโรงเรียน โดยมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อม และส่งเสริม
การพัฒนาเด็ก “หลักสูตรของโรงเรียนมีลักษณะยืดหยุ่นได้” โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลของเดก็ กิจกรรมตา่ งๆ ทจี่ ดั ขนึ้ สอดคลอ้ งกบั ชวี ติ ประจำวันและสิง่ แวดล้อมรอบตวั เดก็
2.เปน็ แบบอยา่ งของการจดั การศกึ ษาปฐมวัยแก่โรงเรียน และสถาบันพฒั นาเด็กในท้องถิ่น
ซึ่งตั้งแต่แรกเริ่มก่อตั้ง “โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” เป็นสถานศึกษาระดับอนุบาลที่เป็น
แบบอย่างให้มกี ารเปดิ โรงเรียนในจงั หวัดต่างๆ และ จากนั้นมาถึงปัจจุบัน โรงเรียนยังคงทำหน้าท่ี
ดังกล่าวมาโดยตลอด ซึ่งในแตล่ ะปีการศึกษาจะมีผูม้ าขอเยีย่ มชม ศึกษาดูงาน ฝึกงานและนำแนว
ทางการจัดประสบการณ์ แมก้ ระทัง่ นวัตกรรมต่างๆ ของโรงเรียนไปทดลองใช้
3.เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้แก่นักศึกษาสาขาการปฐมวัย เปิดโอกาสให้
นักศึกษาเข้ามาสังเกต มีส่วนร่วมในการสอน การทดลองสอนและฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเต็ม

รูปนักศึกษาที่มาฝึกประสบการณ์วิชาชีพนี้ มีทั้งนักศึกษาโปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัยของ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิตและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งวิชาการให้แก่
บุคลากรที่ทำงานกบั เดก็ ปฐมวัยของหน่วยงานอ่ืนๆ อาทิ เช่น บุคลากรจากมลู นิธิ โรงเรียนอนุบาล
ต่างๆ ท้งั ของรฐั บาลและเอกชน โรงเรียนเทศบาล สถานสงเคราะห์เดก็ เปน็ ตน้

4.เป็นแหล่งทดลอง ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาความรู้ทางด้านการศกึ ษาปฐมวัย ซึ่งได้เปิดให้
คณาจารย์ในมหาวทิ ยาลัยได้ทดลอง วิจัย เพื่อพัฒนาองคค์ วามรู้ รวมทั้งเป็นแหล่งให้ความร่วมมือ
สนับสนุนการวิจัยของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เป็นตน้

5.เป็นแหล่งเผยแพร่นวัตกรรมทางการศึกษาเมื่อมีการศึกษาค้นคว้าทดลองวิจัยในเชิง
ทฤษฏีแล้ว ยังมีการนำทฤษฏีต่างๆ มาทดลองในการปฏิบัติ และพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้เกิดผลใน
การเรียนการสอน

รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ดา้ นการศึกษาปฐมวยั

การจัดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนเน้นการศึกษาให้เดก็ ได้พัฒนาตนเองทุกด้านท้ัง
ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาอย่างสมดุล และส่งเสริมกระบวนการคิดให้มี
ความสามารถในการเรยี นรู้ของเดก็ ในช่วงวัย 3-5 ปี โดยกำหนดหลักการดงั นี้

1.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมความต้องการ ความเจริญ และ
พฒั นาการตามวัยของเดก็ ทุกดา้ น

2.พฒั นาเดก็ โดยองค์รวม ผา่ นการเลน่ และกิจกรรมทเี่ หมาะสมกบั วยั
3.จัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพพื้นฐานให้แข็งแกร่งดว้ ย
ค่านิยม คณุ ธรรม จริยธรรม วินัยและรบั ผิดชอบใหส้ ามารถเจรญิ ชีวิตทีม่ ีคุณภาพและมีความสขุ
4.ประสานสมั พันธ์ความร่วมมือระหวา่ งครอบครวั ชุมชน และสถานศึกษา ให้มสี ่วนร่วมใน
การพัฒนาเด็ก

ปปรรชั ัชญญาา

การเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสขุ เพื่อการเจรญิ เตบิ โตอยา่ งงดงาม

วิสัยทศั น์

โรงเรยี นสาธิตละอออุทิศ เปน็ โรงเรยี นต้นแบบของการพฒั นานวัตกรรมด้านการศกึ ษาปฐมวัย
ประถมศึกษา การฝึกประสบการณแ์ ละพัฒนาวิชาชีพครู โดยมสี ว่ นรว่ มในการยกระดบั คุณภาพการศึกษาทกุ
ภมู ภิ าค

พันธกิจ/ภารกจิ

1.พัฒนาผู้เรียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมอนั พงึ ประสงค์
2.สง่ เสรมิ พัฒนาการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ได้ลงมือปฏิบัตจิ รงิ
3.ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี
4.สง่ เสรมิ ผเู้ รียนให้มีความเปน็ ไทยและดำรงชวี ิตอยา่ งพอเพยี ง
5.พฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี วามสามารถใช้เทคโนโลยี และใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร
6.สง่ เสริมทกั ษะกระบวนการคิด และการแก้ปญั หา
7.สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นใฝเ่ รียน ใฝร่ ู้ แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง
8.สง่ เสรมิ และพัฒนาครูในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย
9.พัฒนาการบรหิ ารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ
10.ส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาเป็นแหลง่ วิทยากรและชมุ ชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา

เปา้ หมายของโรงเรียน

1.นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
2.นักเรียนมีทกั ษะกระบวนการคิด และการแก้ปัญหา
3.นักเรียนมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตดี และมคี วามสุข
4.นักเรียนอนุรักษ์ความเป็นไทย ดำรงชีวิตอย่างพอเพียงและมีจิตสำนึกต่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อม
5.นกั เรียนมีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยี ใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สารได้
6.ครูได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง
หลากหลายโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
7.โรงเรียนมกี ารบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ ระบบ
8.โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มและภมู ิทศั น์ที่เออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรู้ใหช้ ุมชนมสี ่วนรว่ มในการจัด
การศึกษา

คุณลักษณะอังพงึ ประสงค์

1.มรี ะเบียบวนิ ยั ในตนเอง สามารถปฏิบตั ิตามกฎกตกิ า ของสว่ นรวมและสังคม
2.มีทักษะการคดิ แกป้ ญั หาที่เหมาะสมกบั สภาพการณ์ และส่งิ แวดลอ้ ม
3.มคี วามคดิ สร้างสรรค์ รักการอา่ น การเขยี น การคน้ คว้า
4.มมี นุษย์สมั พนั ธ์ท่ดี ี สามารถทำงานรว่ มกับผู้อืน่ ได้ โดยเปน็ ท้งั ผ้นู ำและผู้ตาม
5.มคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง มที ศั นคติในทางบวกต่อการเรยี น และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง
6.มีสขุ ภาพแขง็ แรง มจี ติ ใจอ่อนโยน โอบอ้อมอารี และมคี วามกตญั ญู
7.มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ ที่ได้รบั มอบหมาย
8.มคี วามเป็นประชาธิปไตยและเคารพในคุณค่า ศกั ด์ิศรขี องตนเองและผู้อน่ื
9.มีทักษะการคิดอย่างมีจิตวิจารณญาณ สามารถไตร่ตรองข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาใน
ชีวติ ประจำวัน
10.มีความร้พู ื้นฐานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยที ีท่ ันสมัย สามารถนำมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวัน

กจิ วัตรประจำวัน

เวลา กิจกรรม
07.30-08.00 น. รับเด็ก
08.00-08.45 น.
09.00-09.30 น. เข้าแถวเคารพธงชาติ
09.30-10.00 น. กจิ กรรมนทิ านส่งเสรมิ กระบวนการคิด
10.00-10.15 น.
10.15-10.50 น. กิจกรรมกลมุ่
11.00-11.30 น. ดม่ื นม
11.30-12.00 น.
12.00-14.00 น. กิจกรรมเสรี
14.00-14.30 น. กจิ กรรมกลางแจ้ง
รับประทานอาหารกลางวัน
14.30-15.00 น.
15.00 น. นอนกลางวนั
ตน่ื นอนทำความสะอาดร่างกาย รับประทาน

อาหารวา่ ง
กิจกรรมสงบ
กลับบา้ น

กจิ วตั รประจำวนั

รูปภาพประกอบกจิ กรรม

เขา้ แถวเคารพธงชาติ

กิจกรรมนิทานสง่ เสริมกระบวนการคิด

กจิ กรรมกล่มุ

ดม่ื นม

กิจกรรมเสรี
กิจกรรมกลางแจง้

รบั ประทานอาหารกลางวัน
นอนกลางวัน

ต่นื นอนทำความสะอาดร่างกาย รบั ประทานอาหารว่าง
กจิ กรรมสงบ

กจิ กรรมพเิ ศษ

กจิ กรรมพละ

กิจกรรมว่ายน้ำ
กิจกรรมดนตรี

กจิ กรรมคอมพวิ เตอร์
กิจกรรมนักศึกษา มศว.



2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของ
ทอ้ งถิ่น

2.2 จัดครูใหเ้ พยี งพอตอ่ ช้นั เรยี น

2.3 ส่งเสริมให้ครมู คี วามเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์

2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสือ่ เพอ่ื การเรียนรอู้ ย่างปลอดภัยและเพียงพอ

2.5ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้เพอื่ สนับสนนุ
การจดั ประสบการณ์

2.6 มีระบบบริหารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วม

2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถิ่น

โรงเรยี นสาธิตละอออุทิศยืดแนวปรชั ญาวธิ ีดำเดนิ การเรยี นการสอน ตามวิถีทางแห่งการพฒั นา
เด็กท่ีสบื เน่ืองมาต้ังแตเ่ รมิ่ กอ่ ต้ังโรงเรียน โดยมุง่ เนน้ การเตรยี มความพร้อมและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็ก
“หลักสตู รของโรงเรียนมีลักษณะยืดหยุ่นได้” โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลของเดก็ กิจกรรม
ต่างๆ ท่จี ัดข้นึ สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและสิ่งแวดล้อมรอบตวั เดก็ มีการจัดการเรียนรู้ระดบั ปฐมวัย
เนน้ จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาการท้งั 4 ด้าน มกี ารจดั กจิ กรรมทีส่ อดคล้องกับธรรมชาติของการจดั
การศึกษาปฐมวยั เพ่ือพฒั นาเดก็ ทั้งทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาเพือ่ นำไปสู่การเรียนรู้
ทน่ี ำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั และสอดคล้องกบั สภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและ
ความเจรญิ ทางวชิ าการ เป็นการสร้างกลยทุ ธใ์ หม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหส้ ามารถตอบสนอง
ความต้องการของบุคคล และทักษะทีจ่ ำเป็นสำหรบั ใช้เปน็ เครอื่ งมือในการดำรงชวี ิตในสงั คมท่ีมีการ
เปลย่ี นแปลง และแสวงหาความร้เู พ่ือพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน้อื ง

ทีม่ า : กจิ กรรมกล่มุ

แผนการจัดประสบการณ์
เดือนธันวาคม









แผนการจดั ประสบการณ์
เดือนมกราคม





แผนการจดั ประสบการณ์
เดอื นกมุ ภาพันธ์





แผนการจดั ประสบการณ์
เดอื นมีนาคม





2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอตอ่ ช้นั เรยี น

โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ิศ มีการจดั ครใู ห้เพยี งพอต่อชัน้ เรยี นโดยในระดับชั้นอนุบาล 2 La-or plus
มจี ำนวนนกั เรียนในชั้นเรยี นมี 14 คน ชาย 9 คนและ หญงิ 5 คน และครปู ระจำช้นั 2 คน
คณุ ครูอญั ชลิกา ปากพลีนอก และ T.Alberto Manangan Pascal มีนักศกึ ษาฝึกสอน 2 คน
และพเี่ ลี้ยง 1 คน ซ่งึ มีความเพียงพอต่อจำนวนนกั เรยี นในช้นั เรยี น

2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญด้านการจัด
ประสบการณ์

มกี ารเขา้ รว่ มอบรมเพื่อส่งเสริมใหค้ รูมคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ ทกั ษะและ
สมรรถนะทจี่ ำเป็นสำหรับการปฏิบัตกิ ารสอนทา่ มกลางการเปลีย่ นแปลงของสงั คม
เศรษฐกจิ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การเรียนรแู้ ละการสอน

ทมี่ า : กจิ กรรมสมั มนา

ตนเอง

2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพอ่ื การเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ

โรงเรยี นสาธติ ละอออุทศิ มกี ารจดั สภาพแวดล้อมทเี่ อีอ่ อำนวนต่อการเรยี นรู้
ส่งเสริมใหเ้ ด็กเกิดทกั ษะกระบวนการคิดซึ่งนำไปสกู่ ารตั้งคำถามและกระตุ้นให้เด็กเกดิ
การคดิ และหาเหตุผลในส่งิ ทอี่ ยากรู้ มีความสนใจในการทำกิจกรรมตา่ งๆ รจู้ ักการต้ัง
คำถามและการเรียนรู้ มกี ารจัดการเรยี นร้ทู ค่ี รอบคลุม

เด็กใหค้ วามสนใจในการทำกิจกรรมและร่วมกันต้ังคำถามในประเดน็ ที่ตนเองสนใจ
ทม่ี า : กจิ กรรมกลมุ่

2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพ่อื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ (ตอ่ )

โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ มีการจัดสภาพแวดลอ้ มท่เี อีออำนวนตอ่ การเรยี นรู้ รวมถงึ การ
จดั การชั้นเรยี น มุมประสบการณต์ ่างๆและส่ือการเรียนการสอน ในมีความน่าสนใจ จดั วางเป็น
ระเบยี บเรยี บร้อย สง่ เสริมให้เดก็ เกดิ การเรียนรู้ มีบรรยากาศอบอุ่นคลา้ ยบ้าน มพี ื้นท่ีเหมาะกับ
กิจกรรม มมี มุ เสรมิ ประสบการณ์ มีวสั ดอุ ปุ กรณ์ทหี่ ลากหลาย ที่เกี่ยวคอ้ งกบั หนว่ ยการเรียนรู้

มมุ สรา้ งสรรคแ์ ละเคร่ืองเล่นสัมผัส มุมเกมการศึกษา

มมุ วทิ ยาศาสตร์

มุมบทบาทสมมติ

มมุ ดนตรี มุมนิทาน

2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ (ตอ่ )

โรงเรียนสาธิตละอออทุ ิศ มีการจดั สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ืออำนวยต่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ไดแ้ ก่ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ัติการต่างๆ เชน่ ห้องสมุดนิทาน หอ้ งสมดุ ของเล่น ห้องปฏบิ ตั กิ าร
คอมพวิ เตอร์ หอ้ งศูนยก์ ารเรียนรู้ และห้อง Smart Classroom

ห้องคอมพวิ เตอร์

ห้องสมุดนิทาน

หอ้ งสมดุ ของเล่น

ห้องSmart
Classroom

สารนทิ ัศน์

ครูจัดทำสารนิทัศน์และนำมาไตร่ตรองเพ่ือใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ครูจัดเก็บผลงาน
ภาพวาดและจัดเก็บข้อมูลให้เห็นร่องรอยพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจากการทำ
กิจกรรมทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มอย่างหลากหลาย โดยมีการกำหนดเป้าหมาย การเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์ ที่สอดคล้องเหมาะสมกับข้อมูลที่จัดเก็บ ดำเนินการวางแผนกับครูพี่เลี้ยง โดยคัดเลือก
วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำและจัดแสดงข้อมูล ตลอดจนการนำข้อมูลที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการ
พัฒนาเดก็ นอกจากน้ีครูยงั ใหค้ ำแนะนำแก่เด็กในการทำกิจกรรมต่างๆอีกด้วย

การบรรยายเรอ่ื งราวหรือ ผลงานเดก็ รายบุคคล
ประสบการณ์ท่เี ด็กไดร้ ับ และผลงานรายกลมุ่

สารนทิ ัศน์

แฟ้มผลงานเด็ก การสงั เกตและบนั ทึก
เปน็ รายบคุ คล พฒั นาการเด็ก

การสะท้อนตนเองของเด็ก

สารนทิ ศั น์ประเภทการสะทอ้ นตนเอง

การแสดงความคิดเหน็ ความรู้ความเขา้ และความรสู้ ึกของผเู้ กย่ี วข้องกบั
กระบวนการจดั ประสบการณ์ และกิจกรรม ประกอบดว้ ยเดก็ คุณครู และผู้ปกครอง
ซึ่งการสะท้อนตนเองของเดก็ ทำใหค้ ณุ ครูเข้าใจ และแสดงใหเ้ ด็กเหน็ วา่ คณุ ครูยอมรบั
ในความคิดเหน็ ของเด็ก เปน็ บ่งบอกความรู้สึก ได้รับโอกาสท่จี ะยอมรับหรอื ปฏเิ สธ
ขอ้ เสนอแนะของตนเองในการสรา้ งช้นิ งานหรือทำกจิ กรรม

การสะท้อนตนเองของเด็ก ครูและผู้ปกครอง ทำใหร้ ู้จดุ แข็ง จดุ อ่อนของการจดั
กจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ือนำมาพัฒนาการจัดการเรียนรใู้ นครัง้ ต่อไปไดเ้ ป็นอยา่ งดี

สารนิทัศน์ประเภทการสะท้อนตนเอง

การบรรยาย เล่าเรื่องราวจากภาพ
เป็นภาพทีเ่ ด็กเลอื กจากวรรคเพลง
ท่หี นูชอบ ซึง่ การจัดส่งิ แวดล้อมใน
ห้องเรียนทด่ี ีจะช่วยส่งเสริมให้เด็กเกดิ
การเรียนรู้

ทมี่ า : กิจกรรมกลุ่ม

ตนเอง

การบรรยาย เล่าเรือ่ งราวจาก
สง่ิ ท่ีตนเองเหน็ เพือ่ ให้เด้กได้เรยี นรู้
ความแตกตา่ งในการมองภาพ ซึ่งการจัด
สง่ิ แวดลอ้ มในห้องเรยี นทีด่ ีจะช่วย
ส่งเสริมใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรู้

ทีม่ า : กจิ กรรมกลุ่ม

ตนเอง

สารนทิ ศั นป์ ระเภทการบรรยายเรื่องราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็กไดร้ บั

เป็นการเขียนเรอื่ งราวเหตกุ ารณ์หรอื ประสบการณ์การเรียนการสอน

การลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรมใดกิจกรรมหนึง่ ตามลำดับเหตกุ ารณ์ ตั้งแต่ต้นจนส้ินสดุ
เหตุการณ์ ว่าเด็กได้เรยี นรู้อะไรบา้ งมีกระบวนการเรียนรู้อยา่ งไร รวมถงึ เรยี นบรรยาย
สรปุ เพ่ือบอกประโยชนท์ เี่ ดก็ ไดร้ ับจากกจิ กรรมเรอื่ งราวหรอื ประสบการณท์ เ่ี กิดข้ึนกบั
เด็ก

เป็นการนำเสนอการเรยี นการสอนท่ชี ัดเจนเนือ่ งจากเป็นการเขยี นเล่า
เร่อื งราวตามลำดับทเ่ี กดิ จากการจัดกจิ กรรมนน้ั ๆ ใหเ้ ข้าใจได้มากขึน้ บ่งบอกที่มาท่ีไป
ของกิจกรรมไดช้ ดั เจนและสะท้อนการเรียนรู้ของเด็กที่ไดร้ ับจากกจิ กรรมการเรยี นการ
สอนนัน้

สารนทิ ัศน์ประเภทการบรรยาย

หลงั จากการจัดกิจกรรมธงชาติไทย ครูไดเ้ ปดิ โอกาสให้เด็กเลอื กไปสัมภาษณ์คณุ ครูที่

หนูชอบในหัวข้อ เหตใุ ด..จงึ มรี ปู ชา้ งอยบู่ นธงชาติไทยสมัยก่อน และนำมาวาดรูประบายสีได้

และบอกเหตุผลว่าทำไมถึงมชี า้ งอยบู่ นธงชาติ ท่มี า : กจิ กรรมกลุ่ม

ตนเอง

สารนทิ ัศนป์ ระเภทการสังเกตและบนั ทึกพัฒนาการของเดก็
เปน็ วธิ ีการเก็บข้อมลู ตัวอยา่ งเด้กอยา่ งไมเ่ ป็นทางการซึ่งสามารถใชว้ ิธกี ารนี้

รวบรวมทุกพัฒนาการตง้ั แต่ สตปิ ญั ญา อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และรา่ งกาย พร้อมกับจด
บันทึกพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ทีต่ ้องการสังเกตอยา่ งตรงไปตรงมาตามท่เี ห็นหรอื ไดย้ นิ
จากสถานการณจ์ ริงตามธรรมชาติ ขณะเดฏ็ ทำกจิ กรรมตา่ งๆ มีแบบบันทึกการสงั เกต
ในการจดบนั ทึกข้อมูลไวเ้ ป็นหลกั ฐานเพอื่ นำข้อมูลเหล่าน้ันไปประเมนิ เดก็ และช่วย
พฒนาเดก็ ต่อไป

สารนิทัศน์ประเภทการสังเกตและบนั ทกึ พัฒนาการของเดก็

บันทกึ กลูกรกั เป็นการเลา่ เกี่ยวกับการเรียนรู้และประเมนิ พฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ของ
เดก็ เปน็ รายบุคคล โดยครูและผ้ปู กครองเป็นการเขียนพฒั นาการดา้ นต่างๆ ใหท้ ราบ เช่น
พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปญั ญา

ทม่ี า : สมุดบนั ทกึ ลูกรัก

ตนเอง

สารนทิ ัศนป์ ระเภทแฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio)

แฟ้มผลงาน เป็นการจดั รวบรวมผลงานของเด็กเปน็ รายบุคคลอยา่ งต่อเนื่อง
และสม่ำเสมอช่วยให้เหน็ ความก้าวหนา้ ทางพัฒนาการด้านตา่ งๆ และความสำเรจ็
ของเด็ก การจดั เก็บข้อมูลเหล่าน้ีจะแสดงให้เหน็ ว่าเด็กได้มีโอกาส มีการสะท้อน
ความคิด ความพยายาม และแสดงศกั ยภาพของตนเองได้อย่างสมบรู ณ์

ซ่ึงภายในแฟ้มผลงานประกอบไปดว้ ยผลงานอสิ ระ ผลงานท่ีผปู้ กครองเลอื ก
และผลงานเฉพาะ


Click to View FlipBook Version