The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)-

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nadia Kapha, 2020-09-04 09:36:53

การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)-

การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)-

ACTIVITY
BASED
LEARNING

ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ กิ จ ก ร ร ม เ ป น ฐ า น

โดย นาเดีย กาพา
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี



หนังสืออิเล็กทรอนิกส
เรื่อง การเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน
(ACTIVITY-BASED LEARNING : ABL)

เสนอ
อาจารยปาลิดา สายรัตทอง พัฒนพิชัย

จัดทําโดย
นางสาวนาเดีย กาพา
รหัสนักศึกษา 6020117082
นักศึกษาชั้นปท่ี 4 สาขาวิชาการประถมศึกษา
หนังสืออิเล็กทรอนิกสเลมน้ีเปนสวนหนึ่งของรายวิชา 266-411
นวัตกรรมการศึกษาสําหรับครูประถมศึกษา
ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562

คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

คาํ นํา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส เร่ือง การเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน
(Activity-Based Learning : ABL) เปนสวนหน่ึงของรายวิชา 266-411
นวัตกรรมการศึกษาสาํ หรับครูประถมศึกษา ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวกับความหมายของ
การเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน ลักษณะสําคัญของการเรียนรูโดยใชกิจกรรม
เปนฐาน หลักการจัดการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน ประเภทของการเรียนรู
โดยใชกิจกรรมเปนฐาน ข้ันตอนในการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนกิจกรรมเปน
ฐาน กิจกรรมที่นิยมใช ขอดีและขอจํากัดของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปน
ฐาน มีจุดประสงคเพ่ือใหผูที่สนใจไดศึกษาคนควาวิธีการเรียนรูโดยใชกิจกรรม
เปนฐาน (Activity-Based Learning : ABL) และสามารถนําความรูที่ได
รับไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนตอไป

นาเดยี กาพา

สารบัญ 01
07
ความหมายของการเรียนรโู ดยใชก ิจกรรมเปน ฐาน 10
ลกั ษณะสาํ คญั ของการเรยี นรโู ดยใชก ิจกรรมเปนฐาน 12
หลกั การจัดการเรียนรโู ดยใชกิจกรรมเปน ฐาน 14
ประเภทของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปน ฐาน 15
ขั้นตอนในการจัดการเรยี นการสอนท่เี นนกิจกรรมเปนฐาน 21
กิจกรรมท่ีนิยมใช 24
ขอ ดีของการเรียนรโู ดยใชกิจกรรมเปน ฐาน
ขอ จํากดั ของการเรยี นรูโดยใชกจิ กรรมเปน ฐาน

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน  01

ความหมายของการสอนโดยใช
กิจกรรมเปนฐาน

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 02

การเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน
(ACTIVITY-BASED LEARNING)

เปน วธิ ีการจัดการเรียนรูท่ีพฒั นามาจากแนวคิดในการจัดการเรยี นการสอน
ท่ีเผยแพรในปลายศตวรรษท่ี 20 ท่เี รียกวา การเรียนรทู ี่เนน บทบาท และการ
มีสวนรวมของผูเ รยี น หรอื “การเรียนรเู ชงิ รกุ ” (Active Learning) ซึง่
หมายถงึ รูปแบบการเรยี นการสอนทมี่ ุงเนน สงเสริมใหผ เู รยี นมสี ว นรว มใน
การเรยี นรูและบทบาทในการเรียนรขู องผูเรยี น

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 03
การสอนโดยใชกิจกรรมเปนฐาน (ACTIVITY-
BASED LEARNING) คือการจัดกระบวนการสอนที่เนนการ
ทํากิจกรรมและลงมือปฏิบัติของผูเรียนเปนหลัก หลักการเรียนท่ี
สาํ คัญเพ่ือใหนักเรียนไดเกิดทักษะตาง ๆ ผานการเรียนรู โดยให
นักเรียนไดคนควาดวยตนเอง ไดใชกระบวนการคิดแกไขปญหา
ตาง ๆ เกิดการวิเคราะห สังเคราะหการเรียนรู และสามารถ
ตกผลึกความรูจากการเรียนการสอนเรื่องนั้น ๆ ดวยตัวผูเรียนเอง
ซ่ึงจะแตกตางจากการนั่งเรียนแบบฟงบรรยาย แบบการเปนผูรับ
การเรียนโดยผานกิจกรรมทาํ ใหนักเรียนการเรียนรูในระยะยาว
และเรียนรูอยางมีความสุข (PADMAVATHI, 2013)

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 04
การจัดการเรียนรูท่ีเนนกิจกรรมเปนฐาน มีพื้นฐานมาจากการจัดการ
เรียนรูท่ีสงเสริมใหผูเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง ซึ่งเช่ือวาการสรางองค
ความรูดวยตนเองจะทําใหการเรียนรูมีความหมายและมีประสิทธิภาพมากกวา
การปอนความรูใหกับผูเรียน การเรียนรูที่เนนกิจกรรมเปนฐานจะชวยใหผู
เรียนกลาลงมือปฏิบัติ กลาคิดและกลาแสดงออกสามารถคนควาหาความรูจาก
แหลงตาง ๆ ไดดวยตนเอง ผานการสังเกต การทดลองและการลงมือทําโดยมี
ครูผูสอนเปนผูช้ีแนะแนวทางในการเรียนรู การจัดการเรียนรูที่เนนกิจกรรม
เปนฐานเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางสังคม
ได (AYOTOLA & ISOHALA, 2013)

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 05

"ใชก ิจกรรมเปน ฐาน"
หมายถึง เอากิจกรรมเปน ทีต่ ้ังเพ่ือทจ่ี ะฝกหรอื พฒั นาผเู รยี น
ใหเกิดการเรยี นรูใหบรรลุวัตถุประสงคหรอื เปาหมายทกี่ ําหนด

ความหมายของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 06

ลักษณะสําคัญของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 07

ลักษณะสําคัญของการเรียนรู
โดยใชกิจกรรมเปนฐาน

ลักษณะสําคัญของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 08

สง เสรมิ ใหผูเรียนมคี วามตื่นตัวและกระตือรอื รนดานการรคู ิด
กระตนุ ใหเ กิดการเรียนรูจากตัวผเู รียนเองมากกวาการฟง ผู

สอนในหองเรียนและการทอ งจาํ
พัฒนาทกั ษะการเรียนรขู องผเู รียน ใหส ามารถเรยี นรูไดดว ยตวั

เองทําใหเกดิ การเรียนรอู ยางตอ เน่อื งนอกหอ งเรยี นอกี ดวย
ไดผลลัพธในการถายทอดความรูใกลเคียงกับการเรียนรู
รูปแบบอื่น แตไดผลดีกวาในการพัฒนาทักษะดานการคิด

และการเขียนของผูเรียน

ลักษณะสําคัญของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 09

ผเู รยี นมคี วามพึงพอใจกับการเรยี นรแู บบน้ีมากกวารปู แบบทผี่ ู
เรยี นเปนฝายรับความรู ซ่ึงเปน การเรียนรแู บบตัง้ รับ
(PASSIVE LEARNING)

มงุ เนน ความรบั ผิดชอบของผเู รียนในการเรียนรูโ ดยผานการ
อาน เขยี น คิด อภิปราย และเขา รวมในการแกปญหา

ผูเรยี นสามารถสมั พันธเกี่ยวของกับการเรยี นรตู ามลาํ ดับข้นั การ
เรียนรขู องบลูมทัง้ ในดา นพทุ ธพิ สิ ยั ทักษะพิสัย และจิตพิสยั

หลักการจัดการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 10

หลกั การจัดการเรยี นรูโดยใชก ิจกรรมเปนฐาน

หลักการจัดการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน  11

หลักการจัดการเรียนรูโดยใช
กิจกรรมเปนฐาน

1.ใหค วามสนใจท่ตี วั ผูเรยี น
2.เรยี นรูผานกิจกรรมการปฏิบตั ิท่ีนา สนใจ
3.ครผู สู อนเปนเพยี งผอู ํานวยความสะดวก
4.ใชประสาทสมั ผัสท้ัง 5 ในการเรียน
5.ไมม ีการสอบ แตประเมนิ ผลจากพฤติกรรม ความเขาใจ ผลงาน
6.เพ่อื นในชนั้ เรยี นชวยสง เสรมิ การเรียน
7.มีการจัดสภาพแวดลอม และบรรยากาศท่ีเออ้ื ตอการพฒั นาความคิด

และเสรมิ สรา งความมนั่ ใจในตนเอง

ประเภทของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 12

ประเภทของการเรยี นรโู ดยใช
กิจกรรมเปน ฐาน

กิจกรรมการเรียนรูโดยวิธีใชกิจกรรมเปนฐานมีหลากหลายกิจกรรม
การนาํ มาใชขึ้นอยูกับความเหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของ
การจัดกิจกรรมน้ัน ๆ วามุงใหผูเรียนไดเรียนรูหรือพัฒนาในเร่ืองใด

โดยทั่วไป สามารถจาํ แนกออกเปน 3 ประเภท

ประเภทของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 13

กจิ กรรมเชิงสํารวจ เสาะหา คนควา (Exploratory) ซ่ึงเกยี่ วขอ งกับการ
รวบรวม ส่ังสมความรู ความคดิ รวบยอด และทกั ษะ

กิจกรรมเชิงสรางสรรค (CONSTRUCTIVE) ซ่ึงเกี่ยวของกับการ
รวบรวม สั่งสมประสบการณโดยผานการปฏิบัติ
หรือการทาํ งานที่ริเร่ิมสรางสรรค

กิจกรรมเชิงการแสดงออก (EXPRESSIONAL) ไดแก
กิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ การนาํ เสนอ การเสนอผลงาน

ข้ันตอนในการจัดการเรียนการสอนที่เนนกิจกรรมเปนฐาน 14

ข้ันตอนในการจัดการเรียน
การสอนท่ีเนนกิจกรรมเปน
ฐานมี 6 ข้ันตอน

ข้ันนํา ครใู หโ อกาสการเรยี นรแู ละชแ้ี นะการเรยี นรใู หกับนกั เรยี น
ขัน้ ประสบการณ ครใู หสถานการณก ารเรยี นรู โดยใหนักเรียนมีโอกาสที่
จะสงั เกตสาํ รวจใหประสบการณเ พื่อพัฒนาความเขาใจของตนเอง

ข้นั กิจกรรม นักเรยี นทุกคนมสี วนรว มอยางแขง ขันในกิจกรรม
ทแ่ี ตกตา งกนั

ขั้นสรา งความรู นักเรยี นทุกคนสรา งความรูข องตัวเองโดยขนึ้ อยกู บั
ประสบการณ

ข้ันแลกเปลย่ี นเรียนรู นักเรยี นในกลมุ พดู คยุ รว มกันแลกเปลย่ี นความคิด
ขั้นประเมินผล เปนการประเมินตนเอง ซึ่งเปน สวนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู และการจดั การเรยี นการสอน

กิจกรรมที่นิยมใช 15

กจิ กรรมการเรยี นรูท่นี ิยมใช

กิจกรรมที่นิยมใช 16

กิจกรรมการเรยี นรทู ี่นยิ มใช

การอภปิ รายในช้นั เรียน (class discussion) ทีก่ ระทาํ ไดท้ังใน
หอ งเรียนปกติ และการอภปิ รายออนไลน

การอภปิ รายกลุม ยอ ย  (Small Group Discussion)
กิจกรรม “คิด-จับคู- แลกเปลย่ี น” (THINK-PAIR-SHARE) 
เซลการเรียนรู (LEARNING CELL)
การฝกเขยี นขอความสน้ั ๆ (ONE-MINUTE PAPER)
การเรยี นรูโ ดยการสอน (LEARNING BY TEACHING)

กิจกรรมที่นิยมใช 17

แกลเลอร่ี วอลค (GALLERY WALK)
บทบาทสมมุติ (ROLE PLAY)
การโตว าที (Debate)
การเรยี นรโู ดยใชส ถานการณ (Situational Learning)
การเรยี นแบบกลมุ รวมแรงรว มใจ (COLLABORATIVE
LEARNING GROUP)
เซปฏิกริ ยิ าจากการชมวดิ ทิ ศั น (REACTION TO A VIDEO)
เกมในช้ันเรียน (GAME)

กิจกรรมท่ีนิยมใช 18
การอภิปรายในช้ันเรียน เปนการอภิปรายรวมกันถงึ ประเดน็ ทไ่ี ดก ําหนด
ไว โดยผูเรยี นสามารถนําเสนอความเหน็ ท้ังที่เหน็ พองกบั เห็นตางได แตต อ ง
แสดงเหตผุ ลหรือขอ มลู เพื่อสนับสนนุ ขอ คิดเหน็ จากน้นั ตอ งลงความเหน็ เพื่อ
หาขอสรปุ รว มกัน
วิธสี อนโดยใชก ารอภิปรายกลมุ ยอย คอื กระบวนการท่ีผูส อนใชใ นการชว ย
ใหผูเรียนเกดิ การเรียนรตู ามวัตถุประสงคท ี่กําหนด โดยการจัดผเู รยี นเปนกลมุ เล็ก
ประมาณ 4-8 คน และใหผ ูเรยี นในกลมุ พูดคยุ แลกเปลี่ยนขอ มูล ความคดิ เห็น
และประสบการณในประเด็นทีก่ ําหนดและสรุปผลการอภปิ รายออกมาเปนขอสรุป
ของกลุม

กลวธิ ีคิดเดย่ี ว คิดคู แลกเปลีย่ นความคิดเปน กลวธิ ีหนง่ึ ของการจัดการเรยี น
รูแบบรว มมือรวมใจ (COOPERATION LEARNING) มวี ตั ถุประสงคให
ทกุ คนมสี วนรวมในการคิด โดยใหน กั เรยี นฝก กระบวนการคิดดว ยตนเอง แลว
แลกเปลี่ยนความคดิ กับเพือ่ นเปน คู แบง ปน ในกลุมของตวั เอง และนาํ มาแบง ปน
ใหเ กิดการเรียนรูในกลุมใหญ

กิจกรรมท่ีนิยมใช 19
การแสดงบทบาทสมมุติเปนวิธีการสอนที่ใหผูเรียนไดฝกการแสดงออก
ตามสถานการณที่กําหนดใหเพื่อเปนประสบการณท่ีจะนาํ ไปแกไขปญหา และ
สถานการณจริงในชีวิต ผูเรียนจะไดแสดงออก ฝกวางแผน การทาํ งานและ
ทํางานรวมกันเขาใจความรูสึกและพฤติกรรมทั้งของตนเอง และของผูอื่นและ
ไดเรียนรูจากการแสดงบทบาทสมมุติ

การโตวาที เปนเทคนิคท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีชวยใหผูเรียนฝก
ทักษะในหลายๆดานทั้งการนาํ เสนอ สรุปประเด็น คนควาขอมูล และการ
อภิปรายเพ่ือสนับสนุนและคัดคาน

การเรียนรูโดยใชสถานการณจาํ ลองเสมือนจริงเปนวิธีการเรียนรูผานประสบการณ
ผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูดวยตนเองเสมือนอยูในสถานการณจริง การ
สรุปผลการเรียนรูโดยการสะทอนคิดประสบการณจากสถานการณจาํ ลองชวยถายโยง
ความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติผูเรียนไดทําความเขาใจวิเคราะหความคิดความรูสึกตอ
กิจกรรมท่ีไดปฏิบัติในสถานการณและสรุปหลักการหรือแนวคิดท่ีจะนําไปประยุกต
ในสถานการณใหม

กิจกรรมที่นิยมใช 20
การเรียนรโู ดยใชเกม เปน กระบวนการท่ีผสู อนใชใ นการชว ยใหนกั เรยี น
เกิดการเรียนรูต ามวตั ถปุ ระสงคท ก่ี ําหนด โดยการใหนกั เรียนเลนเกมตามกติกา
และนําเนื้อหาและขอ มลู ของเกม พฤติกรรมการเลน วิธกี ารเลน และผลของ
การเลน เกมของนกั เรียนมาใชใ นการสรปุ การเรียนรูโดยมจี ดุ ประสงคเ พ่ือชวยให
นักเรียนไดเรยี นรูเรือ่ งตา ง ๆ อยางสนกุ สนานและทาทายความสามารถ โดย
นกั เรยี นเปนผเู ลน เองทาํ ใหไดประสบการณต รง เปนวธิ ีทีเ่ ปด โอกาสใหน ักเรยี น
มสี วนรว มสงู

กลวิธเี ดนิ ชมแลกเปลีย่ นเรยี นรูหรือ GALLERY WALK เปนกลวธิ ที ีใ่ ห
ผูเ รียนนาํ เสนอผลงานของกลุมในการศกึ ษาเร่ืองเดยี วกนั ภายหลังจบบทเรยี น ให
กลมุ อื่นมาชมแลกเปลยี่ นเรยี นรูผลงาน แสดงความคดิ เห็น อภิปรายภายในกลมุ
โดยเขยี นเครอ่ื งหมายหนา ขอความทม่ี ีความเหน็ เหมือนกันและเขยี นความคดิ เห็น
ทีแ่ ตกตา งกัน ถาไมแ นใจในประเด็นทีเ่ พอ่ื นนาํ เสนอใหใ สเคร่ืองหมายคาํ ถามไว
กลวิธนี ้ใี ชเ ม่อื ตองการใหน กั เรียนนาํ เสนอผลงานโดยทุกคนมีสว นรวม กลวิธีน้ี
ชว ยฝก ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห การตัง้ คาํ ถาม การตอบคาํ ถามการสอื่ สารและการ
ยอมรับฟงความคดิ เห็นของผอู ่นื

ขอดีของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน  21

ขอดีของการจัดการเรียนรู
โดยใชกิจกรรมเปนฐาน

ขอดีของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 22

เปนแรงขับท่ที าํ ใหผูเ รียนอยากเรียนรใู นเน้อื หารายวิชา
สง เสรมิ และพัฒนาทักษะการสรางการทํางานเปนทีมสรางความแขง็ แกรงของ
เครอื ขา ยการเรยี นรูการเรียนรูแบบมสี ว นรว มทาํ ใหผเู รียนเหน็ คณุ คาในตนเอง
ทําใหเ กดิ การแกปญ หาอยางสรางสรรค
สง เสริมการเรียนรูดว ยการคนพบแนวคิดการสรางองคความรูดวยตนเอง
สง เสรมิ การเรยี นใหสนุกสนานมแี บบเรียนรูทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับผูเรยี น
ที่มีความแตกตา งกนั ในรูปแบบการเรยี นรูของแตละคนทาํ ใหการเรยี นสนุก และส่ิง
แวดลอมการเรียนรทู ีต่ น่ื เตนเสริมพลังทางบวกและการมีสวนรว มของผูเรยี นอยา งมี
ชีวิตชวี า
สามารถนําเนื้อหาท่เี รียนไปประยกุ ตใชในการปฏิบัตจิ ริง

ขอดีของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน  23

ชวยสรา งความคงทนในการจดจําขอมูลและสรางแรงจูงใจในการเรยี นรู
ทําใหม สี วนรวมสําหรบั ผูสอนและผเู รยี นไดม ปี ฏิสมั พนั ธกัน
เพมิ่ ชอ งทางสอ่ื สารกบั ผเู รียนที่มคี วามแตกตางกัน
เปนการเตรยี มเสน ทางใหผูเรยี นเห็นคุณคา ยอมรบั และไดร ับสงิ่ ตอบแทน
ทําใหผ ูสอนมีการตื่นตัวอยตู ลอดเวลาคิดคนสง่ิ ใหม ๆ เพ่อื เตรียมจดั การ
เรยี นการสอนใหกบั ผเู รยี น

ขอจาํ กัดของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน 24

ขอ จํากดั ของการจัดการเรยี นรู
โดยใชกิจกรรมเปนฐาน

ขอจาํ กัดของการเรียนรูโดยใชกิจกรรมเปนฐาน  25

การเรยี นรโู ดยใชกจิ กรรมเปนฐานตองใชเ วลาจึงอาจทาํ ใหผสู อนไมสามารถ
จัดการเวลาท่ีมี อยูกับจํานวนเนื้อหาหลกั สูตรท่มี ากได

การเรยี นรูโดยใชก จิ กรรมเปน ฐาน ตอ งใชเ วลาในการเตรยี มการ
การเรยี นรูโดยใชก ิจกรรมเปน ฐานในหอ งเรยี นทีม่ ขี นาดใหญ จาํ นวนผูเรยี น
มากอาจมี ขอ จํากดั ในการดูแล ควบคุมใหผ ูเรียนดาํ เนนิ กจิ กรรมไปในทศิ ทางท่ผี ู
สอนวางแผนไดยาก
ผสู อนทม่ี ีความเชอ่ื มั่นในตนเองสูงคดิ วา ตนเองเปน ผูบ รรยายทดี่ ีจะไมย อมรับ
วิธกี าเรยี นรูโดยใชก ิจกรรมเปนฐานท่ใี หค วามสําคญั กบั กระบวนการมากกวา ผสู อน
ความตอ งการวสั ดอุ ุปกรณจ าํ เปนอยา งยิ่งสาํ หรับการสอน ตอ งมีความพรอ ม
ในการเรอื่ งวัสดอุ ปุ กรณ

ผูเรียนตอตานวิธีการสอนท่ีไมใชการบรรยาย เนื่องจากผูเรียนจะคุนชิน
กับการเรียนโดยวิธีการมารับความรูจากผูสอนมากกวาการเรียนโดยการลงมือ
ปฏิบัติดวยตนเองตามคําแนะนําของผูสอนเพื่อใหเกิดการเรียนรู

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

เพญ็ นภา ตลับกลาง. (2562).//การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนรคู ําศัพทภ าษา
องั กฤษโดยใชว ิธสี อนกจิ กรรมเปนฐาน(รายงานผลการวจิ ยั ). ม.ป.ท :
ม.ป.พ.

สุทัศน เอกา.(2562). ABL : ACTIVITY BASED (ออนไลน) . สืบคนจาก:
HTTPS://WWW.KRUMONTREE.COM/WWW/DOCUMENTS/137-
ABL- ACTIVITY- BASED-LEARNING.HTML [25 สงิ หาคม 2563]

หลักการจดั การเรียนรโู ดยใชกจิ กรรมเปน ฐาน(ออนไลน) . สืบคน จาก:
HTTP://WWW.SECONDARY29.GO.TH/DATA/WARUT/FILE/POST
2_1%20ACTIVITY%20BASED%20LEARNING%20(1).DOC [25
สงิ หาคม 2563]


Click to View FlipBook Version