The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jnbjoker8, 2021-07-15 03:38:47

ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม

ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม

Keywords: ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม

~1~

~ก~

ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรนิ พทิ ยาคม
พทุ ธศักราช 2564

เอกสารวชิ าการ ลำดบั ท่ี ๑/2564
ปที ่ีพิมพ์ พ.ศ. 2564
จดั พมิ พ์โดย โรงเรยี นนำ้ รินพิทยาคม

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาพิษณโุ ลก อตุ รดิตถ์
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

~ข~

ประกาศโรงเรียนนำ้ รนิ พทิ ยาคม
เรื่อง การใชธ้ รรมนูญโรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม พทุ ธศักราช 2564

…………………………………….
ตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนโยบายให้สถานศึกษาจัดทำธรรมนูญ
โรงเรยี นเพ่อื รวบรวมระเบียบ ข้อกำหนด รวมทั้งแนวปฏิบตั ิของสถานศึกษาไว้ใหเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการ
สร้างความเข้าใจกับบุคคลที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับระเบียบ
ปฏิบตั ิ วัฒนธรรมประเพณีและขนบธรรมเนียมอนั ดีงามของสถานศึกษาแต่ละแหง่ เปน็ สำคัญ ในการนี้
โรงเรียนได้ดำเนนิ การจดั ทำธรรมนญู โรงเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณแ์ ละนโยบายดังกลา่ วแล้ว
โรงเรยี นน้ำรนิ พิทยาคม โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรยี น
นำ้ รินพทิ ยาคม ตามมติการประชุมครงั้ ที่ ๑ /2564 เมือ่ วันที่ ๑๔ มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ให้โรงเรยี น
ประกาศใชธ้ รรมนญู โรงเรียนน้ำรนิ พทิ ยาคม พทุ ธศักราช 2564 ตั้งแต่ ปกี ารศกึ ษา 2564 เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันที่ 1๔ มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

(นายยงคย์ ทุ ธ รงุ่ แจง้ )
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนนำ้ รินพิทยาคม

~ค~

คำนำ

โรงเรียนน้ำรินพิทยาคม มีความประสงค์ท่ีจะรวบรวมประวัติการจัดต้ังโรงเรียนน้ำรินพิทยา
คม รวมท้งั ความมุ่งหมาย หลกั เกณฑร์ ะเบยี บและแนวทาง ในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนใหส้ อดคล้อง
กับบริบทความเป็นโรงเรียน และเหมาะสมกับการเป็นโรงเรียนที่มุ่งม่ันพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดีมี
คุณธรรมจริยธรรมมีวินัย มีความรู้ความสามารถ มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักการเสียสละ
ประโยชน์ส่วนตนเพื่อสว่ นรวม มีความกตญั ญูกตเวที จงรักภักดีตอ่ ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ เป็น
พลเมืองท่ีดีของสังคมท้ังในปัจจุบนั และอนาคตพรอ้ มช่วยกันพัฒนาชาติบ้านเมอื งใหเ้ จริญรงุ่ เรืองมัน่ คง
ต่อไป จึงจัดทำ“ ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม”ฉบับนี้ขึ้นเพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นคู่มือและแนว
ทางการบริหารจัดการภารกิจของโรงเรยี น ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพ่ือให้โรงเรียนให้มีความเจริญ
มน่ั คงสถาพรสืบไป

อนึ่งธรรมนูญโรงเรียนน้ีได้จัดทำข้ึนเป็นคร้ังแรกซ่ึงอาจมีการแก้ไขเพิ่มเติมได้ในอนาคต
เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกับบริบทของสงั คม ประเทศชาตแิ ละประโยชน์ของโรงเรยี นเปน็ สำคญั

โรงเรียนขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่างธรรมนูญโรงเรียนน้ีให้สำเร็จตาม
ความมุ่งหมาย เพ่ือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และความเจริญรุ่งเรืองม่ันคงสถาพรของโรงเรียนน้ำริน
พทิ ยาคมตลอดไป

โรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม

~ง~ ค

สารบัญ ๑

คำนำ ๑๓
สารบญั ๑๓
ขอ้ มลู ท่วั ไปโรงเรยี นนำ้ รนิ พทิ ยาคม
หมวดที่ 1 บททว่ั ไป ๑๔
หมวดที่ 2 นโยบายโรงเรียน ๑๕
หมวดท่ี 3 รปู แบบการจัดการศกึ ษา ๒๑
หมวดท่ี 4 ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
หมวดท่ี 5 นกั เรยี น ๒๗
หมวดที่ 6 คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ๒๘
หมวดท่ี 7 วฒั นธรรมโรงเรียนน้ำรนิ พิทยาคม
หมวดที่ 8 การประกาศใช้ธรรมนญู โรงเรียน ๒๙

~๑~

~๑~

ขอ้ มลู ทั่วไปโรงเรยี นนำ้ รนิ พิทยาคม

สภาพทว่ั ไปของโรงเรยี นนำ้ รนิ พทิ ยาคม
โรงเรียนนำ้ รนิ พทิ ยาคม ตำบลบา้ นกลาง อำเภอวงั ทอง จังหวัดพิษณุโลก สงั กดั

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาพิษณโุ ลก อตุ รดิตถ์ โทรศัพท์ ๐-๕๕๙๘-๙๒๔๑ โทรสาร
๐-๕๕๙๘-๙๒๔๑ website http://www.nrpk.ac.th/เปิดสอนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถึง
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๖

ประวัติโดยยอ่ ของโรงเรียนนำ้ รนิ พทิ ยาคม
โรงเรียนน้ำรินพิทยาคม เดิมเป็นสาขาของโรงเรียนบ้านกลางพิทยาคมซึ่งเปิดทำการสอน

ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๓๓ โดยนายพรศกั ด์ิ วฒั นบรรเจดิ กจิ อาจารย์ใหญโ่ รงเรยี นบ้านกลางพิทยาคม
ในขณะนนั้ เปน็ ผูร้ เิ ร่ิมเปิดสาขาโรงเรียนแหง่ นี้และไดแ้ ต่งต้ังผู้ชว่ ยอาจารย์ใหญค่ ือนายชาตรี พรหมคำ
เป็นผู้ดแู ลสาขาโดยอาศัยศาลาการเปรยี ญวดั น้ำรินเจริญธรรม เป็นสถานที่เรียนช่ัวคราวต่อมาปี พ.ศ.
๒๕๓๕ กรมสามัญศึกษาในขณะนั้นได้ประกาศจัดต้ังโรงเรียนเป็นเอกเทศ ใช้ช่ือว่า “โรงเรียนน้ำริน
พทิ ยาคม” และสภาตำบลบ้านกลาง นำโดยนายมานะ โพธิกัญญา กำนันตำบลบ้านกลาง ได้เล็งเห็น
ความสำคัญของการศึกษา จึงมีมติให้ใช้ที่ดินสาธารณะประโยชน์ของหมู่บ้านน้ำรินจำนวน ๑๐๐ ไร่
เป็นทต่ี ง้ั โรงเรยี น ซึง่ เป็นเนนิ เขา อย่หู า่ งจากหมบู่ า้ นน้ำริน ประมาณ ๓ กิโลเมตร และอยู่ห่างจากถนน
สาธารณะประมาณ ๕๐๐ เมตร ไม่มีทางเข้าและออกคณะกรรมการหมู่บ้านน้ำรินจึงขอความร่วมมือ
จากชาวบ้านท่มี ีที่ดินอยู่หนา้ โรงเรียน เพื่อขอทางเข้าออกสู่ถนน และได้รบั ความร่วมมือจากชาวบ้าน
เป็นอยา่ งดี โดยนางจดั กอนจร และนายลมบุญ สีหาอวน เจ้าของที่ดินทงั้ ๒ ราย ได้บริจาคท่ีดินเป็น
ทางเขา้ ออก สู่ถนนเป็นระยะทางยาว ๔๐๐ เมตร กวา้ ง ๖ เมตร

ในปกี ารศึกษา ๒๕๓๓ โรงเรียนได้งบประมาณจากกรมสามัญศกึ ษาในขณะนน้ั ให้กอ่ สรา้ ง
อาคารเรยี นแบบเบ็ดเสร็จ ก จำนวน ๑ หลงั บ้านพกั ภารโรง จำนวน ๑ หลัง ห้องนำ้ นักเรยี น จำนวน
๑ หลัง และสนามบาสเกตบอล จำนวน ๑ สนาม

ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๖ โรงเรยี นได้รับงบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบเบ็ดเสร็จ ข
จำนวน ๑ หลัง อาคารแบบเบ็ดเสร็จ ค จำนวน ๑ หลงั บา้ นพกั ครูจำนวน ๑ หลัง ถังเก็บนำ้ ฝน คสล.
แบบ ฝ. ๓๓ จำนวน ๑ ชุด ซุ้มประตู รัว้ ปา้ ยโรงเรียนและเสาธง

ในปีการศึกษา ๒๕๔๐ โรงเรียนไดร้ ับอนมุ ัติจากกรมสามญั ศึกษาในขณะนนั้ ใหท้ ำการเปิดสอน
ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ทตี่ ัง้ ของโรงเรยี นนำ้ รินพทิ ยาคม
โรงเรียนอยบู่ นเนนิ เขาเน้ือท่ี ๑๐๐ ไร่ รอบ ๆ บรเิ วณโรงเรียนเปน็ ไร่มันสำปะหลงั เนอ่ื งจาก

โรงเรยี นต้ังห่างจากถนนประมาณ ๕๐๐ เมตร และอยบู่ นเนินเขา นกั เรียนต้องเดนิ จากถนนทางเข้าข้นึ
มาถึงโรงเรยี นเปน็ ระยะทางมากกว่า ๕๐๐ เมตร

ในปีการศึกษา ๒๕๓๓ กรมสามัญศึกษาในขณะน้ัน ได้แต่งต้ัง นายพละ พันธุ์พินิจ อาจารย์
๑ ระดับ ๕ โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ ในปีการศึกษาแรก มีครูท้ังสิ้น
๘ คน นกั การภารโรง ๑ คน และยามรักษาการณ์ ๑ คน

~๒~

ในวนั ท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๓๗ กรมสามญั ศกึ ษาในขณะน้ันได้มคี ำสงั่ แต่งตั้งให้ นายวิโรจน์
นาคคงคำ ตำแหน่งครใู หญโ่ รงเรียนน้ำรนิ พทิ ยาคม และเป็นอาจารย์ใหญ่ในเวลาต่อมา

ในวันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๔๒ กรมสามัญศึกษาในขณะน้นั ไดม้ คี ำสั่งแตง่ ตัง้ ให้ นายวโิ รจน์
นาคคงคำ ตำแหนง่ อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนน้ำรนิ พิทยาคม เป็นผู้อำนวยการโรงเรยี น

ในวนั ที่ ๓ ธนั วาคม ๒๕๔๗ กรมสามญั ศึกษาในขณะนนั้ ได้มคี ำสง่ั แต่งตั้งให้ นายบรรจง
เลศิ เสม มาดำรงตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นนำ้ รินพิทยาคม

ในวนั ท่ี ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต ๒ ได้มีคำส่งั
แตง่ ตั้ง ให้นายสมาน สารคี ำ มาดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม

ในวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต ๒ ได้มีคำสง่ั
แตง่ ตง้ั ให้นายพยพั อนันนลิ มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนนำ้ รินพทิ ยาคม

ในวนั ท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๙ ได้มี
คำสัง่ แต่งตัง้ ใหน้ ายชยั ลกั ษณ์ รกั ษา มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม

และในวนั ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๙ ได้มี
คำสัง่ แต่งตัง้ ให้นายยงคย์ ทุ ธ รุ่งแจ้ง มาดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนน้ำรนิ พทิ ยาคม จนถงึ
ปัจจุบัน

สัญลกั ษณ์ของโรงเรยี นนำ้ รินพทิ ยาคม

พระพิรณุ
สปี ระจำโรงเรียนน้ำรินพทิ ยาคม
“เหลอื ง – ฟ้า ”
สเี หลอื ง หมายถึง คุณธรรม สีฟ้า หมายถงึ นำปญั ญา
ปรชั ญาโรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม
อตตฺ านํ ทมยนฺติ ปณฺฑติ า แปลวา่ บัณฑิตยอ่ มฝกึ ตน
อัตลกั ษณข์ องนำ้ รนิ พทิ ยาคม
มารยาทดี มีทักษะชวี ติ จิตสาธารณะ
เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น
โรงเรียนดี มภี มู ิทศั น์เดน่ เป็นแหลง่ เรียนรู้

~๓~

วิสยั ทัศน์
“ภายในปี ๒๕๖๕ โรงเรียนน้ำรนิ พทิ ยาคม จัดการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
บนพ้นื ฐานของความเป็นไทย”

ขอ้ มลู พนื้ ฐานของโรงเรยี นน้ำรนิ พทิ ยาคม (ข้อมลู ปีการศึกษา 2564)

ท่ี อาคาร แบบ จำนวน ปีทีส่ รา้ ง งบประมาณ หมายเหตุ
(หลัง) พ.ศ. (บาท)

1. อาคารเรียน เบด็ เสร็จ ก. 1 2535 6,338,000

2. อาคารเรยี น เบด็ เสร็จ ข. 1 2535 2,248,000

3. อาคารเรียน อื่น ๆ 004,008,030, 1 2535 1,248,000

107,206,210,214,

315,415,308

4. บ้านพักครู สปช.301/26 1 2535 402,000

5. บ้านพักภารโรง อื่น ๆ 1 2535 121,000

6. สนามกฬี า สนามบาสเก็ตบอล 1 2535 151,000

7. ถังเก็บน้ำ ฝ.33 1 2535 101,000

8. บา้ นพักครู บ้านพักครู 205/26 2 2536 443,000

(5 ห้องนอน)

9. สว้ ม ส้วมมาตรฐาน 6 ท่ีน่งั /27 2 2536 180,000

10. สว้ ม สปช.603/29 1 2553 246,000

11. บ้านพักนกั เรียน บา้ นพกั นกั เรียน 8 คน 4 2537 293,000

12. หอสมดุ อ่ืน ๆ 1 2542 320,000

13. สนามกีฬา อ่ืน ๆ 1 2555 1,989,900

14. สนามกฬี า สนามฟุตบอลแบบ ฟ.1 1 2558 740,000

ทำเนยี บผ้บู ริหารโรงเรยี นนำ้ รินพทิ ยาคม

ลำดับท่ี ช่ือ – สกลุ ปีทีด่ ำรงตำแหนง่
1. นายพละ พันธ์ุพินจิ พ.ศ.2533 - พ.ศ.2537
2. นายวิโรจน์ นาคคงคำ พ.ศ.2537 - พ.ศ.2547
3. นายบรรจง เลิศเสม พ.ศ.2547 - พ.ศ.2549
4. นายสมาน สารคี ำ พ.ศ.2549 - พ.ศ.2551
5. นายพยพั อนันนลิ พ.ศ.2551 - พ.ศ.2554
6. นายชัยลกั ษณ์ รกั ษา พ.ศ.2554 - พ.ศ.2559
7. นายยงค์ยุทธ ร่งุ แจ้ง พ.ศ.2559 - ปัจจบุ นั

~๔~

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนนำ้ รนิ พทิ ยาคม

เกียรติประวัติโรงเรยี น
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘
1. เกยี รติบัตร ได้รับคัดเลือกใหเ้ ปน็ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละการ

บรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประจำปี 2557 “สถานศึกษาพอเพียง 2557”
จากกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้ไว้ ณ วันท่ี 20 ตุลาคม พุทธศักราช 2558

2. หนังสือสำคัญเพ่ือแสดงว่า โรงเรียนน้ำรินพิทยาคม ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา
รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานดา้ นมัธยมศกึ ษา ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 26 พฤษภาคม 2558

~๕~

ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙
๑. โล่เชิดชูเกียรติ เปน็ โรงเรียนขนาดเลก็ ที่มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2559 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
39 ให้ไว้ ณ วนั ที่ 15 มถิ นุ ายน 2560
ปีการศึกษา ๒๕๖๐
๑. เกียรตบิ ตั รรางวลั ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ประจำปี 2560 ระดบั ดีเด่น ประเภท
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก จากสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 ให้ไว้ ณ วันท่ี
7 กันยายน 2560
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑
๑. โล่เกียรติคุณ เพื่อแสดงว่า ได้จัดการศึกษาร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษากับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ทวิศึกษา) ร่วมกับวิทยาลัยสารพัดช่างพิษณุโลก ประสบความสำเร็จอย่างดียิ่ง จาก
สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค 17 ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 2 มีนาคม พทุ ธศักราช 2561
๒. เกียรติบัตรรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ประจำปี 2561 ระดับเงิน ประเภท
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 ให้ไว้ ณ วันที่
28 กันยายน 2561
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
๑. เกียรติบัตรโรงเรยี นที่มผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับ
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 คะแนนเฉล่ียรวม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลักสูงขึ้น ร้อยละ
3.96 จากสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 39 ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 27 กนั ยายน 2562
๒. เกียรติบัตร รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่นระดับทอง โครงการสถานศึกษาสี
ขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2561 จากกระทรวงศึกษาธิการ ให้ไว้ ณ วันที่ 29
กรกฎาคม 2563
๓. เกียรติบัตรเพ่ือแสดงว่าโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม ได้รับรางวัลคุณภาพดีเย่ียม โครงการ
หอ้ งเรยี นนา่ อยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล ปีการศกึ ษา 2562 จากสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา
เขต 39 ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2563
ปีการศึกษา ๒๕๖๓
1. เกียรติบัตรเพ่ือแสดงว่าโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม เป็นสถานศึกษาคุณภาพยอดเยี่ยม
กิจกรรมห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล วิถีใหม่New Normal “โรงเรียนสุขภาพดี นักเรียนมี
ความสุข” (Back to Healthy School)ปีการศึกษา 2563 จากสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 39 ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 11 กนั ยายน 2563
๒. เกียรติบัตรเพ่ือแสดงว่าโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม ได้รับการรับรองเป็นโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. ระดบั 1 ดาว ตามโครงการสร้างความเขม้ แข็งเครอื ข่ายโรงเรยี นดีมที ่ียืน จากสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 39 ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 10 ธนั วาคม 2563

~๖~

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
๑. เกียรติบัตรเพ่ือแสดงว่าโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม ได้รับการรับรองเป็นโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. ระดับ 2 ดาว ตามโครงการสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายโรงเรียนดีมีที่ยืน จากสำนักงานเขต
พน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 39 ให้ไว้ ณ วันท่ี 29 มกราคม 2564
แผนผงั โรงเรียน แสดงทีต่ ั้งอาคารเรียนและอาคารประกอบ

บรบิ ทของโรงเรียน
๑. จดุ แข็ง (Strengths)
๑.๑ โรงเรยี นมกี ารแบง่ โครงสรา้ งการบริหาร 5 กลุ่มงาน คอื กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่ม

บริหารทั่วไป กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณและแผนงาน กลุม่ บรหิ ารงานบุคลากร และกล่มุ บรหิ ารกจิ การ
นกั เรยี น

๑.๒ มีนโยบายใหน้ ำ ICT มาใช้ในการบรหิ ารจดั การศึกษาในสถานศึกษาสง่ ผลให้คุณภาพการ
จัดการศึกษาดีขน้ึ

๑.๓ มีนโยบายใหช้ ุมชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาสง่ ผลใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการ
จัดการศกึ ษา

~๗~

๑.๔ มกี ารกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย แผนงาน การทำงานไว้ชัดเจน สง่ ผลให้
ผู้ปฏิบตั ิงานมแี นวทางการดำเนนิ งาน

๑.๕ มีการกำหนดโครงสรา้ งการบรหิ าร นโยบายในการปฏิบตั งิ านทำใหม้ ีทิศทางในการ
ทำงาน บุคลากรปฏบิ ัตหิ น้าทไี่ ดถ้ กู ตอ้ งรวดเร็ว

๑.๖ มีระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา การบริหารจดั การศึกษา
อย่างต่อเน่ือง ทำให้ผลการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีประสิทธิภาพ

๑.๗ มนี โยบายใหบ้ คุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการกำหนดนโยบายวสิ ยั ทศั น์ แผนงาน ทำให้บคุ ลากร
เกดิ ความตระหนักในหน้าที่และความรับผดิ ชอบ

๑.๘ มีนโยบายในการพฒั นาบุคลากรทางการศึกษาทำใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านมปี ระสทิ ธภิ าพ
๑.๙ การไดร้ ับการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสำนักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 ส่งผลตอ่ การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
๑.๑๐ โรงเรียนมกี ารบริการนักเรียนด้านต่างๆ ใหแ้ กน่ ักเรียน เช่น จดั หาทุนการศึกษา
บรกิ ารบา้ นพักนกั เรยี นประจำพกั นอน
๑.๑๑ โรงเรียนและชมุ ชนใหบ้ ริการ อำนวยความสะดวกในกจิ กรรมต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง
๑.๑๒ โรงเรยี นจดั หาบคุ ลากรท้องถ่ิน เพือ่ ส่งเสรมิ และอนุรักษ์ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ
๑.๑๓ ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรอู้ ย่างหลากหลายส่งผลให้
นักเรียนได้รบั การพฒั นาตามศกั ยภาพและมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
๑.๑๔ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้จัดกจิ กรรมชว่ ยเหลอื นกั เรยี นยากจน พิการและด้อยโอกาส
ทำใหไ้ ดร้ บั โอกาสในการศกึ ษาและพัฒนาตามศกั ยภาพ
๑.๑๕ สง่ เสริมและสนบั สนุนให้ใช้แหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถ่นิ อย่างหลากหลาย ทำให้นักเรยี นมี
ความตง้ั ใจเรยี นและมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทด่ี ี
๑.๑๖ เร่งรดั ตดิ ตามใหน้ ักเรียนเขา้ เรยี นตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คบั สง่ ผลให้
นกั เรยี นไดร้ ับสิทธแิ ละโอกาสในการศกึ ษาอย่างท่ัวถงึ
๑.๑๗ บุคลากรมีความรู้ความสามารถ มีความรบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
๑.๑๘ บคุ ลากรสว่ นหน่งึ เสียสละเวลาส่วนตัวให้กับงานราชการด้วยความเตม็ ใจ
๑.๑๙ บคุ ลากรมจี รรยาบรรณต่อวิชาชีพครู และมีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง
๑.๒๐ ส่งเสริมให้ผู้บรหิ ารครแู ละบุคลากร นำสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีท่ ันสมยั มาพฒั นา
งาน พัฒนาตนเอง ใหท้ ันต่อเหตุการณ์
๑.๒๑ บุคลากร มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ได้รบั การพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื งและ
มีประสิทธิภาพ
๑.๒๒ บุคลากรในโรงเรียนมมี นษุ ยสมั พนั ธ์และปฏสิ ัมพันธท์ ี่ดกี ับผมู้ าขอรบั บริการ
๑.๒๓ บคุ ลากรทางการศึกษามคี ุณธรรม จรยิ ธรรมทดี่ ี
๑.๒๔ จากนโยบายโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ทำใหโ้ รงเรียนไดร้ ับการชว่ ยเหลืองบประมาณการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรยี น
๑.๒๕ โรงเรยี นมกี ารจัดทำโครงการเพอ่ื เสนอขอตัง้ งบประมาณจากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

~๘~

๑.๒๖ โรงเรียนและชุมชนร่วมมอื กนั ระดมเงนิ ทนุ และทรพั ยากรในการจัดกจิ กรรม
๑.๒๗ การบริหารงานงบประมาณมีความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ ส่งผลให้เกิดประสทิ ธิภาพใน
การใชเ้ งินงบประมาณ
๑.๒๘ การใช้เงินงบประมาณเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ความขาดแคลนและความต้องการจำเป็น
ตามลำดบั ความสำคัญ
๑.๒๙ มกี ารระดมทรพั ยากรจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนทำใหโ้ รงเรยี นมีงบประมาณ
สนบั สนุนในการจัดกจิ กรรมพฒั นาศักยภาพของผูเ้ รยี น
๑.๓๐ การบรหิ ารการเงนิ และงบประมาณสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคข์ องแผนงานโครงการ
ตามแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี
๑.๓๑ มกี ารจัดทำรายงานการใช้จา่ ยงบประมาณตามแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี
๑.๓๒ มีการจดั ทำระบบบญั ชีใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ันถูกตอ้ งตามระเบยี บของทางราชการสามารถ
ตรวจสอบได้
๑.๓๓ โรงเรยี นได้รับการติดตาม ตรวจสอบการใช้จา่ ยงบประมาณ การเงนิ และบญั ชี จาก
หนว่ ยตรวจสอบภายใน ของสำนักเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 39
๑.๓๔ โรงเรียนมีครูทีม่ คี วามสามารถในการซอ่ มบำรงุ วสั ดอุ ุปกรณ์
๑.๓๕ โรงเรยี นมกี ารจดั ซ้อื จัดหา วสั ดุอุปกรณ์ใหเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการเพอื่ ใช้ในการจดั
การศกึ ษา
๑.๓๖ โรงเรียนจัดเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์การศึกษาทเี่ ออ้ื อำนวยความสะดวกให้กับนกั เรยี นอย่าง
เพยี งพอ
๑.๓๗ โรงเรยี นรว่ มกับคณะกรรมการสถานศกึ ษากำหนดทิศทางและนโยบายการดำเนนิ งาน
ของโรงเรียน
๑.๓๘ โรงเรยี นมกี ารประชมุ และวางแผนเพ่ือเตรยี มงานกิจกรรมตา่ ง ๆ
๑.๓๙ มกี ารจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศเปน็ ระบบทนั สมัย ทำใหส้ ะดวกต่อการนำมาใชใ้ ห้เกดิ
ประโยชนใ์ นการบรหิ ารจัดการ
๑.๔๐ มกี ารประสานงานและประชาสัมพนั ธ์สื่ออย่างรวดเร็ว ทวั่ ถึง ทำให้ชุมชน โรงเรยี นและ
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ รับทราบขอ้ มลู ขา่ วสารทีเ่ ปน็ ปัจจบุ ัน
๑.๔๑ บุคลากรมีสว่ นรว่ มในการบริหารจดั การทำใหโ้ รงเรียนมคี วามเขม้ แขง็ บริหารงานอย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ
๑.๔๒ โรงเรียนมกี ารบริหารจดั การโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานในการพฒั นา
๑.๔๓ โรงเรียนใชแ้ ผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี เปน็ เคร่ืองมือใน
การบริหารจัดการศกึ ษา
๑.๔๔ มกี ารพฒั นาใช้ส่อื เทคโนโลยีและส่ือ ICT อย่างต่อเน่ือง ในการบริหารจัดการศึกษา
๑.๔๕ มกี ารนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัติงานภายในโรงเรยี น ทำให้
บคุ ลากรมีความกระตือรอื รน้ ในการปฏบิ ตั ิงาน
๑.๔๖ การบรหิ ารดา้ นการจัดการความรู้ และชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ เป็นระบบทำให้การ
แลกเปล่ยี นความรู้และการจดั ความรู้มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

~๙~

๒. จดุ ออ่ น (Weaknesses)
๒.๑ จำนวนบคุ ลากรมีจำกัด บุคลากรรบั ผิดชอบหลายหนา้ ที่และหลายฝา่ ย
๒.๒ นักเรียนบางส่วนยงั ขาดวนิ ัยในตนเอง
๒.๓ บุคลากรมีหนา้ ที่รบั ผิดชอบและภาระงานพเิ ศษนอกจากงานสอนมาก
๓. โอกาส (Opportunities)
๓.๑ โรงเรยี นตั้งอยใู่ นชุมชนท่มี ีประเพณีวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายทำให้นกั เรียนมแี หล่งเรยี นรู้
เพิ่มขนึ้
๓.๒ ชมุ ชนมีวฒั นธรรมและประเพณที ห่ี ลากหลายและเอือ้ ต่อการจัดการศกึ ษา
๓.๓ องค์กรภาครฐั และเอกชน ท้งั ในและนอกทอ้ งถ่นิ ใหค้ วามร่วมมือ สนับสนนุ ส่งเสริมการ
จัดการศึกษาของโรงเรียน
๓.๔ ชมุ ชนมีความตระหนักถงึ ความสำคัญของการจัดการศกึ ษาและสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้บุตร
หลานเข้ารบั การศึกษา
๓.๕ ชมุ ชนให้การสนบั สนุนภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ทำใหก้ ารจดั การศกึ ษามีประสิทธิภาพ
๓.๖ การพฒั นาด้านการส่อื สารเป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ผู้ปกครองทราบความเคล่อื นไหวเก่ยี วกบั
นโยบายการศึกษาของรัฐบาล ท่พี ยายามสนบั สนุนโอกาสสทิ ธิความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ผูป้ กครองสว่ นหนงึ่ เห็นความสำคัญของการจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
๓.๗ การพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยสี ง่ ผลให้เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรรู้ ะหวา่ งหนว่ ยงาน
ภาครัฐและเอกชน ทำให้นักเรียนได้รับองคค์ วามร้ใู หม่ ๆ ด้านเทคโนโลยี
๓.๘ รัฐบาลส่งเสรมิ และพัฒนาใหห้ น่วยงานทางการศกึ ษาพัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ
นวตั กรรมและเทคโนโลยี สง่ ผลใหน้ กั เรยี นไดร้ ับโอกาสในการแสวงหาความรูโ้ ดยผา่ นระบบเครือข่าย
อเิ ล็กทรอนิกสม์ ากข้ึน
๓.๙ ความก้าวหน้าดา้ นเทคโนโลยี ทำให้สถานศึกษาครู และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนา
ตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง เพ่อื ใหส้ ามารถใช้เทคโนโลยีการสนบั สนุนการจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๓.๑๐ ผลจากการสร้างเขื่อนเกบ็ นำ้ ขนาดใหญ่ในชุมชน ทำให้ผู้ปกครองส่วนหนงึ่ มรี ายได้
จากการทำอาชพี ประมง
๓.๑๑ ทนุ การศึกษาตามนโยบายรัฐบาล ทง้ั กองทุนให้กู้ยมื เพ่อื การศึกษาและปจั จยั พ้ืนฐาน
นักเรยี นยากจน ทำให้นกั เรยี นไดร้ บั การศึกษาต่อเน่อื ง
๓.๑๒ กองทนุ ตามนโยบายของรฐั บาลสง่ ผลให้ผปู้ กครองสรา้ งงานสรา้ งอาชพี ทำให้มีรายได้
เพมิ่ ขนึ้
๓.๑๓ ภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมศี กั ยภาพในการสนบั สนุนทรพั ยากรการ
จัดการศกึ ษา
๓.๑๔ การสนับสนุนงบประมาณการพฒั นาการศกึ ษาจากรฐั บาลเพ่ิมขึ้น ทำให้โรงเรียนมี
งบประมาณสนบั สนนุ ท่เี พียงพอ
๓.๑๕ กฎหมายการกระจายอำนาจการบริหารมีผลทำให้หนว่ ยงานองคก์ รปกครองส่วน
ท้องถ่นิ และผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ งใหก้ ารจัดการศกึ ษาเพิม่ ขน้ึ

~ ๑๐ ~

๓.๑๖ พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เตมิ ฉบับที่ 2 ฉบับที่ 3
และแกไ้ ขเพ่ิมเติมฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ.2562) ทำใหป้ ระชากรวยั เรยี นมโี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาอย่างมี
คณุ ภาพ เสมอภาคและท่วั ถึง

๓.๑๗ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เติมฉบับที่ 2 ฉบบั ที่ 3
และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ.2562) มีผลทำใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษาสมู่ าตรฐาน

๓.๑๘ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและ
ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา พ.ศ.2560 ทำใหโ้ รงเรียนพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๓.๑๙ รฐั บาลดำเนนิ โครงการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาตง้ั แตร่ ะดับอนบุ าลจน

จบการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สง่ ผลให้ผู้ปกครองนำนกั เรยี นเขา้ มาศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๔. อุปสรรค (Threats)

๔.๑ โรงเรียนตง้ั อยูห่ า่ งไกลสถานท่สี ำคญั ในการติดตอ่ ราชการ เชน่ สำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษา ทว่ี า่ การอำเภอวงั ทอง ธนาคารกรงุ ไทย เปน็ ตน้ ทำให้ใช้เวลานานในการเดินทางเพอื่ ติดต่อ
ราชการ

๔.๒ ค่านิยมกระแสวฒั นธรรมสงั คมเมอื งกระทบต่อวิถชี ีวติ ชนบท ทำใหพ้ ฤตกิ รรมเปลีย่ นไป
ในทางทีไ่ ม่เหมาะสม

๔.๓ ปญั หาครอบครวั แตกแยก หย่าร้าง ผ้ปู กครองทำงานต่างถิ่น ส่งผลให้เดก็ มพี ฤตกิ รรมท่ี
ไมพ่ ึงประสงค์

๔.๔ การแพร่กระจายของสอ่ื ท่ไี ม่เหมาะสมทมี่ าพรอ้ มกบั เทคโนโลยีมอื ถอื ส่งผลให้นกั เรยี น
ใชส้ อื่ อยา่ งไมเ่ หมาะสม แบง่ เวลาไม่ถกู ตอ้ ง

๔.๕ นกั เรยี นบางสว่ นมีพฤตกิ รรมติดเกมส่งผลกระทบตอ่ การเรยี น
๔.๖ ชมุ ชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ผู้ปกครองส่วนใหญ่มฐี านะยากจน บางปมี ี
ภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำ
๔.๗ ผ้ปู กครองส่วนใหญไ่ ปทำงานต่างถน่ิ ทำให้เด็กขาดความเอาใจใส่ดูแลจากบดิ ามารดา
สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมพี ฤติกรรมเสีย่ งหลายด้าน
๔.๘ ภัยธรรมชาติทำให้ผลผลิตทางเกษตรลดลงสง่ ผลให้ผปู้ กครองขาดรายได้ ซง่ึ ไม่สามารถท่ี
จะสนบั สนุนวสั ดุอปุ กรณ์การศึกษาของผู้เรยี นได้
๔.๙ ภาวะวกิ ฤตทิ างเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
๔.๑๐ ผปู้ กครองมีรายได้นอ้ ย สง่ ผลให้ประชากรวยั เรียนมคี ุณภาพชีวติ ไมด่ ี และขาดโอกาส
ได้รับการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๔.๑๑ การยา้ ยถน่ิ ฐานและท่ที ำงานของผู้ปกครอง ทำให้เด็กขาดความตอ่ เนื่องในการเรยี น
๔.๑๒ กฎหมาย ระเบียบและแนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
ไม่เออ้ื ตอ่ การสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาโดยตรง
๔.๑๓ ผ้ปู กครองไม่มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั การจัดการศกึ ษาตามแนวทางการปฏิรปู
การศกึ ษา ทำใหไ้ ม่สามารถสง่ เสริมสนับสนุนการเรียนร้ขู องบุตรหลานได้
๔.๑๔ นโยบายการศึกษามีการเปลีย่ นแปลงตามสภาวะทางการเมืองทำใหก้ ารจดั การศกึ ษา

~ ๑๑ ~

ไม่ต่อเนอ่ื งและไม่บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์
๔.๑๕ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนักศกึ ษา พ.ศ.25๕๔

ทำให้มีขอ้ จำกดั ในการควบคมุ ความประพฤติของนักเรยี น
รปู แบบการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นนำ้ รินพิทยาคม

บทเพลงและทำนองมารช์ โรงเรยี นน้ำรนิ พทิ ยาคม

ดั่งสายน้ำใหค้ วามชุ่มเยน็ ดจุ ดงั่ เป็นดวงตะวันทเี่ จดิ จา้

ณ ท่ีนี้นำ้ รนิ พทิ ยาคม นำปญั ญาสมู่ วลชนให้กา้ วไกล

(*) สามัคคเี ราจะนำใหล้ ้ำค่า ซ่ือสตั ยพ์ ัฒนาไม่หวั่นไหว

เรยี นดีกีฬาเด่นเน้นวนิ ัย คุณธรรมจิตแจม่ ใสนำ้ ใจงาม

เหลือง - ฟา้ เป็นศรีสง่า มวลประชาได้ยลสมฤทยั

แหล่งเรียนรูเ้ รามมี ากมาย พร้อมจะสรา้ งเด็กไทยให้เจริญ

(* ซำ้ )

เหลือง - ฟา้ เป็นศรีสงา่ มวลประชาไดย้ ลสมฤทัย

น.ค.พร้อมจะก้าวไป สร้างเยาวชนของไทยให้เจรญิ

ประพนั ธโ์ ดย : นายพีรพงษ์ เขียววงั ทอง

(นายพรพฒั น์ สิรบิ ญุ ญาชัย)

~ ๑๒ ~

~ ๑๓ ~

หมวดท่ี 1
บททั่วไป

มาตรา 1 นยิ ามศพั ท์
1. “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนน้ำรินพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

มธั ยมศึกษาพิษณโุ ลก อุตรดิตถ์ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒. “ครู” หมายถึง ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติการสอนของโรงเรียน น้ำริน

พทิ ยาคม
๓. “นกั เรยี น” หมายถงึ นกั เรียนปจั จบุ ันของโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม
๔. “คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายถึง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ของโรงเรยี นนำ้ รนิ พิทยาคม
๕. “ธรรมนูญโรงเรียน”หมายถึง เอกสารหลักฐาน เป็นข้อกำหนดท่ีกำหนดขึ้นของโรงเรียน

น้ำรินพิทยาคม โดยความเห็นชอบคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานโรงเรียนนำ้ รินพทิ ยาคม โดยมี
บคุ คลท่ีเปน็ ผแู้ ทนของทกุ ส่วนทเี่ ก่ียวขอ้ งเปน็ คณะกรรมการดำเนินการจดั ทำ ได้แก่ ผู้บรหิ ารโรงเรียน
ครู คณะกรรมการสถานศกึ ษา เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง ศิษยเ์ ก่า นกั เรียน และผู้ทรงคุณวุฒิทางกฎหมาย
เพอ่ื ให้โรงเรียนนำไปใช้เปน็ กรอบในการบรหิ ารภารกิจให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ และมปี ระสิทธิผลเป็นไปตาม
จดุ ประสงค์ของโรงเรยี น

๖. ธรรมนญู โรงเรียนให้มีผลตัง้ แตว่ ันท่ีโรงเรียนประกาศใช้เปน็ ต้นไป

มาตรา ๒ ธรรมนูญโรงเรียนน้ำรินพิทยาคม พุทธศักราช ๒๕๖๔ มีเจตนาเพื่อรวบรวมระเบียบ
ข้อบังคับ นโยบาย หรือแนวปฏิบัติท่ีเปน็ วฒั นธรรมขององค์กร หากมีมาตราใดหรอื ข้อความใดขัดกับ
ข้อกฎหมายทีท่ างราชการกำหนด ใหถ้ อื ปฏบิ ัตติ ามข้อกฎหมายนน้ั ๆ เปน็ สำคัญ

หมวดที่ 2
นโยบายโรงเรียน

มาตรา ๓ วตั ถปุ ระสงคข์ องโรงเรียน
๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษา เพอ่ื จดั การเรียนการสอนใหผ้ เู้ รยี นทกุ คน ไดร้ ับการศกึ ษาอย่าง

ท่วั ถงึ และมคี ณุ ภาพ
๒. ด้านการบรหิ ารจดั การ เพอื่ พฒั นาระบบบริหารจัดการท่ีเนน้ การมสี ่วนรว่ มเพอื่

เสรมิ สร้างความรบั ผดิ ชอบต่อคุณภาพการศกึ ษาและบูรณาการการจดั การศกึ ษา
๓. ด้านการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่อื ให้

สามารถจัดการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

มาตรา ๔ โรงเรียนกำหนดเป้าหมายให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านความรู้
ความสามารถอยา่ งสงู สุดตามมาตรฐานของโรงเรยี น ดงั ตอ่ ไปน้ี

~ ๑๔ ~

1. สถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
2. โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ตามโครงการสรา้ งความเขม้ แขง็ เครอื ขา่ ยโรงเรียนดมี ีทย่ี ืน
3. โรงเรยี นปลอดบุหรแ่ี ละเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์
4. โรงเรียน “หอ้ งเรยี นน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล”

มาตรา ๕ โรงเรียนกำหนดแนวทางเพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ทัง้ ด้านผู้เรียน ดา้ นกระบวนการ
บรหิ ารและการจดั การ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั เพอ่ื ความ
เป็นเลศิ และมาตรฐานสากลโดยมีกลยุทธ์ ดงั นี้

กลยทุ ธท์ ่ี ๑ จดั การเรยี นการสอนให้ผเู้ รียนทกุ คน ไดร้ บั การศึกษาอย่างท่ัวถงึ และมีคุณภาพ
กลยุทธ์ท่ี ๒ พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การทีเ่ น้นการมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรับผิดชอบ
ต่อคณุ ภาพการศกึ ษาและบูรณาการการจดั การศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี ๓ พัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพือ่ ให้สามารถ
จดั การเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

มาตรา ๖ โรงเรียนจดั กิจกรรมบรกิ ารทางวชิ าการเพอ่ื ส่งเสริมคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นและ
สงั คม โดยการจัดให้มีโครงการสง่ เสริมผเู้ รียนให้มีความเปน็ เลิศตามศกั ยภาพของผู้เรียน “เพชรน้ำรนิ ”

หมวดที่ 3
รปู แบบการจัดการศกึ ษา

มาตรา ๗ โรงเรียนมีเป้าหมายการจดั การศึกษาเพื่อมุง่ พฒั นานักเรียนให้มคี วามรู้ความสามารถ
ทง้ั ทางดา้ นวิชาการ กีฬา ดนตรี ศิลปะ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรักสามัคคี และเสยี สละ
รักหมคู่ ณะ มีคุณลักษณะตามความมุ่งหมายที่โรงเรียนกำหนด

มาตรา ๘ โรงเรียนจัดการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง
มัธยมศึกษาปีที่ 6 การจัดแผนการเรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จำนวน
นกั เรียนตอ่ ห้องเป็นไปตามกฎกระทรวงศกึ ษาธิการ

มาตรา ๙ หลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนจัดการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือให้นักเรียน

มีความรู้ความสามารถในทุกแขนงวิชาเป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของโรงเรียน
เพ่ือให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพท้ังทางด้านความรู้ ความสามารถ และทักษะทางสังคม
เต็มตามศกั ยภาพ โดยหลกั สูตรสถานศกึ ษา มอี งค์ประกอบดังนี้

1. หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
2. หลกั สตู รรายวชิ าเพม่ิ เตมิ (ท้องถิ่น) ให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายของโรงเรยี นกำหนด
3. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ประกอบดว้ ย

~ ๑๕ ~

3.1 กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี /กจิ กรรมนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร
3.2 กิจกรรมชมุ นมุ
3.3 กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์
3.4 กจิ กรรมแนะแนว

มาตรา ๑๐ โรงเรียนต้องให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
โดยการพัฒนาและนำระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
ระบบบริหารจัดการ และระบบการจดั การเรียนรขู้ องผู้เรียนใหท้ ันยุคสมยั และมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรา 1๑ โรงเรียนต้องมีการวิจัยหลักสูตรหรือวิจัยสถาบันอย่างน้อยปีละ 1 เร่ือง เพื่อนำ
ผลการวจิ ยั มาปรับปรงุ พัฒนา คุณภาพของโรงเรียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

มาตรา 1๒ โรงเรียนต้องมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการกำกับติดตามและ
ชว่ ยเหลือนักเรยี นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรา 1๓ โรงเรียนต้องมีระบบรักษาความปลอดภัย สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร และจัด
สง่ิ แวดล้อมท่ีเอ้อื ตอ่ การจัดการเรียนการสอน

หมวดที่ 4
ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

มาตรา 1๔ คณุ สมบัติของผ้บู รหิ ารโรงเรยี นน้ำรนิ พทิ ยาคม
1. มีความจงรกั ภกั ดใี นสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. มีความรอบรู้ มีความแม่นยำในกฎระเบียบของทางราชการ
3. มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจได้อยา่ งถูกต้องรวดเรว็ และกลา้ ตัดสนิ ใจ ปฏิบตั ิตาม

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4. มคี วามเปน็ ประชาธิปไตย ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี แี กผ่ ู้ใตบ้ งั คับบัญชา

มบี คุ ลิกภาพและมนุษยธรรมที่ดีต่อผูร้ ่วมงาน และมีความจริงใจตอ่ ผ้รู ่วมงาน
5. มีความสุจริตโปร่งใส และเทย่ี งธรรม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม มคี วามเสียสละ
6. มีความรู้ ความเข้าใจในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา สามารถปรับใช้ศาสตร์และศิลป์

ในการบริหารจัดการ วางแผนพฒั นาโรงเรยี น สรา้ งองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้

มาตรา 1๕ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนมีบทบาทหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. วางแผนการจดั การศึกษาและปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ

ข้อบงั คบั ของทางราชการ

~ ๑๖ ~

๒. กำหนดวิธีดำเนนิ งานและติดตามผลดา้ นวิชาการ งบประมาณ บุคลากร กิจการนกั เรยี น
และบรหิ ารทวั่ ไป

๓. กำกบั ตดิ ตามการจัดทำและพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา การเรียนการสอน การวัดและ
ประเมนิ ผลการศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามหลกั สูตร

๔. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทร่ี บั ผิดชอบดำเนนิ งานเก่ยี วกับงานที่ไดร้ ับมอบหมายตา่ ง ๆ ทกี่ ำหนด เปน็
อำนาจหนา้ ท่ที ี่ต้องปฏบิ ัติ

๕. ควบคุมดูแล ปกครอง จัดระบบงานโรงเรียน จดั ทำมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ขอบข่าย
ภาระงาน มอบหมายงานให้เหมาะสมกบั ความสามารถของบุคลากร

๖. ตดิ ตามใหค้ ำปรกึ ษา แกป้ ญั หา และนิเทศครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรยี นให้
สามารถปฏิบัติตามหน้าท่ีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งครบถ้วน

๗. ดแู ลสวัสดิภาพความเป็นอยขู่ องครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรยี น และสง่ เสรมิ
สนบั สนนุ ใหม้ ีการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๘. ส่งเสริมและสรา้ งความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้ปกครองและชมุ ชน
๙. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามทีไ่ ดร้ ับการแต่งตง้ั
๑๐. จดั ใหม้ กี ารวเิ คราะห์ วิจัย ประเมินผลและรวบรวมขอ้ มูล จดั ทำรายงานประจำปขี อง
สถานศึกษา จัดทำสถติ ติ ่าง ๆ เปน็ สารสนเทศทส่ี ำคัญ โดยนำเทคนคิ และวิธีการใหม่ ๆ มาใช้เพ่อื
ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนและพัฒนาโรงเรียนให้ไดม้ าตรฐานเปน็ ท่ีนยิ ม
๑๑. ประสานงานกับหนว่ ยงานอืน่ ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพอ่ื ประโยชน์ของโรงเรียนและ
ชุมชน
๑๒. ดำเนนิ การตามความเหน็ ชอบและขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานของโรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม
๑๓. ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีอืน่ ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย

มาตรา 1๖ ผู้ช่วยผ้อู ำนวยการโรงเรียนมีบทบาทหน้าที่ ดงั ต่อไปนี้
๑. ปฏิบัติหนา้ ที่ผูช้ ่วยผ้อู ำนวยการสถานศึกษา โดยปฏิบตั ิงานตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย จาก

ผู้อำนวยการสถานศึกษาในการช่วยบรหิ ารกจิ การของสถานศกึ ษา การวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน การ
ควบคุม กำกับ ดูแลเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ บริหารงบประมาณ บรหิ ารงานบุคคล บรหิ าร
ท่ัวไป ความสมั พันธ์กบั ชุมชน และงานอืน่ ท่เี กีย่ วขอ้ งหรือท่ีได้รบั มอบหมาย

๒. บริหารกจิ การของสถานศกึ ษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ นโยบายและ
วตั ถุประสงคข์ องสถานศกึ ษา

๓. วางแผนพฒั นาการศึกษา ประเมนิ และรายงานผลการจดั การศกึ ษา
๔. จดั ทำและพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การจดั กระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสอื่
นวตั กรรม และเทคโนโลยีการศึกษา การนิเทศ และการวัดผล ประเมนิ ผล
๕. ส่งเสริมและจัดการศึกษาใหก้ บั ผเู้ รยี นทุกกลุ่มเปา้ หมายท้งั ในระบบ นอกระบบ และ ตาม
อัธยาศยั
๖. จดั ทำระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา

~ ๑๗ ~

๗. บริหารการเงิน การพสั ดแุ ละทรัพย์สิน
๘. วางแผนการบริหารงานบคุ คล การเสรมิ สร้างประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงาน วินยั และ
การรักษาวนิ ยั การดำเนินการทางวนิ ัย และการออกจากราชการ
๙. จดั ทำมาตรฐานและภาระงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษา
ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑๐. ส่งเสริมและสนับสนุนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มกี ารพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง
๑๑. ประสานความร่วมมอื กบั ชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ในการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษาและ
ใหบ้ ริการวิชาการแกช่ มุ ชน
๑๒. จดั ระบบควบคมุ ภายในสถานศึกษา
๑๓. จดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
๑๔. ปฏบิ ตั หิ น้าที่อ่ืน ๆ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมายจากผอู้ ำนวยการโรงเรยี น

มาตรา 1๗ คณุ สมบตั ิของครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. มงุ่ มน่ั พัฒนาและส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ทักษะและนิสัยทถ่ี ูกต้องดงี ามแกน่ กั เรียน
2. ปฏิบัติกจิ กรรมทางวชิ าการเกย่ี วกบั การพัฒนาวชิ าชีพครู
3. มีจิตวิญญาณของความเปน็ ครูที่ดี ใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค
4. มคี วามรู้ความสามารถ มีความเสียสละอทุ ศิ ตนเปน็ ประโยชนแ์ ก่นักเรียนด้วยความ

เตม็ ใจ
5. ชว่ ยเหลือเกื้อกลู ซง่ึ กนั และกนั อย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ มน่ั ในคุณธรรมและเสรมิ สร้าง

ความสามัคคีในหมคู่ ณะ
6. ปฏิบัติหนา้ ท่ีในการจดั การเรียนการสอนแก่นักเรียน และมีหน้าที่ในการอบรมบม่ นสิ ัย

นักเรียนใหน้ กั เรยี นเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม
7. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
8. ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์ใด ๆ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมจากโรงเรียน ผปู้ กครองและ

นักเรยี น

มาตรา 1๘ ครูมบี ทบาทหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้
๑. ศึกษาหาความรวู้ ิธีการสอน วิธีการวดั และประเมินผล การใช้สอ่ื การเรยี นการสอน

หนังสือเรียน และคู่มือการเรยี นการสอนตามหลักสตู ร
๒. ปฏิบตั ิงานในหน้าท่ีให้ไดผ้ ลตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั

พนื้ ฐาน
3. ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามระเบียบวินยั ของทางราชการอย่างเคร่งครัด
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและอบรมบม่ นสิ ยั นกั เรียนอย่างเตม็ ความสามารถ
5. พัฒนาและปรับปรุงการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพอย่างตอ่ เนอ่ื ง
6. ส่งเสรมิ และเผยแพรก่ ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็น

ประมขุ

~ ๑๘ ~

7. ปลูกฝังวฒั นธรรม คา่ นิยมและเอกลกั ษณไ์ ทย
8. สง่ เสรมิ ความสามัคคีในหมคู่ รู นกั เรียนและผู้ท่ีเก่ยี วข้อง

มาตรา 1๙ บทบาทและหน้าท่ีของผู้ปกครองนักเรยี นโรงเรยี นน้ำรนิ พิทยาคม
ผู้ปกครองนักเรียนมีความเข้าใจในระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนและยินยอมปฏิบัติ

ตามระเบียบของโรงเรียนทุกประการ ได้แก่
1. ใหค้ วามร่วมมอื สนับสนนุ กจิ กรรมของโรงเรยี น
๒. ศึกษาและเข้าใจวฒั นธรรม กฎระเบยี บ ของโรงเรยี นนำ้ รนิ พทิ ยาคม
๓. ดูแล เอาใจใส่ กำชับติดตามบตุ รในอปุ การะให้ปฏิบัตติ ามธรรมนูญของโรงเรียน
๔. ใหก้ ารสนับสนนุ ค่าเล่าเรียนของบุตรและค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ

มาตรา ๒๐ โรงเรียนควรจดั หาเจ้าหน้าท่ีและบุคลากรเพอื่ ปฏิบัติหน้าท่ี ที่ไม่เก่ียวข้องกับการจดั การ
เรียนการสอนโดยตรง เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การ การบริการ และสนับสนุน การเรียน
การสอนให้มีคณุ ภาพและประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ ดงั ตำแหนง่ งานและคณุ สมบตั ขิ ัน้ ตน้ ดังนี้

๑. เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ และบญั ชี
คุณสมบัติ
๑.1 สามารถดำเนนิ การงานการเงินงบประมาณและรายได้สถานศึกษา
๑.2 สามารถดำเนินการงานบัญชที ะเบียนคมุ การเบิกจา่ ย
๑.3 สามารถดำเนนิ การงานค่าใชจ้ ่ายนกั เรียน
๑.4 สามารถดำเนนิ การงานเงินเดือนและสวสั ดกิ าร
๒. เจ้าหนา้ ท่ีพัสดุ
คุณสมบตั ิ
๒.1 สามารถดำเนินงานจัดซ้ือ จัดจ้าง จ้างออกแบบและควบคุมงาน จดั ทำสัญญาและ
แก้ไขสัญญา จดั ทำหนงั สือ รับรองผลงาน เบกิ จ่ายเงินค่าจดั ซือ้ จดั จ้าง
๒.2 สามารถดำเนินงานทะเบียนผู้รับจ้าง การรับจดทะเบียนผู้รับจ้างงานก่อสร้าง
การตรวจสอบและพิจารณาคณุ สมบัตผิ ู้รับจ้าง การเล่อื นชัน้ ประเภทการจดทะเบยี นผ้รู ับจา้ ง การต่อ
อายทุ ะเบยี นผรู้ ับจา้ ง การจดั ทำบญั ชที ะเบยี นผรู้ ับจา้ ง
๒.3 สามารถดำเนินงานคุมคลังพัสดุ ควบคุมการเบิกจ่าย เก็บรักษาตรวจสอบการโอน
การยืม การจำหน่ายพัสดุที่ชำรุด หรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นต้องใช้ประโยชน์ในทางราชการ
การทำบัญชี ทะเบยี นครุภณั ฑ์ บัญชที ะเบยี นสินทรพั ย์ บัญชีเบกิ จ่ายพัสดุ ใบเบกิ
๒.4 สามารถดำเนินงานบันทึกข้อมูลการดำเนินการ บันทึกข้อมูลการจัดซื้อ/จัดจ้าง/เช่า
เข้าสู่ระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ดำเนนิ การสรา้ งและเปล่ียนแปลงข้อมลู หลกั ผ้ขู าย
๒.5 สามารถดำเนนิ งานตรวจสอบรบั -จ่ายพัสดปุ ระจำปี
๓. เจ้าหนา้ ท่งี านธรุ การ
คุณสมบัติ
๓.1 สามารถจัดทำแบบฟอรม์ การลงเวลาการปฏิบัตงิ าน การลา การขออนุญาตออกนอก

~ ๑๙ ~

โรงเรยี นของครูและบคุ ลากร สรุปรายงานการปฏิบตั งิ าน การลา ในแตล่ ะวนั พรอ้ มท้งั ตดิ ตามให้
เป็นไปตามระเบียบ และจัดทำสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ

๓.2 สามารถจัดทำและเกบ็ รักษาทะเบียนประวัตขิ ้าราชการครูและบุคลากร รวมท้ังการ
แกไ้ ข เปลย่ี นแปลงข้อมูลในทะเบียนประวัตขิ ้าราชการครูและบุคลากรให้เปน็ ปจั จุบัน

๓.3 สามารถรับ – ส่ง และลงทะเบียนหนังสือราชการใหถ้ ูกต้องตามระเบียบงานสารบรรณ
๓.4 สามารถรา่ ง – พิมพ์ โต้ตอบหนงั สอื ราชการ ให้ถกู ต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ
และทนั เวลา
๓.5 สามารถประสานงานผ้ทู เี่ กี่ยวขอ้ งในการใหข้ ้อมูลเกยี่ วกับหนังสือราชการ เพ่ือให้การ
ดำเนนิ งานทันกำหนดเวลา
๓.6 สามารถจดั ทำแบบฟอร์มในการติดต่อทางราชการต่าง ๆ เพือ่ ให้ผรู้ บั บริการไดร้ ับ
ความสะดวกในการติดตอ่ ราชการกับทางโรงเรยี น
๓.7 สามารถปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย
๔. เจ้าหน้าทโ่ี สตทศั นปู กรณ์
คณุ สมบตั ิ
๔.1 สามารถจัดทำระบบการให้บริการโสตทศั นูปกรณ์ ให้บริการติดต้ัง ยมื คืน อุปกรณ์
โสต ฯ แก่บุคลากรและหนว่ ยงานทขี่ อใช้บริการให้ได้รับความสะดวก
๔.2 สามารถบันทกึ ภาพน่งิ ภาพเคลอื่ นไหว กิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียน
๔.3 สามารถใหบ้ รกิ ารระบบภาพและเสยี งภายในโรงเรียน
๔.4 สามารถดำเนนิ การติดตงั้ เครอื่ งเสยี ง ไมค์ และอุปกรณ์อ่นื ๆ ภายในโรงเรียน
๔.5 สามารถซอ่ มบำรุง เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ วัสดุ โสตทัศน์
๔.6 สามารถดแู ล ซอ่ มแซมและปรับปรงุ ระบบเคเบิลทวี ี ระบบวงจรปดิ
๔.7 สามารถให้บรกิ ารห้องประชุม ควบคุม ดแู ล ปรับปรุงและซอ่ มแซมให้พรอ้ มใช้งาน
๔.8 สามารถปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
๕. เจ้าหน้าท่หี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
คุณสมบตั ิ
๕.1 สามารถบำรุงรกั ษาเครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ ละหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์
๕.2 สามารถควบคุมการยืม-คนื อปุ กรณ์ทน่ี กั เรียนใชใ้ นการปฏิบตั ิการตา่ ง ๆ
๕.3 สามารถติดตัง้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพิ่มเติมเม่ือมีผมู้ าใช้หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
๕.4 สามารถปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย
๖. เจา้ หน้าที่ห้องสมุด
คุณสมบตั ิ
๖.1 สามารถลงทะเบียน และวเิ คราะห์ ใหห้ มวดหมสู่ ่อื ทกุ ประเภท และบันทกึ
รายละเอยี ดของหนงั สือเข้าฐาน
๖.2 สามารถบรกิ ารสืบคน้ ขอ้ มูลทางวิชาการผา่ นทางเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ นต็
๖.3 สามารถจัดทำสื่อประชาสมั พันธ์ ผ่านทาง อนิ เตอรเ์ น็ต เชน่ สรา้ ง Homepage หอ้ งสมุด

~ ๒๐ ~

๖.4 สามารถจัดเตรยี มสิ่งพมิ พ์ก่อนออกให้บริการ เชน่ ประทับตราหนังสอื ตดิ สนั หนงั สอื
ติดซองบัตรหนงั สอื เป็นต้น

๗. เจ้าหน้าที่หอ้ งพยาบาล
คุณสมบัติ
๗.1 สามารถบริหารจดั สรรทรพั ยากรทีใ่ ช้ในงานพยาบาลท่ีจำเป็นใหเ้ พยี งต่อ
ความตอ้ งการของโรงเรียน
๗.2 สามารถจดั บรรยากาศในหอ้ งพยาบาลให้สะอาด และเปน็ ระเบียบ
๗.3 สามารถจดั ทำระเบียบปฏบิ ัติการขอใช้ห้องพยาบาล
๗.4 สามารถให้การปฐมพยาบาลนกั เรยี นท่ีไดร้ บั อุบตั ิเหตหุ รอื เจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน ในขณะที่
อยใู่ นโรงเรียนและจัดส่งโรงพยาบาลในกรณีจำเป็น
๗.5 สามารถติดต่อประสานงานกบั ครทู ี่ปรึกษา ผู้ปกครองของนักเรียนในกรณีท่ีนักเรยี น
เจ็บปว่ ย
๗.6 สามารถรวบรวมขอ้ มลู สถติ กิ ารดำเนินงานของงานพยาบาลโดยรวม
๘. เจ้าหน้าทป่ี ระชาสัมพนั ธ์
คุณสมบัติ
๘.1 จัดทำสอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ภายนอก และภายใน
๘.2 ศึกษานโยบาย เป้าหมาย และพันธกิจของหน่วยงาน เพ่ือนำข้อมูลมาใช้ในการ
วางแผน และดำเนินงาน
๘.3 จัดทำส่ือที่เหมาะสม ประกอบข้อมูลท่ีถูกต้อง และน่าสนใจเพ่ือสร้างความน่าสนใจ
ใหก้ ับการประชาสัมพันธ์
๘.4 ประชาสัมพันธ์ให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมาย อาจด้วยแผ่นพับ ใบปลิว ติดบอร์ด
และผา่ น สื่อออนไลน์ตา่ ง ๆ
๘.5 จดั เก็บข้อมูลจากการประชาสมั พันธ์ที่ผ่านมา
๘.6 พจิ ารณา ประเมนิ ผลการทำงาน และรายงานผลสรุปข้อมูล
๘.7 สามารถปฏิบัติงานอน่ื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
๙. พนักงานทำความสะอาด
คณุ สมบตั ิ
๙.1 สามารถดูแล ทำความสะอาดภายในและภายนอกอาคาร หอ้ งเรยี น ห้องพกั ครู
ห้องนำ้ ห้องสขุ าให้เป็นระเบยี บเรียบร้อย
๙.2 สามารถดแู ล บำรงุ รกั ษาตน้ ไม้ สนามหญ้าของโรงเรียนให้สวยงาม
๙.3 สามารถดูแลรกั ษาวัสดุ ครุภณั ฑ์ในส่วนพน้ื ท่งี านที่รับผิดชอบ
๙.4 สามารถปฏิบัติงานอื่น ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย

มาตรา 2๑ สทิ ธิของครแู ละบคุ ลากรของโรงเรียนน้ำรินพทิ ยาคม พึงได้รบั ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. บตุ รของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทุกคนมสี ทิ ธ์ิไดเ้ ขา้ เรยี น และไดร้ ับการยกเวน้ เงนิ

บำรุงการศึกษา

~ ๒๑ ~

2. ไดร้ บั สวสั ดิการของโรงเรียนตามระเบียบสวสั ดกิ ารโรงเรยี นนำ้ รนิ พทิ ยาคม
3. คณะครู บุคลากร และนกั เรยี น มสี ิทธถิ์ ือหุ้นอย่างน้อย คนละ 1 ห้นุ แต่ไมเ่ กิน
๑๐0 หุน้ โดยสมาชกิ ต้องชำระค่าหุน้ เม่อื แรกสมัครคร้ังเดียว

มาตรา 2๒ โรงเรยี นต้องจัดใหม้ สี หกรณ์ภายในโรงเรียนเพอื่ ฝกึ ให้นกั เรยี นเรยี นรูร้ ะบบของสหกรณ์
โดยคณะครู บุคลากร และนกั เรยี น มีสิทธ์ิถือห้นุ อยา่ งน้อย คนละ 1 หุน้ แตไ่ มเ่ กนิ ๑๐0 หุ้น
โดยสมาชิกตอ้ งชำระค่าหุน้ เมือ่ แรกสมคั ร

มาตรา 2๓ โรงเรียนตอ้ งจดั ใหม้ ีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความร้คู วามสามารถในการปฏิบัติ
หนา้ ทีใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพมากข้ึน อยา่ งน้อย ๑ รายการต่อปี ดงั น้ี

๑. การศกึ ษาดงู าน
๒. การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารในเรอ่ื งท่ีจำเป็นตอ่ ครูทุกคน
๓. การจดั ทำวิจัยในชน้ั เรยี น หรอื ผลงานทางวิชาการ

หมวดท่ี 5
นักเรียน

มาตรา 2๔ คุณสมบตั ิพนื้ ฐานของผูท้ ่จี ะสมัครเข้าเรียนโรงเรยี นนำ้ รินพิทยาคม
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1
1. เป็นนักเรียนทจ่ี บการศึกษาในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หรือเทียบเท่าตามหลกั สูตร

การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร
2. มคี วามประพฤตเิ รยี บร้อย มีระเบยี บวนิ ยั อยู่ร่วมกบั ผอู้ ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
3. ผ้ปู กครองมีความพรอ้ มที่จะใหก้ ารสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การเรยี นการสอน

นอกเหนอื หลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เพอ่ื สง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกิน
มาตรฐานรัฐ และคา่ ใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ทีโ่ รงเรียนกำหนด ตลอดเวลาทศ่ี ึกษาอยู่ในโรงเรยี น

๔. ผู้ปกครองมีความพร้อมในการรว่ มดูแลความประพฤตขิ องนักเรยี นกบั ทางโรงเรยี น
ตลอดเวลาทกี่ ำลงั ศึกษา

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4
1. เปน็ นักเรียนท่ีจบการศกึ ษาในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หรอื เทยี บเท่าตามหลักสูตร
การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ
2. มีความประพฤตเิ รียบร้อย มีระเบียบวินยั อยู่รว่ มกับผอู้ ่ืนไดเ้ ปน็ อย่างดี และสามารถ
ประพฤตติ นตามระเบียบของโรงเรียนได้
3. ผู้ปกครองมคี วามพร้อมทจ่ี ะให้การสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการเรยี นการสอน
นอกเหนือหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพ่อื ส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาให้นักเรยี นเกนิ
มาตรฐานรฐั และค่าใชจ้ ่ายอน่ื ๆ ทโี่ รงเรยี นกำหนด ตลอดเวลาท่ีศึกษาอยู่ในโรงเรยี น

~ ๒๒ ~

4. ผู้ปกครองมคี วามพรอ้ มในการร่วมดูแลความประพฤตขิ องนักเรยี นกบั ทางโรงเรียน
ตลอดเวลาทีก่ ำลงั ศกึ ษา

มาตรา ๒๕ โรงเรียนต้องจัดให้มีสภานกั เรยี น ซึ่งได้มาโดยการได้รับเลือกมาจากนักเรียนในโรงเรียน
เพื่อเป็นผู้แทนของนักเรียน เป็นส่ือกลางเพื่อความเป็นประชาธิปไตย รักษาสิทธิและหน้าท่ี
ของนักเรียนโดยไม่ขัดกับระเบียบและนโยบายของโรงเรียน กำหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมเชิง
สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น สังคมและประเทศชาติ โดยตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิดังต่อไปนี้

๑. เปน็ ผทู้ ีย่ ึดม่ันในระบอบประชาธิปไตย และจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบนั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์

2. เปน็ นกั เรียนโรงเรยี นน้ำรินพทิ ยาคมอย่างถกู ต้องตามกฎหมาย
3. ผสู้ มคั รจะต้องลงสมคั รตามระเบียบสภานักเรยี นโรงเรียนนำ้ รนิ พิทยาคม
4. เปน็ ผูท้ ่กี ำลงั ศึกษาอยใู่ นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ในขณะทีม่ กี ารเลือกตัง้
๕. ได้รับความยินยอมจากคุณครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองให้เข้าสมัคร
รบั เลอื กตั้งประธานสภาและสมาชกิ สภานกั เรียน
๖. เปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรมและมคี วามเปน็ กลางในการดำเนินนโยบาย
๗. เป็นผู้ทรี่ ักและเทดิ ทนู ในเกยี รติของโรงเรยี นอย่างจรงิ ใจ

มาตรา 2๖ นักเรียนต้องได้รับการพัฒนาจากทางโรงเรียนและผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้มีคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซื่อสัตย์สจุ ริต
3. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

มาตรา ๒๗ นักเรียนต้องแต่งกายให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของโรงเรยี นดังน้ี
1. เครอ่ื งแบบนักเรยี น นกั เรยี นชายระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1.1 เส้อื แบบคอเช้ิต ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกนิ ควร ผา่ ตลอด สาบทีอ่ กใชก้ ระดุมกลมสีขาว

แบบแขนสนั้ พองาม มีกระเปา๋ ซ้าย 1 ใบ ขนาดกว้างต้งั แต่ 8-12 ถงึ 10-15 เซนติเมตร
1.2 กางเกง ใชผ้ ้าสีกากี ขาสน้ั เหนือเข่าพน้ กลางลกู สะบา้ ประมาณ 5 เซนติเมตร เมอ่ื ยืด

ตรงส่วนกวา้ งของขอบกางเกงเมอ่ื ยดื ตรงหา่ งจากขาประมาณ 7-10 เซนติเมตร ตามส่วนหน้าใช้
กระดมุ หรือซิป มกี ระเป๋าข้างตามแนวตะเข็บข้างละ 1 ใบ ไม่มกี ระเปา๋ ดา้ นหลงั

1.3 เขม็ ขดั ใชเ้ ขม็ ขดั ลูกเสือสีนำ้ ตาล

~ ๒๓ ~

1.4 ถุงเทา้ ใชถ้ งุ เท้าสัน้ แบบธรรมดาไม่มีลวดลาย สนี ้ำตาล
1.5 รองเท้า รองเทา้ หุ้มสน้ ชนิดผูกหนงั หรือผ้าใบสีน้ำตาล
1.6 ทรงผม ตดั สัน้ (ทรงลานบนิ ) ด้านหน้ามคี วามยาวไมเ่ กนิ 5 เซนติเมตร อนุโลมให้ตัด
รองทรงสงู ได้
2. เครื่องแบบนกั เรียนหญิงระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
2.1 ผา้ ขาวเกลย้ี งไม่บางเกนิ ควร เป็นเส้ือแบบคอพับในตัว สาบตลบเข้าข้างในปกคอเสอื้
แบบทหารเรือ ขนาดพอเหมาะกับตวั แขนยาวเพียงเหนอื ข้อศอกปลายแขนจีบเล็กน้อยความยาวของ
ตวั เส้ือใหย้ าวพองาม ชายเสอื้ ดา้ นหลงั มขี อบพับไมเ่ กิน 3 เซนติเมตร มีสาบกวา้ งพอเหมาะตัว ไม่
รดั รปู ไม่รัดเอว ริมขอบด้านล่างหนา้ ติดกระเปา๋ ขนาด 5-8 เซนตเิ มตร ผูกคอด้วยผ้ากลม สีกรมท่า
ชายสามเหลยี่ ม กว้าง 7 เซนตเิ มตร ยาว 50-75 เซนตเิ มตร เงื่อนกลาสี
2.2 กระโปรง ผา้ สีกรมทา่ เกล้ียงไมม่ ลี วดลาย เป็นกระโปรงแบบธรรมดาดา้ นหนา้ และ
ดา้ นหลังพับเปน็ จีบข้าง 3 จบี หนั จบี ออกด้านนอกเยบ็ จีบด้านลา่ งลงมา 6-12 เซนตเิ มตร กระโปรง
ยาวคุมเข่า 6-10 เซนติเมตร
2.3 เขม็ ขัด ใช้เขม็ ขัดเนตรนารี หรือเข็มขัดหนงั สีดำไมม่ ีลวดลายหัวเขม็ ขัดเป็นรูป
สเ่ี หล่ียมผืนผ้าแบบหวั กลัดมีปลอกหนังหรือผ้าสีเดียวกับเขม็ ขดั
2.4 ถุงเทา้ ใชถ้ ุงเท้าสขี าว เรียบไมม่ ลี วดลาย สน้ั คร่งึ นอ่ งหุ้มปลายเทา้ หัวมนมีสายรัดหลัง
เท้า
2.5 ผา้ ใบสดี ำ ส้นสูงไมเกิน 3 เซนติเมตร
2.6 ทรงผม ตดั สน้ั มคี วามยาวตามแนวระดับตนี ผม หรืออนุญาตใหไ้ วผ้ มยาวแตต่ ้องรวบให้
เรยี บร้อย ผูกโบดว้ ยสีดำหรอื สนี ้ำเงนิ ไมอ่ นญุ าตให้ซอยผม
3. เคร่ืองแบบนกั เรยี น นกั เรียนชายระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
3.1 เส้ือ ผ้าขาวเกล้ียงไมบ่ างเกนิ ควร คอเชต้ิ ผา่ อกตลอด สาบท่อี กใช้กระดมุ กลมสีขาว
แบบแขนสน้ั พองาม มกี ระเปา๋ ซ้าย 1 ใบ ขนาดกว้างตัง้ แต่ 8-12 ถึง 10-15 เซนติเมตร
3.2 กางเกง ใช้ผา้ สีดำ ขาสัน้ เหนอื เข่าพ้นกลางลูกสะบ้าประมาณ 5 เซนติเมตร เม่ือยนื ตรง
ส่วนกวา้ งของขอบกางเกงเมื่อยนื ตรงห่างจากขาประมาณ 7-10 เซนติเมตร ตามสว่ นหน้าใชก้ ระดุม
หรอื ซิปมีกระเป๋าข้างตามแนวตะเข็บข้างละ 1 ใบ ไมม่ กี ระเปา๋ ดา้ นหลัง
3.3 เข็มขดั ใชเ้ ขม็ ขัดหนงั สีดำไมม่ ีลวดลาย ขนาดกวา้ ง 2-4 เซนตเิ มตร หวั เขม็ ขัดเป็น
โลหะสีเงิน รูปรา่ งสี่เหล่ียมผืนผา้ แบบหวั กลัด
3.4 ถุงเท้า ใช้ถงุ เท้าสนั้ สขี าวแบบธรรมไมม่ ีลวดลาย ไม่พับถงุ เทา้
3.5 รองเท้า ร้องเทา้ หมุ้ ส้นชนดิ หนังหรอื ผ้าใบสดี ำไมม่ ีลวดลาย
3.6 ทรงผม แบบท่ี 1 ตัดสั้น (ทรงลานบิน) ด้านหนา้ มีความยาวไมเ่ กนิ 5 เซนตเิ มตร แบบ
ท่ี 2 ตัดรองทรงสงู
4. เครอ่ื งแบบนักเรยี นหญงิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
4.1 ผา้ ขาวเกล้ยี งไม่บางเกนิ ควร แบบเสือ้ คอเช้ิต ผา่ อกตลอดทีอ่ กเสอื้ เป็นสาบตลบเข้าข้าง
ในกวา้ งประมาณ 3 เซนตเิ มตร มกี ระดุมกลมแบบสีขาว 5 เม็ด

~ ๒๔ ~

4.2 กระโปรง ผา้ สกี รมทา่ เกลี้ยงไมม่ ีลวดลาย เป็นกระโปรงแบบธรรมดาด้านหน้าและ
ดา้ นหลังเปน็ จีบข้าง 3 จบี หันจีบออกด้านนอกเยบ็ จบี ล่างลงมา 6-12 เซนตเิ มตร กระปรงยาวคลุม
เขา่ 6-10 เซนติเมตร เชน่ เดียวกับมัธยมต้น

4.3 เข็มขดั ใช้เขม็ ขดั หนงั สดี ำไมม่ ลี วดลาย ขนาดกวา้ ง 2-4 เซนตเิ มตร หวั เข็มขัดเป็น
สี่เหล่ียมผนื ผ้า แบบหวั กลัดมปี ลอกหนงั หรือผ้าสีเดียวกบั เขม็ ขัด

4.4 ถุงเท้า ใชถ้ ุงเท้าสีขาว เรยี บไม่มลี วดลาย
4.5 รองเทา้ ใช้รองเท้าสีดำแบบหุ้มสน้ ห้มุ ปลายเท้า หัวมนมสี ายรัดหลงั เทา้ เปน็ หลังหรือ
ผา้ ใบสดี ำสน้ สูงไม่เกนิ 3 เซนติเมตร
4.6 ทรงผม ตดั ส้ันมคี วามยาวตามแนวระดับตีนผม หรอื อนญุ าตให้ไว้ผมยาวแต่ต้องรวบผม
ใหเ้ รยี บรอ้ ยผกู โบด้วยผา้ สีดำ หรอื สนี ำ้ เงนิ ไมอ่ นญุ าตให้ซอยผม
5. ชุดพลศึกษา
5.1 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
5.1.1 กางเกง ผ้ายดื ยายาวสีกรมทา่ มีแถบสีดา้ นขา้ งสเี หลือง
5.1.2 เสือ้ สีฟา้ คอโปโล มีกระเปา๋ ด้านซ้าย กลางกระเป๋าด้านซา้ ย กลางกระเปา๋ มตี รา
นักเรยี นชาย สวมใส่ชุดพลศกึ ษาใหเ้ รยี บร้อย รองเทา้ ผ้าใบสีน้ำตาล (ใชถ้ งุ เทา้ นกั เรียน) นกั เรยี นหญงิ
สวมใส่ชุดพละศึกษามี เสอ้ื ซับในอีกชั้นใหเ้ รยี บร้อย รองเท้าใชร้ องเท้า ผา้ ใบสีขาวลว้ นไมม่ ลี วดลาย
5.2 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
5.2.1 กางเกง ผ้ายดื ขายาวสกี รมท่ามีแถบสี ด้านขา้ งสเี หลอื ง
5.2.2 เส้ือสฟี ้าคอโปโล มกี ระเปา๋ ดา้ นซ้าย กลางกระเปา๋ มีตราประจำโรงเรียนตามแบบของ
โรงเรียนนกั เรียนชาย สวมใสช่ ุดพลศกึ ษาใหเ้ รยี บร้อย รองเท้าผ้าใบสีดำ มีถุงเท้า (ใช้ถุงเท้านกั เรียน
นักเรยี นหญงิ สวมใสช่ ดุ พลศกึ ษา มเี ส้ือซับในอกี ชัน้ ให้เรยี บร้อย รองเท้าใช้รองเทา้ ผา้ ใบสีขาวลว้ นไม่มี
ลวดลาย
6. เคร่ืองหมาย
นักเรียนทกุ คนต้องปกั ชอ่ื และนามสกุลของตนเองด้วยด้ายไหมสีนำ้ เงินเขม้ ปกั ตดิ ผ้าไวท้ ี่อก
เส้ือดา้ นซ้ายเหนือราวนม ลักษณะอักษรใช้แบบตัวพิมพ์ความสูง 1 เซนติเมตร อกั ษรย่อโรงเรียนให้ปัก
สนี ้ำเงนิ เข้ม ความสงู 1.5 เซนตเิ มตร ขา้ งล่างอักษรให้ปักเลขประตัวนักเรียนมคี วามสงู 1 เซนติเมตร
โดยปักไว้ที่อกเส้อื ด้านขวามือ บรเิ วณแขนเสอื้ ดา้ นซา้ ยตดิ อารม์ ช่อื โรงเรยี นนำ้ รนิ พทิ ยาคมพน้ื ทส่ี นี ้ำ
เงนิ ตวั อักษรสีขาวจากล่างตะเขบ็ ลงไปประมาณ 3 เซนตเิ มตร เฉพาะระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ให้
ตดิ เครอื่ งหมายโรงเรยี นรูปพระพริ ณุ ไว้ระหวา่ งช่อื และนามสกลุ เหนือขึ้นไปประมาณ 1 เซนตเิ มตร

มาตรา ๒๘ นกั เรยี นต้องปฏิบตั ิตนระหว่างเปน็ นกั เรียนของโรงเรียนนำ้ รนิ พทิ ยาคม ดังนี้
1. การมาสายหลงั เคารพธงชาตแิ ล้ว 3 คร้ัง ครูท่ีปรึกษาสอบสวนสาเหตุแลว้ แจง้ ผู้บริหาร

ทราบโดยผ่านฝา่ ยปกครอง โรงเรยี นแจง้ พฤติกรรมใหผ้ ู้ปกครองทราบ
2. นกั เรยี นต้องเขา้ เรยี นให้ตรงเวลา ถา้ เข้าเรียนหลังจากเริ่มเรยี นไปแลว้ 15 นาที ให้ถอื ว่า

ขาดเรียนในคาบน้ัน

~ ๒๕ ~

3. นักเรียนนำบุคคลภายนอกเข้ามาในโรงเรยี นไมไ่ ด้ เวน้ แตบ่ ุคคลผนู้ ัน้ มาตดิ ต่อราชการ
และแต่งกายสภุ าพ ในกรณมี ีแขกมาพบนกั เรียนตอ้ งมาติดตอ่ ครูเวรประจำวัน เมื่อพบแล้วต้องพูดคุย
ในบริเวณท่โี รงเรยี นจดั ใหเ้ ท่านน้ั ห้ามนำข้นึ ไปบนอาคารเรยี นหรอื เดินไปบริเวณอ่ืน

4. นกั เรยี นทกุ คนตอ้ งแต่งกายให้ถกู ต้องตามระเบียบของโรงเรยี น และตอ้ งดูและให้อยูใ่ น
สภาพเรียบร้อย เชน่ ไมเ่ อาเสอื้ ออกนอกกางเกง ทงั้ ในและนอกบริเวณโรงเรียน ห้ามใช้เครือ่ งประดับ
ทุกชนิด อนุญาตให้เฉพาะนาฬกิ าเทา่ นั้น

5. นักเรียนจะต้องมคี วามสามัคคีกลมเกลยี วกนั ไมก่ ่อการทะเลาะววิ าทในกรณใี ด ๆ กับ
นักเรยี นเองหรอื บคุ คลภายนอก ซ่งึ โรงเรยี นถือวา่ เปน็ ความผิดที่ร้ายแรง

6. นกั เรยี นจะต้องมบี ัตรประจำตัว และสมดุ บันทึกความดีทุกคน และตอ้ งพกตดิ ตวั ทกุ ครั้ง
7. กรณนี ักเรียนเจ็บป่วยภายในโรงเรียนให้นักเรียนรายงานครู เพื่อใหก้ ารปฐมพยาบาล
หรอื นำส่งโรงพยาบาล หา้ มนกั เรียนเข้าไปในห้องพยาบาล และหยิบยาเองโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต หากมี
ความจำเปน็ ตอ้ งนอนพกั ในห้องพยาบาล ครพู ยาบาลเท่านน้ั ที่จะพจิ ารณาอนญุ าตหรอื ไม่
8. เมื่อเกบ็ ของผอู้ นื่ ได้ ต้องนำสง่ ท่ฝี า่ ยปกครองหรือครูเวรหรือครูทปี่ รกึ ษา เพื่อประกาศหา
เจ้าของแสดงถึงคณุ ธรรมจรยิ ธรรม อนั ดงี าม
9. กรณีลักขโมยของผ้อู ่นื โรงเรยี นถือเป็นความผิดร้ายแรงและเม่ือสอบสวนจนพบว่าผิด
จรงิ ตอ้ งถกู ดำเนนิ การตามโทษสูงสุดของโรงเรยี น
10. นักเรยี นมหี นา้ ทร่ี ักษาพสั ดแุ ละครภุ ณั ฑ์ของโรงเรยี น ผใู้ ดทำเสยี หายตอ้ งชดใช้หรอื
ซ่อมแซมใหด้ ีดงั เดมิ การใช้นำ้ ใชไ้ ฟฟ้า ตอ้ งใช้อย่างประหยัด ช่วยกันปดิ กอ๊ กน้ำ พดั ลม สวิตซ์ไฟฟา้ ให้
เรียบร้อย
11. นกั เรยี นตอ้ งอ่านประกาศคณะปฏิวัตฉิ บบั ที่ 132 เร่อื ง การควบคมุ ความประพฤติ
นักเรียนนกั ศึกษาให้เขา้ ใจและไม่ประพฤติฝ่าฝืน
12. ไมพ่ ดู จาหยาบคาย ดหู ม่ิน เหยยี ดหยาม สอ่ เสยี ดผูอ้ ่นื
13. ปิดอปุ กรณ์ส่อื สารในเวลาเรียน เว้นแต่จำเป็นต้องใชก้ จิ กรรมการเรยี นการสอนและ
ได้รบั อนุญาตจากครูประจำวิชาแล้ว ถ้านกั เรียนฝ่าฝนื ใหค้ รปู ระจำวิชาริบและส่งให้ครูฝา่ ยปกครอง
โดยนกั เรยี นจะรบั คืนไดห้ ลังเลิกเรียนเทา่ นน้ั และตอ้ งถกู ตัดคะแนนความประพฤตพิ รอ้ มทัง้ บนั ทึก
พฤตกิ รรมไว้ด้วย
14. ไม่พกอาวุธทกุ ชนิด หรือวสั ดสุ ่ิงของท่ีถอื ว่าเป็นอาวธุ เข้ามาในโรงเรยี นหรอื บริเวณ
สาธารณะทั่วไป หรอื แอบไวใ้ นท่ีต่าง ๆ ถ้านักเรียนฝา่ ฝนื ถือเป็นความผดิ ร้ายแรง
15. ห้ามพกพาสารเสพติดทุกชนิดเขา้ โรงเรียน เพือ่ เสพ จำหนา่ ย จ่ายแจก นักเรยี นฝา่ ฝืน
ถือเป็นความผิดร้ายแรง

มาตรา ๒๙ นกั เรียนต้องดำเนนิ การเรื่องการลาหยุด การขาดเรยี น การมาสายและการออกนอก
บรเิ วณโรงเรียน ดังนี้

การลากิจและลาป่วย
๑. เม่ือนกั เรียนมีกจิ ธรุ ะจำเป็นตอ้ งลาโรงเรียน ใหส้ ง่ ใบลากิจลว่ งหน้า (กรณีทราบก่อน)
แต่ถ้าไมส่ ามารถเขียนใบลากจิ ให้สง่ ใบลากจิ ในวันแรกท่มี าโรงเรียน ตอ่ ครทู ปี่ รึกษา

~ ๒๖ ~

๒. กรณนี ักเรียนป่วย จำเปน็ ต้องลาโรงเรียน ใหส้ ่งใบลาโดยฝากเพอื่ นมา แต่ถ้าไมส่ ามารถ
เขียนใบลาป่วยได้ใหส้ ง่ ใบลาป่วยในวนั แรกทมี่ าโรงเรียน ตอ่ ครทู ปี่ รกึ ษา

๓. นกั เรียนใชแ้ บบฟอรม์ ของใบลาตามทโ่ี รงเรยี นกำหนด และทา้ ยใบลาต้องมีคำรบั รอง
ลายมอื ชือ่ ของผู้ปกครองรบั รอง

๔. กรณีปลอมลายมือชอื่ ผู้ปกครอง หรอื เขยี นใบลาอันเป็นเท็จ โรงเรียนลงโทษข้นั รา้ ยแรง
การขาดเรียน
1. ครทู ป่ี รกึ ษาสำรวจนักเรียนท่ีไมม่ าเขา้ แถวหน้าเสาธงตอนเชา้ ทกุ วนั แล้วนำขอ้ มลู ส่งท่ี
หวั หน้าฝา่ ยสง่ เสริมการศึกษาเพือ่ เขยี นท่บี อรด์ สถิตินกั เรียนแล้วรวบรวมส่งผบู้ ริหาร
2. ถ้านักเรยี นขาดเรยี นติดตอ่ กันหลายวัน ให้ครทู ี่ปรึกษาปฏิบตั ดิ ังนี้
2.1 กรณนี ักเรียนขาดตดิ ต่อกัน 3 วัน ครูทีป่ รกึ ษาตอ้ งไปพบผปู้ กครองทีบ่ า้ นเพ่อื รบั ทราบ
ข้อมลู และร่วมมือกับผู้ปกครองแกไ้ ขปัญหา
2.2 กรณนี ักเรียนขาดเรียนตดิ ต่อกัน 5 วนั แจง้ ฝ่ายส่งเสรมิ การศกึ ษาเพ่ือตดิ ตาม
2.3 กรณนี กั เรยี นขาดเรียนตดิ ต่อกนั 7 วนั บันทกึ แจ้งผบู้ รหิ ารดำเนนิ การ
3. นักเรียนท่ไี มม่ าโรงเรยี น ตอ้ งสง่ จดหมายลาปว่ ย ลากจิ ธรุ ะ (แล้วแตก่ รณี) ตามแบบที่
โรงเรยี นกำหนดใหค้ รูท่ีปรึกษาทราบทกุ ครัง้
4. ตดั คะแนนความประพฤติตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้
การมาสาย
1. การมาสาย คือ มาหลังเวลา 08.30 น.

2. นักเรียนท่ีมาสาย รายงานสาเหตกุ ารมาสายกบั ครทู ป่ี รึกษาก่อนเขา้ เรียน

3. ครูทป่ี รึกษาตักเตือน และปรับแกพ้ ฤตกิ รรม

4. หากนักเรียนมาสาย หรอื ไมเ่ ขา้ แถวหนา้ เสาธงตอ่ เนอ่ื งกัน 3 วัน ให้ครทู ่ีปรกึ ษาบนั ทึก

แจ้งผู้บรหิ ารโดยผ่านฝ่ายปกครอง แลว้ ครทู ่ีปรึกษาดำเนินการเชญิ ผูป้ กครองมาพบ หรอื ไปพบ
ผปู้ กครองนกั เรยี น (กรณนี กั เรยี นไม่มาโรงเรียน) กรณนี กั เรียนมาโรงเรยี นสายบ่อยครงั้ หัวหน้าระดับ

ครทู ่ีปรึกษา ครแู นะแนวรว่ มกนั แกไ้ ขพฤตกิ รรมรว่ มกบั ผปู้ กครองนกั เรยี น

๕. หากแก้ไขปญั หาไมไ่ ดส้ ่งต่อใหฝ้ ่ายปกครอง และผู้บริหารดำเนินการ

๖. ตดั คะแนนความประพฤติตามเกณฑบ์ ันทึกไว้ในประวัตนิ ักเรยี น
การออกนอกบริเวณ
โรงเรียนไม่อนญุ าตใหน้ ักเรยี นออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นยกเว้น
1. ผู้ปกครองมาขออนญุ าต หรือมหี นงั สอื ขออนญุ าต
2. หัวหน้าเวรประจำวันหรอื ผมู้ อี ำนาจ อนญุ าตนกั เรียนนำบัตรอนุญาตติดตัวและคืนเม่ือ
กลับมา
3. ผไู้ มไ่ ด้รบั อนญุ าตมพี ฤตกิ รรมฝา่ ฝืน จะไดร้ ับโทษ และตัดคะแนนความประพฤติตาม
เกณฑ์

~ ๒๗ ~

มาตรา ๓๐ การลงโทษนักเรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบโรงเรยี นซงึ่ เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวง
ศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๔ มี ๕ สถานดงั น้ี

๑. ว่ากลา่ วตกั เตือน
๒. ทำทัณฑ์บน
๓. ตัดคะแนนความประพฤตเิ ปน็ ไปตามระเบยี บท่ีกำหนด
๔. ทำกิจกรรมเพ่ือใหป้ รบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม
๕. กรณเี ปน็ ความผิดทีร่ า้ ยแรงท่อี าจก่อใหเ้ กิดความไมป่ ลอดภัยต่อผู้อนื่ โดยส่วนรวม
โรงเรียนจะพจิ ารณาแก้ไขปญั หาของนกั เรยี นตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนตามท่โี รงเรยี นกำหนด

หมวดที่ 6
คณะกรรมการสถานศึกษาศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

มาตรา 3๑ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มอี งค์ประกอบ ดงั นี้
๑. ประธานกรรมการ (มาจากกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒ)ิ
๒. กรรมการทเ่ี ปน็ ผู้แทนผู้ปกครอง
๓. กรรมการท่เี ปน็ ผแู้ ทนครู
๔. กรรมการทเ่ี ป็นผูแ้ ทนองค์กรชมุ ชน
๕ กรรมการท่เี ป็นตวั แทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
๖. กรรมการทเี่ ปน็ ผู้แทนศษิ ย์เก่า
๗. กรรมการท่เี ปน็ ผู้แทนพระภกิ ษสุ งฆ์หรือผู้แทนองคก์ รศาสนาในพื้นที่
๘. กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
๙. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาเปน็ กรรมการและเลขานุการ
มอี ำนาจหนา้ ท่ีตามระเบยี บทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด และกำกบั ดแู ลการบริหาร

ของโรงเรียนให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ สอดคล้องกับธรรมนญู โรงเรยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและ
ประสทิ ธิผล โดยมกี ารประชุมอยา่ งน้อยปีละ 2 ครั้ง

มาตรา 3๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน มบี ทบาทหน้าท่ี ดงั ต่อไปนี้
๑. ใหค้ วามเห็นชอบหลักสตู รสถานศกึ ษาและใหข้ อ้ เสนอแนะในการพฒั นาหลักสูตร

สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน
ชุมชนและท้องถน่ิ

๒. ให้ข้อเสนอแนะและสง่ เสรมิ สนบั สนุนในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม กระบวนการ
เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ฯลฯ เพือ่ การปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง

๓. ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาในสถานศกึ ษาต่อผ้บู ริหารสถานศึกษา

๔. ให้ความเหน็ ชอบแผนปฏิบัติการประจำปแี ละให้ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั การจัดต้งั และ การ
ใชง้ บประมาณของสถานศกึ ษา

~ ๒๘ ~

๕. ให้ความเห็นชอบ และเสนอแนะในการออกระเบียบข้อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติ
เก่ียวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได้จากทรัพย์สินของสถานศึกษาหรือปฏิบัติหน้าที่อ่ืน
เกีย่ วกับเรือ่ งนต้ี ามทีก่ ฎหมาย ระเบยี บประกาศ ฯลฯ กำหนด

๖. ให้ความเห็นชอบ ข้อเสนอแนะและให้คำปรึกษาในการจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เขตพ้นื ที่การศึกษา ชุมชนและทอ้ งถิน่

๗. ใหค้ วามเหน็ ชอบ เสนอแนะและให้คำปรึกษา สนบั สนนุ เกี่ยวกับการระดมทรัพยากรเพ่ือ
การศึกษาที่มีคุณภาพรวมท้ังปกครองดูแลบำรุงรักษา และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ
สถานศกึ ษาตามทีก่ ฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด

๘. ปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี ืน่ เกี่ยวกบั กิจการของสถานศกึ ษาตามท่ีกฎหมาย ระเบยี บ ประกาศ ฯลฯ
กำหนดให้เปน็ อำนาจหน้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

๙. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีอ่ นื่ ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานตน้ สังกัด

หมวดท่ี ๗
วฒั นธรรมโรงเรยี นนำ้ รนิ พิทยาคม

มาตรา 3๓ โรงเรยี นน้ำรนิ พิทยาคม มรี ูปแบบการบริหารเป็นองคค์ ณะ เพ่อื ให้นกั เรยี นมคี วามรู้
ความสามารถทัง้ ด้านวิชาการ กีฬา ศลิ ปะ ดนตรี มคี วามเป็นสภุ าพบรุ ษุ สภุ าพสตรี มีคุณธรรม
จริยธรรม เคารพผู้อาวุโส มคี วามรักสามัคคีและเสยี สละในหมู่คณะ กตัญญูกตเวทีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์ พร้อมรบั ใชช้ าตบิ า้ นเมอื ง โดยผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้

๑. กจิ กรรมวันสำคญั ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ได้แก่
๑.1 วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพ (พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และพระราชนิ ี)
๑.๒ วันแมแ่ ห่งชาติ
๑.๓ วนั คล้ายวนั สวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร (วันที่
๑๓ ตุลาคม)
๑.๔ วนั ปยิ มหาราช (วนั ที่ ๒๓ ตลุ าคม)
๑.๕ วันมหาธรี ราชเจ้า (วันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน)
๑.๖ วันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร , วนั ชาติ และวันพ่อแหง่ ชาติ (วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม)
๑.๗ วันเดก็ แห่งชาติ
๑.๘ วนั สำคญั ทางพุทธศาสนา วันมาฆบชู า วันวสิ าขบชู า วนั อาสาฬหบูชา และวนั
เขา้ พรรษา
๑.๙ กจิ กรรมจริยธรรม
๑.๑๐ กจิ กรรมวนั ตน้ ไมแ้ ห่งชาติ
2. วนั สำคัญของโรงเรียน ได้แก่
2.1 วันไหวค้ รู

~ ๒๙ ~

2.2 วนั แขง่ ขันกฬี าภายใน
2.3 วนั สำคญั ตามกจิ กรรมของกล่มุ สาระการเรียนรู้
๒.๔ วันทำบุญโรงเรียน

หมวดที่ 8
การประกาศใชธ้ รรมนญู โรงเรยี น

มาตรา 3๔ ให้โรงเรียนจัดพิมพ์ต้นฉบับธรรมนูญโรงเรยี นน้ำรนิ พทิ ยาคม อย่างน้อย จำนวน ๕ ฉบับ
มีข้อความถูกต้องตรงกัน เพ่ือเป็นเอกสารหลักฐานแห่งธรรมนูญโรงเรียนนี้ รวมถึงหากมีการแก้ไข
เพิม่ เติมธรรมนูญโรงเรียนนีใ้ นภายหลงั ให้จดั พิมพ์ขอ้ ความการแก้ไขเพม่ิ เติมธรรมนญู โรงเรยี นขนึ้ ใหม่
ต่างหาก หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อความจากธรรมนูญฉบับเดิมแล้วจัดพิมพ์ข้ึนใหม่ทั้งฉบับ โดยให้
กำหนดวา่ เปน็ ฉบับแก้ไขเพมิ่ เตมิ พทุ ธศักราช.......... และเปน็ ลขิ สิทธิ์ของทางโรงเรียน

มาตรา ๓๕ ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มบริหารงานบคุ คล มีหน้าที่เผยแพร่ธรรมนูญโรงเรียนให้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษาที่บรรจุหรือย้ายมาใหม่ นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง ผ่านทางหนังสือส่ิงพิมพ์ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือ
การนิเทศโดยตรง ตามความเหมาะสม

มาตรา ๓๖ ให้โรงเรียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกาศใช้
ธรรมนูญโรงเรยี น รวมถงึ หากมกี ารแกไ้ ขเพม่ิ เติมธรรมนูญโรงเรยี นซง่ึ อาจมขี ้นึ ในภายหลงั โดยใหม้ ีผล
ตั้งแต่วันที่ประกาศใช้เป็นธรรมนูญโรงเรียน และให้โรงเรียนประกาศเป็นที่ทราบโดยท่ัวกัน

~ ๓๐ ~


Click to View FlipBook Version