The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้ ปีงบประมาณ 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruoley.eng, 2023-09-03 21:20:15

ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้

ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้ ปีงบประมาณ 2566

เอกสารประกอบการประเมินมิ ผลการพัฒพันางานตามข้อข้ตกลง (PA) สำ หรับรัข้าข้ราชการครูแรูละบุคบุลากรทางการศึกศึษา ตำ แหน่งน่ครู วิทวิยฐานะ ครูชำรูชำนาญการ ประจำ ปีงปีบประมาณ 2566 โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา สำ นักงานเขตพื้นที่การศีกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ นางสาวประภาภรณ์ ตีบตีทะเล ครูชำรูชำนาญการ กลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ภรู้ าษาต่าต่งประเทศ ด้า ด้ นที่ 1 การจัดการเรียนรู้


โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา สำ นักงานเขตพื้นที่การศีกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูลประกอบการประเมิน ด้า ด้ นที่ 1 การจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหา หรือ พัฒนาการเรียนรู้ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน


1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ข้าพเจ้าศึกษา วิเคราะห์ และ พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ นำ ไปจัดทำ คำ อธิบาย รายวิชา และหน่วยการเรียนรู้รายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดับชั้น ม.5 ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง 2561) เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา สมรรถนะ และการเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพ มีหลักสูตรที่สนองนโยบายโรงเรียนเพื่อ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาที่เรียน ตรงตามหลักสูตรและเป็นไปตามหลักสูตร สมรรถนะส่งผลต่อผลการเรียนรู้ที่กำ หนด ไว้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถเชื่อมโยง ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำ วันได้ ผลลัพธ์ (OUTCOMES) ภาพการเข้าร่วมประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในการจัดทำ หลักสูตรรายวิชาภาษาต่างประเทศ - 2 -


คำ อธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังจากศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ข้าพเจ้านำ ข้อมูลไปจัดทำ คำ อธิบายรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดับชั้น ม.5 คำ อธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 3 - 4 ระดับชั้น ม.5 จำ นวน 2 ภาคเรียน QR CODE หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ - 3 - รายงานการประชุมในการจัดทำ หลักสูตรกลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ


ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 3 - 4 รหัสวิชา อ32101 - 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 QR CODE ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2/2565 QR CODE ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1/2566 - 4 -


1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ข้าพเจ้าจัดทำ หน่วยการเรียนรู้ โดยกระบวนการ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นป็สำ คัญ และแผนการ จัดการเรียนรู้รูปแบบ OLE รายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดับชั้น ม.5 ที่เน้นการสร้างสมรรถนะการสื่อสาร และกระบวนการคิดนำ ไปประยุกต์ใช้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ บริบทของโรงเรียน และเป็นป็ ไปตาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีการ บันทึกหลังสอนทุกครั้ง ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน โดยเน้น ทักษะ การสื่อสาร และการคิดแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ ACTIVE LEARNING ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและเอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้น ให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนรู้นำ ไปสู่ การปฏิบัติจริง และสามารถคิดแก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ ผลลัพธ์ (OUTCOMES) - 5 -


โครงสร้างรายวิชา ภาพโครงสร้างรายวิชาภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา อ31202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 QR CODE โครงสร้างรายวิชาภาษาอังกฤษ ม.5 เข้าอบรมการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบ OLE เข้ารับการอบรม "โครงการพัฒนาการจัดทำ แผนการเรียนรู้หลักสูตรฐานสมรรถนะ" เพื่อพัฒนาการดำ เนินงานโรงเรียนในเขตพื้นที่นวัตกรรมและหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปีการศึกษา 2565 รูปแบบออนไลน์ - 6 -


ภาพหน้าปก และบันทึกข้อความ เล่มแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา อ31202 ปีการศึกษา 2565 ภาพตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ และบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา อ32102 ปีการศึกษา 2565 แผนการจัดการเรียนรู้ ดำ เนินการทำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดับชั้น ม.5 โดยเน้น การสร้างสมรรถนะการสื่อสาร และกระบวนการคิดนำ ไปประยุกต์ใช้ ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางฯ และมีการบันทึกหลังสอนทุกครั้ง QR CODE แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2/2565 - 7 -


ภาพหน้าปก และบันทึกข้อความเล่มแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา อ31201 ปีการศึกษา 2566 ภาพตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ และบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา อ32101 ปีการศึกษา 2566 แผนการจัดการเรียนรู้ ดำ เนินการทำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดับชั้น ม.5 โดยเน้น การสร้างสมรรถนะการสื่อสาร และกระบวนการคิดนำ ไปประยุกต์ใช้ ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางฯ และมีการบันทึกหลังสอนทุกครั้ง QR CODE แผนการจัดการเรียนรู่ ภาคเรียนที่ 1/2566 - 8 -


facebook/kruoley kruoley.com drive.google.com QR-CODE 1: Facebook Page Kru Oley QR-CODE 2: Website kruoley.com QR-CODE 3: สื่อ นวัตกรรมประกอบการสอน 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นป็สำ คัญ และสร้างแรงบันดาลใจในการ เรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติ และได้เรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝึกฝึการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์งานด้วย ตัวเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพโดยมีครูผู้สอนคอยดูแลช่วยเหลือ และให้คำ แนะนํา แก้ปัญปัหา นักเรียนที่มี ความสับสนในเนื้อหาของบทเรียนผ่านสื่อ ที่ครูสร้างขึ้น ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการสอนบรรยาย ประกอบสื่อโดยครู และได้เรียนรู้ผ่าน การปฏิบัติจริงจากการฝึกแก้ปัญหา จากสถานการณ์ต่าง ๆ ส่งผลให้ผู้เรียน เข้าใจในเนื้อหาบรรลุตามผลการเรียนรู้ และเกิดสมรรถนะการสื่อสาร และ กระบวนการคิด ผลลัพธ์ (OUTCOMES) - 9 -


จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ผ่านการศึกษาในตำ ราเรียน มีการใช้สื่อ Power point ประกอบการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น จากนั้นสร้างสถานการณ์ ให้นักเรียนแก้ปัญหาส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาบรรลุ ตามผลการเรียนรู้และเกิดสมรรถนะการสื่อสาร และ กระบวนการคิด ภาพบรรยากาศการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนการสอน 2/2565 ภาพตัตัตัวตัอย่ย่ย่าย่งสื่สื่สื่อสื่ POWERPOINT ในการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนการสอน 2/2565 - 10 -


จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ผ่านการศึกษาในตำ ราเรียน มีการใช้สื่อ Power point ประกอบการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น จากนั้นสร้างสถานการณ์ ให้นักเรียนแก้ปัญหาส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาบรรลุ ตามผลการเรียนรู้และเกิดสมรรถนะการสื่อสาร และ กระบวนการคิด ภาพบรรยากาศในการเรีรีรียรีนการสอนรูรูรูปรูแบบปกติติติติภาคเรีรีรียรีนที่ที่ที่ที่1/2566 ภาพตัตัตัวตัอย่ย่ย่าย่งสื่สื่สื่อสื่ POWERPOINT ในการเรีรีรียรีนการสอน ภาคเรีรีรียรีนที่ที่ที่ที่1/2566 - 11 -


ภาพตัตัตัวตัอย่ย่ย่าย่งสื่สื่สื่อสื่การสอนอื่อื่อื่นอื่ๆ ที่ที่ที่ช่ที่ช่ช่วช่ยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนการสอน - 12 -


facebook/kruoley kruoley.com drive.google.com QR-CODE 1: Facebook Page Kru Oley QR-CODE 2: Website kruoley.com QR-CODE 3: สื่อ นวัตกรรมประกอบการสอน ผู้เรียนได้รับการพัฒนาโดยการเรียน รู้ด้วยสื่อในชั้นเรียนและสื่อออนไลน์ที่ ทันสมัย ซึ่งเป็นสื่อที่นักเรียนทุกคน สามารถเข้าถึงได้กระตุ้นให้นักเรียน สนใจ อีกทั้งยังได้ทำ กิจกรรมที่ช่วย เสริมสร้างสมรรถนะการสื่อสาร และ กระบวนการคิดเป็นการสร้างคุณค่า ที่เกิดจากการเรียนรู้ ผลลัพธ์ (OUTCOMES) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา และ ผลิตสื่อการเรียนการสอนให้กับนักเรียน เช่น Power point, โปรแกรม CANVA, LIVEWORKSHEETS สร้างสรรค์ใบงาน ใบความรู้, Website: kruoley.com และ Facebook Page: kru oley เพื่อเป็นป็ แหล่งเรียนรู้ และสืบค้นสื่อทางออนไลน์ เพิ่มเติมสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการสร้างสมรรถนะการสื่อสาร และกระบวนการคิด ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน เพื่อเน้นการประยุกต์ใช้การแก้ปัญปัหาใน ชีวิตประจำ วันได้ - 13 -


สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ ได้ผลิตสื่อ นวัตกรรม ชุดแบบฝึกออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ kruoley.com และสามารถสืบค้น ผ่าน Facebook Page: kru oley, รวมทั้งจัด ทำ สื่อ Power point, สร้างใบงานผ่านเว็บไซต์ LIVEWORKSHEETS และสืบค้นสื่อทางออนไลน์ เพิ่มเติม รวมทั้งได้ออกแบบกิจกรรมในชั้นเรียน ให้มีการแก้ปัญหาโดยเน้นการสร้างสมรรถนะการ สื่อสารและกระบวนการคิด โดยพิจารณาจากการ ทำ กิจกรรม การแก้ปัญหา การทำ แบบฝึกหัด และ การประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษ - 14 -


1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมกลุ่ม งานเดี่ยว การนําเสนอ อภิปราย การสื่อสาร และมีการประเมิน จากแบบทดสอบ เพื่อเป็นป็การประมวล ความรู้ทางวิชาการ พร้อมทั้งสร้าง เครื่องมือวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของรายวิชา ตามหลักสูตรที่ผู้เรียนต้องรู้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่าค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผลลัพธ์ (OUTCOMES) - 15 -


ตัวอย่างแบบทดสอบออนไลน์ ด้วยโปรแกรม ตัวอย่างชิ้นงาน และภาระงาน วัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง โดยวัดผลจากหลาย ๆ ด้าน ทั้งภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 และ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 มีการประเมินจากแบบทดสอบทั้ง รูปแบบออนไลน์ และออนไซต์เพื่อเป็นการประมวลความรู้ทางวิชาการ การส่งชิ้นงาน และ ภาระงาน พร้อมทั้งสร้างเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ผลการเรียนรู้ของรายวิชาตามหลักสูตรที่ผู้เรียนต้องรู้ - 16 -


ตัวอย่างชิ้นงาน และภาระงาน QR CODE คลิปนำ เสนองานของนักเรียน ภาคเรียนที่ 2/2565 - 17 -


QR CODE ตัวอย่างเครื่องมือวัและประเมินผล ตัวอย่างเครื่องมือในการวัดและประเมินผล - 18 -


ผู้เรียนที่มีผลการเรียนรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้รับการซ่อมเสริม แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาจนมีผลการเรียนรู้ผ่าน เกณฑ์ที่กำ หนด ผลลัพธ์ (OUTCOMES) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ ศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์นักเรียน รายบุคคล จากการทำ Car1 และ Car 2 จากการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน เพื่อรู้จักผู้เรียน และแก้ปัญปัหานักเรียนที่มี ผลการเรียนรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำ หนด โดย มีการบันทึกรายละเอียดไว้หลังแผนการ จัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งทำ วิจัยในชั้นเรียน - 19 -


QR CODE วิจัยในชั้นเรียน 1/2565 QR CODE วิจัย 2/2565 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ ข้าพเจ้าได้ศึกษาข้อมูลนักเรียนรายบุคคล จากการสอนในชั้นเรียนและจากการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน เพื่อทำ ความรู้จักผู้เรียนและสามารถหาแนวทางการแก้ปัญหา ในการเรียน รวมทั้งการทำ วิจัยในชั้นเรียน ภาพตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน - 20 -


1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ เสริมสร้างสมรรถนะ และจัดบรรยากาศให้เหมาะสมกับช่วงวัย ของผู้เรียน เช่น การใช้สื่อประกอบ การเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนรู้สึกสนุก เร้าใจ และช่วย กระตุ้นให้นักเรียนต้องการมีส่วนร่วมกับ กิจกรรม ใช้สื่อ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยลด ระยะเวลาในการเรียนรู้ของนักเรียน สามารถทำ ความเข้าใจ ได้ง่ายขึ้น ส่งเสริมนักเรียนทุกคนให้มี โอกาสนำ เสนอความคิดเห็น สร้างแรง บันดาลใจในการเรียนและเชื่อมโยงภาษา อังกฤษกับชีวิตประจำ วัน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ในชั้นเรียน มีความพึงพอใจในการ เรียนโดยผ่านการประเมินการสอน ของครูผู้เรียนมีส่วนในการแสดง ความคิดเห็นในการจัดบรรยากาศใน ชั้นเรียนเรียนสนุก มีทัศนคติที่ดีใน การเรียน ผลลัพธ์ (OUTCOMES) - 21 -


จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างสมรรถนะ มีการจัด บรรยากาศให้เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้เรียน เช่น การนำ สื่อวิดิทัศน์ที่น่าสนใจมาใช้ การจัด กิจกรรมกลุ่ม การเล่นเกมจากเรื่องที่เรียน การลงมือปฏิบัติจริงโดยวิธีการนำ เสนอทั้งรูป แบบออนไลน์และการนำ เสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนให้มี บรรยากาศน่าเรียนรู้ อีกทั้งนำ ความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยงกับการใช้ชีวิตประจำ วัน - 22 - ภาพบรรยากาศในการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2/2565 ภาพการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในปัจจุบัน


รายงานการประเมินการสอนของครูประภาภรณ์ ตีบทะเล ปีการศึกษา 2565 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน มีความพึงพอใจในการเรียน มีความสนใจในการ เรียนเพิ่มขึ้นมีความกระตือรือร้นในการเรียน การทำ กิจกรรม มีทัศนคติที่ดีในการเรียน โดยผ่าน การประเมินการสอนของครู ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 - 23 -


1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน จัดกิจกรรมโฮมรูม นักเรียน ที่ปรึกษา พูดคุย สังเกต พฤติกรรม สร้างแรงบันดาลใจในการเรียน อีกทั้ง ยังประสานงานระหว่างผู้ปกครองผ่าน กลุ่มไลน์ ด้านการเรียนข้าพเจ้าส่งเสริม คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน คือ ความ รับผิดชอบในการส่งภาระงาน และมี ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ในการทำ งาน ในรายวิชาภาษาอังกฤษ และทดสอบ ความรู้ด้วยตนเองไม่ลอกงานของผู้อื่น ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะที่ดีต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม เข้าใจตัวเองเป็นผู้ที่มี ความซื่อสัตย์ต่อตัวเองโดยการไม่ลอก ข้อสอบ และเห็นคุณค่าในตัวเอง ผลลัพธ์ (OUTCOMES) - 24 -


ภาพการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองผ่านทางกลุ่มไลน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 QR CODE สรุปเล่ม Homeroom 2/2565 ภาพตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรมโฮมรูม ม.4/5 ปีการศึกษา 2565 - 25 -


Click to View FlipBook Version