47 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง โรงเรียน อาทิ งานเปิดบ้านเหลืองดำ เลิศล้ำวิชาการ กิจกรรม EECi Innovation Youth Camp เทคโนโลยีเกษตรยุคใหม่ WiMaRC เซนเซอร์เครือข่ายไร้สาย การเข้าร่วมกิจกรรม “Languages Camp for Teachers and Students” ที่จัดขึ้นโดยสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยบูรพา การเข้าร่วมประกวดสื่อ สร้างสรรค์ หัวข้อ “Digi Camp ค่ายเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ” ฯลฯ ส่งผลผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สามารถ นำเทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ มาช่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ มีโครงการส่งเสริมให้ครูผู้สอนสร้างสื่อการจัด การเรียนรู้เช่น โครงการอบรมพัฒนาบุคลากรด้านการสร้างสื่อการเรียนการสอน ICT ในหัวข้อ “สร้างสื่อ ด้วย CANVA” ครูสร้างสื่อ เลือกเทคโนโลยีสารสนเทศ Google Classroom, Website, Facebook และ ช่องทาง Youtube เพื่อการศึกษา ข้อสอบ Online ไว้ใน Google Drive และ Google site เพื่อให้ผู้เรียน สามารถหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง เป็นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อ ครูจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยประเมินจากร้อยละของครูที่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ผลการพัฒนา ผลจากการพัฒนาครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากร้อยละของครูที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเน้นให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน มีความมั่นใจ กล้าคิด กล้าแสดงออก เกิดแรงจูงใจในการเรียน ทำให้มีความสุขในการเรียน ส่งเสริมให้ครู ชมเชย ยกย่องนักเรียนเมื่อนักเรียนทำความดีทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรม อื่น ๆ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมาโรงเรียนอย่างมีความสุข เช่น กิจกรรมโฮมรูม การให้กำลังใจ การมอบ เกียรติบัตรนักเรียนได้รับรางวัลต่าง ๆ เป็นต้น สำหรับการใช้สื่ออุปกรณ์สำหรับการจัดการเรียนรู้จัดเตรียม สื่อและอุปกรณ์ที่ทันสมัยพร้อมใช้งาน กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้นักเรียน เข้าเรียนอย่างมีความสุข ผลการพัฒนา ผลการพัฒนาครูผู้สอนมีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ทำให้ผู้เรียนมีความสุข มีความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ และ การลงมือปฏิบัติ มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
48 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน กระบวนการพัฒนา โรงเรียนกำหนดให้ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ OLE มีกระบวนการตรวจ แผนการจัดการเรียนรู้ นิเทศการสอนของครูทุกคนในโรงเรียน ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติ ของวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ทักษะและความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ ที่หลากหลาย ใช้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนมีกระบวนการประเมินผล การเรียนตามสภาพจริง เช่น การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน การตรวจใบงาน แบบฝึกหัด ผลงานต่าง ๆ การทดสอบความรู้ด้วยแบบทดสอบ มีการกำหนดผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบการออกข้อสอบกลางภาค และปลายภาคเรียนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และ มีรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้ผลการทดสอบสะท้อนความรู้ความสามารถทางด้านการคิด วิเคราะห์ และ การแก้ปัญหาของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สะท้อนผลการทดสอบไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ ความสามารถให้เป็นตามมาตรฐานที่แต่ละรายวิชากำหนด ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการพัฒนา ผลการพัฒนาครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 1 รายวิชา มีการวิเคราะห์ หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ทำให้เกิดการพัฒนาการสอนของครู ให้มีคุณภาพ มีการนิเทศการสอนเพื่อพัฒนา ปรับปรุงการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินผล ผู้เรียนให้เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ โดยครูทุกคนได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้ในชั้นเรียน ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความรู้และทักษะการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูทุกคน ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง เช่น กิจกรรมการเรียนรู้สู่โครงงาน (IS) ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ มีการตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งผู้เรียน และตรวจผลงานซ้ำ จนเป็นผลงานที่มีคุณภาพ ผู้เรียนได้ลงมือสืบค้นข้อมูล ทำงานเป็นกลุ่ม และเกิดชิ้นงานหรือนวัตกรรม มีเวทีให้ผู้เรียนได้แสดงผลงาน และนำเสนอผลงานของตนเองในระดับโรงเรียน ครูทุกคนมีการประเมิน ผู้เรียนด้วยเครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัด การเรียนรู้ของแต่ละรายวิชา โดยเครื่องมือในการวัดและประเมินผลมีการตรวจสอบความเหมาะสม ในการ ใช้ประเมินคุณภาพผู้เรียน เช่น ข้อสอบโดยข้อสอบทุกฉบับถูกตรวจสอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สามารถนำไปใช้ทดสอบความรู้ความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน ผู้เรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับ ทั้งผลการเรียนการทำงาน และผลงานต่าง ๆ จากครูผู้สอน ผู้เรียนสามารถพัฒนาปรับปรุงผลการเรียน และ ผลการประเมินผลงานต่าง ๆ ให้ได้ระดับคุณภาพที่ครูกำหนด มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
49 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันโดยผ่านโครงการหรือกิจกรรม ต่าง ๆ อาทิ งานนิเทศการสอน กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยมีการทำ PLC เพื่อนำ ข้อมูลที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนางาน พัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และเป็น รูปธรรม ดังนี้ 1) จัดประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางในการทำ PLC อย่างเป็นระบบตามระบบการเรียนรู้ของ โรงเรียน 2) ติดตามตรวจสอบการทำ PLC อย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอตามลำดับขั้นจนกว่าจะ สามารถนำไปใช้ได้จริง 3) โรงเรียนมีการสนับสนุนครูในการนำเสนอผลงานดีเด่น ด้านต่าง ๆ ทุกปีและมีการประเมิน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูทุกคนโดยผู้เรียนในแต่ละรายวิชา ผลการพัฒนา ผลการพัฒนาครูทุกคนได้รับการนิเทศการสอนจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตน ส่งผลให้ เกิดการพัฒนาความรู้ ทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยร่วมประชุมหารือเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนร่วมกัน เกิดการแลกเปลี่ยนปัญหา ที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอนของตนเอง ร่วมกันออกแบบการจัด การเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา หรือสร้าง นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นต่อไป นอกจากที่ครูจะได้รับ ประสบการณ์ใหม่ ได้รับความรู้ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ในการสอนของตนแล้ว ครูยังเกิดทักษะการทำงาน กลุ่ม ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเอง เกิดความสามัคคีในองค์กร และ เป็นการพัฒนาองค์กรที่ทุกคนมีส่วนร่วมอีกด้วย นำเสนอผลงานดีเด่นในการประกวดต่าง ๆ เป็นเวทีที่ให้ครู แต่ละคนได้แสดงผลงานของตนเองและของผู้เรียนที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เกิดความ ร่วมมือในการทำงาน และเกิดความคิดที่จะพัฒนาผลงานของตนเองและผู้เรียนต่อไป นอกจากนั้นยังเป็น การเปิดโอกาสให้โรงเรียนได้เผยแพร่ผลงานของครูและของโรงเรียนไปยังภายนอก สร้างชื่อเสียงกับ โรงเรียนได้อีกด้วยครูทุกคนได้รับการประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผู้เรียน เพื่อให้ ครูนำข้อมูลไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตนเองในปีการศึกษาต่อไป มีผลการพัฒนาโดย ภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
50 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 3.6 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน กระบวนการพัฒนา โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อให้ สอดคล้องกับการที่โรงเรียนเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้ดำเนินงานสนองพระราชดำริ จัดตั้งงาน "สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน" เพื่อเป็นสื่อในการสร้างจิตสำนึก ด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยให้นักเรียนได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคุณค่า ประโยชน์ ความสวยงาม อันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป โดยครูผู้สอนจะดำเนินการสอนสัปดาห์ละ 1 คาบ และ ต้องจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อย่างน้อยวิชาละ 1 แผน เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดความรัก หวงแหน เกิดจิตอนุรักษ์และเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม ผลการพัฒนา โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครูร้อยละ 100 มีแผนการสอนบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์ และโรงเรียนมีแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูล พรรณไม้และการเก็บรักษาเพื่อประโยชน์ของการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก ส่งผลให้นักเรียน เกิดความรัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของของพืชพรรณไม้ ตามแนวพระราชดำริ ฯ รวมทั้งมีจิตอนุรักษ์ และเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม จุดเด่น 1. ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จาก สื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. ผลงานวิจัยของครูทุกคนได้รับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการวิจัยพร้อมทั้งให้ คำแนะนำที่ครูสามารถพัฒนาต่อยอดได้เป็นอย่างดี 3. โรงเรียนดำเนินการโดยใช้ระบบการนิเทศ จึงทำให้ครูผู้สอนพบปัญหา และสามารถ นำปัญหาต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกมาพัฒนาตนเอง เพื่อการ พัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง 4. ครูเห็นความสำคัญ และเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ส่งผล ให้เกิดความร่วมมือระหว่างครูผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดกิจกรรมการ สอน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการจัดกิจกรรม และพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
51 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 5. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถของครู แล้วนำมาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อในอนาคต จุดควรพัฒนา 1. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูพัฒนากระบวนการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมการสอนแบบโครงงานให้ครบทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครอบคลุมทุกชั้นเรียน 2. สถานศึกษาวางแผนส่งเสริมให้ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณวุฒิความรู้ความสามารถ ตรงกับงานที่รับผิดชอบมุ่งมั่นพัฒนาตนเอง ส่งเสริมครูเข้ารับการอบรมประชุมสัมมนาผลงานทางวิชาการ ให้เป็นที่ประจักษ์ ศึกษาดูงานในวิชาที่สอนเพื่อเพิ่มพูนความรู้และมีเทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาใช้ใน การจัดการเรียนการสอน 3. การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก อาจจำเป็นต้องมีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ เพื่อให้ ผู้เรียนเข้าถึง มีความอยากรู้อยากเรียน และมีความสุขในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น เช่น การใช้สมาร์ทโฟน หรือ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาช่วยในการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น 4. ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การเขียน และสื่อสารภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ การคิด คำนวณ การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาให้ มากขึ้นเพื่อยกระดับผลการเรียนด้านนี้ แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น 1. จัดทำโครงการพัฒนาครูวัดประเมินผลตามสภาพจริงที่ยั่งยืน 2. จัดทำโครงการพัฒนาครูในด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ของนักเรียน และการสร้างสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. จัดทำโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. การพัฒนาครูสู่การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
52 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สรุปได้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 อยู่ในระดับคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 อยู่ในระดับคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม ที่ ประเด็นพิจารณา ค่า เป้าหมาย ปี 2566 ผลการ ประเมิน ร้อยละ ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดี 90.88 ยอดเยี่ยม 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ดี 83.32 ยอดเยี่ยม 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ดี 91.68 ยอดเยี่ยม 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดี 93.00 ยอดเยี่ยม 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยี่ยม 5) มีผลสัมฤทธิ์การทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา ดี 71.70 ดีเลิศ 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ดี 98.21 ยอดเยี่ยม 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด ดีเลิศ 98.72 ยอดเยี่ยม 2) มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยี่ยม 3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และความหลากหลาย ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยี่ยม 4) มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ดี 72.08 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ 90.96 ยอดเยี่ยม 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษา กำหนดชัดเจน ดีเลิศ 100 ยอดเยี่ยม
53 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ที่ ประเด็นพิจารณา ค่า เป้าหมาย ปี 2566 ผลการ ประเมิน ร้อยละ ระดับ คุณภาพ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ 100 ยอดเยี่ยม 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของ ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา และ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลิศ 80.39 ยอดเยี่ยม 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้ มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดีเลิศ 96.50 ยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพ แวดล้อม ทางกายภาพ และสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดีเลิศ 87.60 ยอดเยี่ยม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ดีเลิศ 92.20 ยอดเยี่ยม 2.7 จัดให้มีโครงการ/กิจกรรมเพื่อรองรับเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก EEC ดี 80.00 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ 95.59 ยอดเยี่ยม 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และ ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน ดีเลิศ 100 ยอดเยี่ยม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดี 100 ยอดเยี่ยม 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดีเลิศ 93.50 ยอดเยี่ยม 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 80.00 ยอดเยี่ยม 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยี่ยม 3.6 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยี่ยม
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ภาคผนวก - ประกาศกำหนดค่าเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 - สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ประกาศโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา เรื่อง การใช้มาตรฐานและค่าเป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ประจำปีการศึกษา 2566 -------------------------------------- ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ที่มีการปรับมาตรฐานการศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 (3) มาตรา 31 และมาตรา 48 พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีการกำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อันนำไปสู่การกำหนดให้มีมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้น ประกอบกับได้มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และกระทรวงศึกษาธิการมีประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 สำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาและเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอก จึงจะทำให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานจาก การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา จึงขอกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จำนวน 3 มาตรฐาน ดังเอกสารที่ แนบท้าย ประกาศ ณ วันที่ 12 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 (นางกฤตติกา เบญจมาลา) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง การกำหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน การศึกษา ประเด็น การพิจารณา เป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐาน ระดับ คุณภาพ เป้าหมาย มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพ ผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการ อ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ - ผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไป มีผลการ ประเมินในการอ่าน การเขียน และ การสื่อสารภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป - ผู้เรียนร้อยละ 65 ขึ้นไป มีผลการ ประเมินการอ่าน การเขียนและการสื่อสาร ภาษาต่างประเทศ ในระดับดีขึ้นไป - ผู้เรียนร้อยละ 65 ขึ้นไป มีผลการ ประเมินการคิดคำนวณ ในระดับดีขึ้นไป ดี 2) มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ คิดอย่าง มีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา - ผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไป มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาได้ ในระดับดีขึ้นไป ดี 3) มีความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม - ผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไป มีความรู้และ ทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม เช่น โครงงาน หุ่นยนต์ สิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ดี 4) ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร - ผู้เรียนร้อยละ 100 มีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่าง เหมาะสมและปลอดภัย ยอดเยี่ยม 5) มีผลสัมฤทธิ์การทางการ เรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา - ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เฉลี่ย 2.50 ขึ้นไป ดี
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง มาตรฐาน การศึกษา ประเด็น การพิจารณา เป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐาน ระดับ คุณภาพ เป้าหมาย - ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติต่าง ๆ เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ทั้งระดับ มัธยมต้นและมัธยมปลาย 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ - ผู้เรียนร้อยละ 85 ขึ้นไป มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ดี มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพ ผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) มีคุณลักษณะและค่านิยม ที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด - ผู้เรียนร้อยละ 95 มีผลการประเมิน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในระดับดีขึ้นไป - ผู้เรียนร้อยละ 100 มีค่านิยมไทยที่ดี ดีเลิศ 2) มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย - ผู้เรียนร้อยละ 100 มีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและ ความหลากหลาย - ผู้เรียนร้อยละ 100 ยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่างและความ หลากหลาย ยอดเยี่ยม 4) มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม - ผู้เรียนร้อยละ 85 มีสุขภาวะทาง ร่างกาย และจิตสังคม อยู่ในระดับดีขึ้นไป ดี ระดับคุณภาพเป้าหมายมาตรฐานที่ 1 ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บริหารและ การจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษา กำหนดชัดเจน - สถานศึกษามีเป้าหมายวิสัยทัศน์และ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน เป็นไปได้ในการปฏิบัติ ซึ่งกำหนดขึ้นโดย ผ่านการวิเคราะห์ และกลั่นกรองอย่างเป็น ระบบสอดคล้องกับขีดความสามารถและ บริบทของสถานศึกษา โดยคณะกรรมการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ดีเลิศ
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง มาตรฐาน การศึกษา ประเด็น การพิจารณา เป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐาน ระดับ คุณภาพ เป้าหมาย 2.2 มีระบบบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศึกษา - สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนส่งผลต่อ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา โดยการจัดทำแผนกลยุทธ์ ประจำปีงบประมาณ 2566-2570 ดีเลิศ 2.3 ดำเนินงานพัฒนา วิชาการที่เน้นคุณภาพ ของผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย - สถานศึกษาดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่ เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลิศ 2.4 พัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ - สถานศึกษามีแผนพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ ดีเลิศ 2.5 จัดสภาพ แวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ - สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดีเลิศ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ - สถานศึกษามีจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรู้ ดีเลิศ 2.7 จัดให้มีโครงการ/ กิจกรรมเพื่อรองรับ เขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก EEC - สถานศึกษาจัดให้มีโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC ดี ระดับคุณภาพเป้าหมายมาตรฐานที่ 2 ดีเลิศ
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง มาตรฐาน การศึกษา ประเด็น การพิจารณา เป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐาน ระดับ คุณภาพ เป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จัดการเรียน การสอนที่ เน้นคุณภาพ ผู้เรียนเป็น สำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน - ครู ร้อยละ 95 มีแผนการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ดีเลิศ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ - ครู ร้อยละ 85 ใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้อย่างหลากหลาย ดี 3.3 มีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก - ครู ร้อยละ 95 มีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก ดีเลิศ 3.4 ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน - ครู ร้อยละ 90 ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมา พัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ - ครูร้อยละ 100 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา วิชาชีพอย่างสร้างสรรค์โดยใช้ กระบวนการ PLC ยอดเยี่ยม 3.6 มีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบบูรณาการ งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน - ครูร้อยละ 95 มีแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ยอดเยี่ยม ระดับคุณภาพเป้าหมายมาตรฐานที่ 3 ดีเลิศ
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง กำหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่าง ๆ ที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดค่า เป้าหมาย 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้ สอดคล้องกับการประเมิน ดังนี้ ระดับ ยอดเยี่ยม หมายถึงคุณภาพอยู่ในระดับ ร้อยละ 80 - 100 ระดับ ดีเลิศ หมายถึงคุณภาพอยู่ในระดับ ร้อยละ 70 - 79 ระดับ ดี หมายถึงคุณภาพอยู่ในระดับ ร้อยละ 60 - 69 ระดับ ปานกลาง หมายถึงคุณภาพอยู่ในระดับ ร้อยละ 50 - 59 ระดับ กำลังพัฒนา หมายถึงคุณภาพอยู่ในระดับ น้อยกว่าร้อยละ 50 3. การกำหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกำหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือ เป็นร้อยละ ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ปีการศึกษา 2566 | โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
รายงานผลการประเมินมิตนเองของสถานศึกศึษา Self - Assessment Report (SAR) ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำ เภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ