ประเพณแี หกวางคำ
งานบุญออกพรรษา
บานวังรอ ง ตำบลหว ยไร อำเภอหลม สกั จงั หวดั เพชรบรู ณ
มหสาำวนทิักยศาลิ ลปยั ะรแาลชะภวฏั ฒั เพนธชรรรบมูรณ
คำนำ
ประเพณีแห่กวางคำงานบุญออกพรรษา บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
เป็นเอกสารองค์ความรู้ ภายใต้โครงการจัดเก็บข้อมลู ทางด้านศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นข้อมูล
ที่ทีมงานสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ได้จัดทำขึ้นจากการลงพื้นที่ภาคสนาม
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อให้เยาวชนและ
ประชาชนรนุ่ หลังได้รับรู้ถึงเรื่องราวทเ่ี กดิ ข้ึนในอดตี และปจั จุบัน
ทั้งนี้ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
เอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจทั้งหลาย นำองค์ความรู้นี้ไปเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและ
เล็งเห็นถงึ คณุ คา่ ของร่องรอยทางวฒั นธรรมทค่ี นในอดตี ได้สร้างไว้ต่อไป
สำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
สารบญั หน้า
เรื่อง ๑
องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม ๑
เร่ือง ประเพณแี หก่ วางคำ งานบญุ ออกพรรษา ๑
๑
วตั ถุประสงค์ ๑
ขอบเขต ๒
เปา้ หมาย ๒
ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ ๖
บทนำ ๘
ประเพณีแห่กวางคำงานบุญออกพรรษา ๑๔
ความเปน็ มา ๒๓
การเตรยี มงาน ๒๓
วันงาน ๒๔
แนวทางการนำไปปฏิบัตใิ ช้ ๒๗
ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก รายละเอียดรายวิชา (มคอ. ๓) ท่ใี ชบ้ ูรณาการ
องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม เร่อื ง ประเพณแี ห่กวางคำงานบญุ ออกพรรษา
บ้านวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก จงั หวัดเพชรบรู ณ์
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อเป็นการเสาะหา รวบรวม จัดเก็บข้อมูลในตัวบุคคลที่มีประสบการณ์ความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน
ประเพณีพื้นบ้าน ประเพณีแห่กวางคำ งานบุญออกพรรษา บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัด
เพชรบรู ณ์
๒. เพอื่ จดั ทำเป็นเล่มองค์ความรสู้ ำหรับเผยแพรใ่ หแ้ กเ่ ยาวชนและผู้ทใ่ี ห้ความสนใจศกึ ษาเรียนรู้
ขอบเขต
ศึกษาประวัติความเป็นมา และขั้นตอนการจัดประเพณีแห่กวางคำ งานบุญออกพรรษา บ้านวังร่อง
ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสัก จงั หวัดเพชรบรู ณ์
เปา้ หมาย
จัดเก็บข้อมูลทางด้านวัฒนธรรม เรื่อง ประเพณีแห่กวางคำ งานบุญออกพรรษา บ้านวังร่อง ตำบล
ห้วยไร่ อำเภอหล่มสกั จังหวัดเพชรบรู ณ์
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ
๑. ได้ขอ้ มลู ทางด้านวฒั นธรรม เรื่อง ประเพณีแห่กวางคำ งานบญุ ออกพรรษา บ้านวังร่อง ตำบลห้วย
ไร่ อำเภอหลม่ สกั จงั หวัดเพชรบรู ณ์
๒. ไดส้ บื สานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมประเพณีพื้นบา้ นจังหวัดเพชรบรู ณ์
๓. ไดอ้ งคค์ วามรู้สำหรับนำไปบูรณาการกบั การเรยี นการสอน
๒
ประเพณแี หก่ วางคำงานบญุ ออกพรรษา
บา้ นวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบูรณ์
บทนำ
วัฒนธรรม ประเพณี และพธิ ีกรรม เปน็ สง่ิ ทีส่ อ่ื ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชมุ ชนแต่ละท้องถน่ิ สะท้อน
ใหเ้ ห็นถงึ วิถชี วี ติ ความเปน็ อยู่ และความเป็นอันหนง่ึ อนั เดียวกนั ความสามัคคกี ลมเกลียวของชุมชน ความเชอ่ื
ในดา้ นตา่ งๆ ของบรรพบรุ ษุ ท่ีส่ังสมมาเป็นเวลาชา้ นาน และสบื ทอดสง่ิ ดีงามสคู่ นรุ่นหลัง
ประเพณี พิธีกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนนั้นมีพื้นฐานมาจากความเชื่อ ความศรัทธา เป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยว
จติ ใจของคนในชมุ ชน เช่น ความเชื่อในสิ่งที่มองเห็นและส่ิงที่มองไม่เห็น ความเชอ่ื ในเร่ืองศาสนา ความเช่ือใน
เรื่องเทวดา ผสี างนางไม้ สง่ ผลใหช้ มุ ชนมกี ารจดั พิธีกรรมตา่ งๆ อย่างต่อเนอ่ื งรนุ่ สรู่ ุ่น จนกลายเป็นประเพณีที่มี
การปฏิบัติสืบต่อกันมา เพื่อตอบสอนงความเชื่อนั้นๆ และทำให้คนในชุมชนที่ปฏิบัติตามเกิดความสบายใจ
รู้สึกปลอดภัย และมคี วามมน่ั ใจในการใช้ชีวิตประจำวัน
บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีประเพณีพิธีกรรมที่มีรากฐานมาจาก
ความเชื่อความศรัทธาในเรื่องพระพุทธศาสนา เหล่าเทพและเทวดา มีการปฏิบัติสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น
เรียกว่า “ประเพณีแห่กวางคำ” ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อถวายการต้อนรับองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้า ท่ีเสดจ็ ลงจากดาวดึงส์ ในชว่ งวันออกพรรษา และเป็นศนู ยร์ วมจิตใจของคนในชุมชนได้เป็นอย่างดีที่ทำให้
ชาวบ้านได้ใช้เวลาร่วมกัน พบปะพูดคุย ร่วมแรงร่วมในกันจัดงานประเพณีตามความเชื่อ ทำให้เห็นความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละและรู้จักแบ่งปนั ส่ิงของเครื่องใช้ ข้าวปลาอาหาร สร้างความสามัคคี และทำให้ชุมช นมี
ความเข้มแข็ง นับว่าเป็นประเพณที ม่ี คี วามน่าสนในที่จะศกึ ษาคน้ ควา้ ในเชงิ ลกึ อย่างย่ิง
ทั้งนี้ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ จึงได้ทำการศึกษา ค้นคว้า จัดเก็บ
รวบรวมองค์ความรู้ เรื่อง ประเพณีแห่กวางคำงานบุญออกพรรษา โดยใช้เขตพื้นที่การศึกษาที่บ้านวังร่อง
ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และเผยแพร่วัฒนธรรมที่ดีงามให้สังคม
ทั่วไปได้รับรู้และคงอยู่สบื ไป
เนื้อหาองค์ความรู้เล่มนี้ จะกล่าวถึงเรื่องราวความเชื่อ ขั้นตอนการจัดประเพณี และความศรัทธาที่มี
ต่อพระพุทธศาสนา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านใหค้ วามศรทั ธานบั ถอื กันมาตัง้ แตบ่ รรพบรุ ษุ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยว
โยงแทบจะเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับชาวบ้าน ผ่านทางประเพณีและพิธีกรรม เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษา
พื้นท่ีบ้านวงั รอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สกั โดยการสมั ภาษณ์ เกบ็ ข้อมลู ภาพถา่ ย และร่วมสงั เกตในพิธีกรรม
ตงั้ แต่เริม่ จนจบข้ันตอน
๓
สภาพทว่ั ไปในเขตพน้ื ทีศ่ ึกษา
อำเภอหล่มสัก เพ้ียนมาจากคำว่า "ลมุ่ สกั " อันหมายถงึ ล่มุ แม่นำ้ ป่าสัก เน่ืองจากเปน็ เมืองท่มี ีแม่น้ำป่า
สกั ไหลผ่าน ชาวอำเภอหลม่ สกั ส่วนใหญ่มีเช้ือสายมาจากบรรพบุรษุ ชาวลาวจากนครหลวงเวียงจันทน์อพยพมา
อาศัยอยู่ ณ ที่นี่ โดยมีชื่อเรียกว่า "ชาวลาวหล่ม" หรือ "ชาวไทหล่ม" บ้านเรือนของผู้ที่อาศัยที่นี่มักปลูกชิด
ตดิ กนั โดยเฉพาะในบรเิ วณหอนาฬกิ าประจำอำเภอ ซ่งึ เปน็ ศนู ย์กลางของอำเภอ
อำเภอหล่มสัก
อำเภอหล่มเก่า เป็นพื้นทีป่ ระกอบดว้ ย ๒๓ ตำบล ดงั น้ี
๑. ตำบลหล่มสัก ๒. ตำบลวดั ปา่
๓. ตำบลตาลเด่ียว ๔. ตำบลฝายนาแซง
๕. ตำบลหนองสว่าง ๖. ตำบลนำ้ เฮ้ีย
๗. ตำบลสักหลง ๘. ตำบลท่าอิบุญ
๙. ตำบลบ้านโสก ๑๐. ตำบลบา้ นต้วิ
๑๑. ตำบลห้วยไร่ ๑๒. ตำบลน้ำก้อ
๑๓. ตำบลปากช่อง ๑๔. ตำบลน้ำชนุ
๑๕. ตำบลหนองไขว่ ๑๖. ตำบลลานบา่
๑๗. ตำบลบุ่งคล้า ๑๘. ตำบลบุ่งนำ้ เต้า
๑๙. ตำบลบ้านกลาง ๒๐. ตำบลชา้ งตะลูด
๒๑. ตำบลบา้ นไร่ ๒๒. ตำบลปากดกุ
๒๓. ตำบลบา้ นหวาย
จำนวนประชากรทั้งสิ้น ๘๘,๖๐๙ คน จำนวนบ้าน ๑๗,๐๓๖ หลังคาเรือน ประชากรส่วนใหญ่มี
สัญชาติไทย เชอื้ ชาตอิ ่นื เป็นสว่ นน้อย เช่น ชาวไทยภเู ขาเผ่าม้ง (สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเพชรบูรณ์,
ม.ป.ป.: ๑๓ )
ทตี่ ัง้ และอาณาเขต
อำเภอหล่มสัก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลหล่มสัก ถนนวจี ความกว้างวัดจากทิศเหนือไปทางทิศใต้ ยาว
ประมาณ ๔๕ กิโลเมตร ความยาววัดจาก ทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก ประมาณ ๔๙ กิโลเมตร มีพื้นที่
ท้ังหมด ๑,๕๓๕,๓๔๘ ตารางกโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ต่อกับอำเภอตา่ งๆ ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั อำเภอหล่มเกา่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ อำเภอนครไทย จังหวดั
พษิ ณุโลก
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ อำเภอเมือง จังหวดั เพชรบูรณ์
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอน้ำหนาว อำเภอหล่มเกา่ จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอ
คอนสาร จงั หวัดชยั ภูมิ
ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั อำเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบรู ณ์ อำเภอวังทอง จงั หวดั
พิษณุโลก
๔
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพทัว่ ไปของอำเภอหล่มสักเป็นป่าไมแ้ ละภูเขา มเี ทือกเขาสูงล้อมรอบ ลกั ษณะเหมือนแอ่งกระทะ
มีภเู ขา ๓ ดา้ น คอื
๑. ด้านทศิ เหนอื ในเขตบางส่วนของพนื้ ที่ ตำบลทา่ อิบุญ
๒. ด้านทิศตะวันออก ในเขตบางส่วนของพ้นื ที่ ตำบลหว้ ยไร่,ตำบลบ้านต้ิว, ตำบลปากช่อง
ตำบลบา้ นกลาง, และตำบลช้างตะลูด
๓. ดา้ นทศิ ตะวนั ตก ในเขตสว่ นของพ้ืนที่ ตำบลนำ้ กอ้ , ตำบลน้ำชนุ ,ตำบลบ่งุ น้ำเตา้ , และ
ตำบลบงุ่ คล้า
นอกจากสภาพพื้นที่ตอนบนส่วนใหญ่เป็นเนินเขา มีภูเขาขนาบทั้งด้านตะวันออก และด้านตะวันตก
จึงทำให้สภาพอากาศร้อนจัดในช่วงฤดูร้อน และหนาวจัดในช่วงฤดูหนาว มีสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา
สงั คมและวฒั นธรรม
การผสมผสานกันของวัฒนธรรมสังคมชุมชนในอำเภอหล่มสัก เกิดจากกลุ่มคนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่
ในบริเวณนี้ ที่มีความหลากหลายทางด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยพื้นฐานของมนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดย่อม
นำเอาวัฒนธรรม ความเชือ่ ในสังคมของตนเองมาใช้ร่วมกับวฒั นธรรมด้ังเดิมของกลุ่มชนที่อยู่อาศยั เดิม ก่อเกิด
สังคม ประเพณี วฒั นธรรม ท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะท้องถิ่นในอำเภอหลม่ สัก
ความเชื่อดั้งเดิมชาวอำเภอหล่มสัก มีโครงสร้างสืบทอดมาจากวัฒนธรรมล้านช้างผสมกับกลุ่มคนที่
อาศัยอยู่ในพื้นที่ตั้งแต่แรกเริ่ม มีการเกี่ยวข้องกันในระบบเครือญาติที่จะสืบทอดธรรมเนียมและมีแนวทาง
ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด หากผิดจากข้อกำหนดถือว่าเป็น “ขะลำ” เรียกได้ว่าเป็นข้อกำหนดทางสังคมมีไว้ให้คน
ในชุมชนใช้ปฏิบัติสืบต่อกัน เช่น ประเพณีบายศรีสู่ขวัญ ประเพณีการเกิด บวช กินดอง (แต่งงาน) การตาย
และการละเลน่ ต่างๆ เป็นต้น
แนวทางปฏิบัติที่ยึดถือกันแนบแน่นเห็นจะเป็น “ฮีตสิบสองคองสิบส่ี” ที่เชื่อว่าถ้าปฏิบัติตามจะ
เจริญรุ่งเรือง ฮีตสิบสองจะเป็นแบบแผนการทำบุญทั้งสิบสองเดือนคองสิบสี่จะเป็นระเบียบธรรมเนียมการใช้
ชวี ิตประจำวันในทุกครวั เรือนและทุกหนว่ ยสังคมท่ีพึงปฏิบตั ิต่อกัน โดยเฉพาะสว่ น ฮีตวัดคองสงฆ์ เป็นแนวยึด
ปฏิบัติต่อพุทธศาสนา วัดและพระสงฆ์ในฮีตดังกล่าว จึงยึดถือเป็นประเพณีเกี่ยวกับการทำบุญในวันพระ
ถวายภัตตาหารพระ และให้ความสำคัญต่อพระภิกษุเมื่อจะพูดให้ยกมือไหว้ก่อน (จารุบุตร เรืองสุวรรณ,
๒๕๒๙: ๑๕๒)
๕
บา้ นวงั รอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก จงั หวัดเพชรบูรณ์
บ้านวังร่อง เป็นชุมชนหนึ่งที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ของตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ประชากรส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากลาวเวียงจันทน์และหลาวพระบาง ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพจากภัย
สงครามมาอย่ทู ี่เมืองหล่ม (หลม่ เกา่ ในปจั จบุ นั ) กอ่ นลงหลกั ปกั ฐานก่อตัวเป็นชุมชนบา้ นวังร่องในปัจจุบัน และ
สิ่งที่สามารถสะท้อนใหเ้ ห็นถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรมอันสืบเนอื งมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ลาวลา้ นช้างที่ปรากฏใน
ชุมชนบ้านวังร่อง คือ การสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ที่ยังยึดถือปฏิบัติตามฮีตสิบสอง หรือ
ประเพณีของกลุ่มชาติพันธลุ์ าว ทีแ่ สดงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิน่ ของตนเองสบื ทอดจากบรรพบุรุษและใช้
เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนในสงั คมจนถงึ ปัจจบุ ัน
ท่ตี ้ังและอาณาเขต ตดิ ต่อกับ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ
ทิศตะวันตก
การคมนาคม
ประชาชนมีความสะดวกมากขึ้นในการใช้ถนน โดยมีถนนเช่ือมระหว่างจังหวัด อำเภอตำบลและ
หม่บู า้ น ซงึ่ ส่วนใหญ่เป็นถนนลาดยางและคอนกรีต ถนนสายหลกั ที่ติดตอ่ กบั อำเภอ ลาดยางแล้วคือ ถนนสาย
บ้านติ้ว – ทา่ อิบญุ ติดต่อกบั ถนนสายบ้านต้วิ – หล่มสกั ถนนในหมูบ่ ้านลาดยางเทคอนกรตี แลว้ ๘๐% ตำบล
หว้ ยไรถ่ ึงที่ว่าการอำเภอหล่มสัก ๑๑ กโิ ลเมตร
อาชีพ
ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพด้านการเกษตร พชื เศรษฐกจิ ท่ีสำคญั ได้แก่ ข้าว ขา้ วโพด ยาสบู
เป็นต้น นอกจากนน้ั ยงั มีกล่มุ ทอผา้ ก่ีกะตุกอีกด้วย
๖
ประเพณีแห่กวางคำงานบญุ ออกพรรษา
ความเป็นมา
แห่กวางคำ วัฒนธรรมร่วมรากล้านนา ล้านช้าง ในเทศกาลออกพรรษาของชาวไทหล่มโดยเฉพาะท่ี
บ้านวังร่อง เป็นการพรรณนาถึงเหล่าสรรพสัตว์ในป่าหิมพานต์ มีความตื่นเต้นดีใจต่างเต้นระบำรำฟ้อนเพื่อ
ถวายการต้อนรบั องคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ที่เสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส์ นอกจากเหล่ากวางคำที่ไทใหญ่ไทลื้อ
เรียกว่า โต๋ แต่ไทเมืองหล่มที่บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก ยังมีการแต่งกายเป็นผีชนิดต่างๆ
หมายถงึ เหล่าสัมภเวสีท่เี รยี กวา่ ตัวตลกหรือหวั โขน ออกมาฟอ้ นรา่ ยรำทำทีท่าดีอกดใี จในการเสด็จกลับมาของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยอีกนัยหนึ่งยังสื่อถึงผีบรรพชนคนร่วมรากอุษาคเณย์ในคติความเชื่อเรื่องการบูชาผี
บรรพชนอันเปน็ ความเช่ือที่มีมาอย่างยาวนาน
กวางคำ เป็นสัตว์ป่าหิมพานต์จำพวกหนึ่งท่ีมีรูปร่างลักษณะของสัตว์หลายชนิดร่วมอยู่ในตัวเดียวกัน
คอื ลำตัวมลี กั ษณะเหมือนสิงโต ส่วนหัวมีลกั ษณะเหมอื นกวาง และสว่ นหางมลี ักษณะเหมือนเลยี งผา
ตามตำนานสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จขึ้นไปโปรดพุทธมารดาบนสรวง
สวรรค์ เป็นเวลา ๓ เดือน ในระหว่างวันเข้าพรรษา ตั้งแต่วันเพ็ญเดือน ๘ จนถึงวันเพ็ญเดือน ๑๑ เมื่อครบ
พรรษา พระพุทธเจ้าก็เสด็จกลับลงมายังมนุษย์โลก ในวัน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ที่เรียกว่า วันเทโวโรหนะ เป็น
วันท่ีพระพุทธเจ้าเปิดโลก สตั วท์ ง้ั หลายในสามภพ (มนุษย์โลก นรกภูมิ พรหมโลก) ตา่ งพากันเห็นพระพุทธเจ้า
โดยทั่วกัน สัตว์ทั้งหลายในป่าหิมพานต์ ต่างมีความยินดี ดีใจ พากันกันมาเฝ้ารับเสด็จ เพื่อทำบุญใส่บาตร
พระพทุ ธเจ้า เป็นจำนวนมาก
จากคำบอกเล่า นายภูริทัต คำโสม กล่าวว่า ตามความเชื่อโบราณที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาจากบรรพ
บุรุษ “ตนเองได้สืบทอดการจัดพิธีกรรมต่างๆ ของหมู่บ้านจากคุณย่า เพราะช่วงเวลาสมัยตอนเป็นเด็กคุณย่า
จะเรียกให้เข้าไปช่วยหยิบจับของต่างๆ ในการประกอบพิธี เมื่อโตขึ้นคุณย่าจงึ ประกอบพธิ ีมอบหน้าทีท่ ุกอย่าง
ให้ปฏิบตั ิตามฮตี ๑๒ อย่างเคร่งครดั ”
ประเพณแี ห่กวางคำ งานบุญออกพรรษาของชมุ ชนบา้ นวงั รอ่ ง เปน็ ประเพณีพ้นื ถิน่ ซึง่ ถอื ว่ามีหนง่ึ เดียว
ในจงั หวดั เพชรบูรณ์ จากคำบอกเล่าของคุณตา – คณุ ยาย ในหมู่บา้ น เลา่ วา่ ประเพณีนม้ี ีมานานหลายชั่วอายุ
คน ซงึ่ แตก่ อ่ นยังไม่มีภาครฐั เข้ามาเกี่ยวข้องจัดงานตามความสนุกสนานภายในชุมชนในช่วงวันออกพรรษา ซ่ึง
กิจกรรมภายในงานจะเริ่มตั่งแต่ช่วงเช้า โดยจะมีการแข่งขันเรือสั้นท่ีหนา้ วัดศรีสองคร เป็นเรอื ขนาด ๕ ฝีพาย
ช่วงเย็นจะกมีการไหลเรือไฟ และเวียนเทียน โดยชาวบ้านตามคุ้มต่างๆ จะทำกวางคำ ๑ – ๒ ตัว และบริวาร
เช่น ตัวผี ตวั ตลกเสรมิ ขบวนแห่ ขบวนแหจ่ ะแหร่ อบพระอโุ บสถ ๓ รอบ
๗
ประเพณีแห่กวางคำในวนั ออกพรรษา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘
(ภาพโดย ภูริทตั คำโสม เม่ือ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ประเพณแี ห่กวางคำในวนั ออกพรรษา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘
(ภาพโดย ภรู ิทัต คำโสม เมอ่ื ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒)
๘
การเตรียมงาน
๑. กำหนดจัดงาน
กำหนดจัดงานประเพณีแห่กวางคำ นิยมจัดขึ้นในช่วงวันออกพรรษา หรือวันมหาปวารณา โดยมี
ความเชอ่ื กันว่า การทำตวั กวางคำแห่ ทำเพื่อถวายการต้อนรับองค์สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้า ท่ีเสด็จลงจาก
ดาวดึงส์ โดยชาวบ้านจะแบ่งการทำตัวกวางคำเป็นคุ้มบ้าน ซึ่งจะแจ้งความจำนงกับผู้ใหญ่บ้าน และร่วมกัน
ปรึกษาหารือกนั ระหว่างชาวบา้ นกับผู้นำชุมชนถึงกำหนดการในการแห่ขบวนกวางคำไปทว่ี ัด จากนั้นก็จะบอก
บญุ และนดั แนะชว่ ยกนั ตกแต่งตัวกวางคำและขบวนแหท่ ค่ี ุ้มบ้านเจา้ ภาพ
๒. การจดั เตรียมสถานที่ ตกแตงตวั กวางคำ และอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นงาน
๒.๑ การจัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณใ์ นการจัดงาน ชาวบ้านทีอ่ ยู่ในละแวกเดยี วกันกับบ้านเจ้าภาพได้
บอกบุญให้มาช่วยกันจัดทำโครงตวั กวางคำ จะมารวมตัวกันพร้อมกับจัดหาอุปกรณ์ ไม่วา่ จะเปน็ ไม้ไผ่ ใบตอง
กระดาษเงิน กระดาษทอง ฯลฯ ซ่ึงนอกจากตัวกวางคำแลว้ ในขบวนยังมีตวั ตลก และขบวนเศรษฐกจิ พอเพียงท่ี
ชาวบ้านจะตอ้ งจัดเตรียมอีกดว้ ย
๒.๒ การจัดทำองค์ประกอบต่างๆ ของขบวนแห่ การแบ่งหน้าที่ จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้เฒ่าผู้
แก่และเยาวชนในพ้ืนท่ี สามารถสรปุ ไดว้ า่ มกี ารแบง่ หนา้ ทอี่ อกเปน็ หลายส่วน คอื
๒.๒.๑. ตวั กวางคำ
การทำโครงตัวกวางคำ ฝ่ายชายจะรับผิดชอบ เนื่องจากฝ่ายชายจะมีทักษะในด้านของการ
ขึ้นโครง และจำเป็นต้องใช้แรงในการมัดโครงให้มีความมั่นคง กวางคำสามารถนำวัสดุมาทำได้หลายอย่าง
ขึน้ อยู่กับความถนัด และความคิดสรา้ งสรรคข์ องแตล่ ะค้มุ บา้ น เชน่
คุ้มบารมีศรีย่าเพียร์แสน จะใช้ไม้ไผ่ทำโครงตัวกวาง ตกแต่งตัวกวางด้วยกระดาษ
เงิน กระดาษทอง ๑ รอบ และใช้ใบตองฉีกเป็นเส้นเล็กๆ ปิดทับกระดาษเงิน กระดาษทองอีกรอบ เพื่อให้ดู
คล้ายขนของกวาง ส่วนหัวของกวางคำจะสานไม้ไผร่ ูปทรงคล้ายเข่งใส่ของแยกออกจากตัวกวางจากนั้นห่อหมุ้
ด้วยกระดาษทองตกแต่งทำตา จมูก ปาก ใส่เขาให้แลดูคลา้ ยกับกวาง
ตกแตง่ โครงกวาง คุ้มบารมศี รียา่ เพียร์แสน
(ภาพโดย มนชยา คลา้ ยโศก เมอ่ื วันที่ ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๙
คุ้มบ้านใต้ไทท่าผักกาด จัดทำโครงกวางคำด้วยไม้ไผ่เช่นเดียวกับคุ้มบารมีศรีย่า
เพียร์แสน แต่จะแตกต่างกันช่วงหัวกวางซึ่งคุ้มนี้จะทำติดกับตัวกวางเลยจะนั้นแตกแต่งตัวกวางคำให้สวยงาน
ตามทีต่ ้องการ
ตกแตง่ โครงกวางคำ คมุ้ บา้ นใตไ้ ทท่าผัดกาด
(ภาพโดย มนชยา คล้ายโศก เมอื่ วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒)
คมุ้ สาวซิ่งแมล่ ูกอ่อน จดั ทำโครงกวางคำด้วยไม้ไผ่เช่นเดียวกนั แตจ่ ะให้กาบมะพร้าวแห้งเปน็
วัสดุหอ่ หุ้มโครงแทนกระดาษ หลังจากนน้ั ตกแต่งตามความต้องการ
กวางคำ คุ้มสาวซิ่แม่ลกู อ่อน
(ภาพโดย มนชยา คลา้ ยโศก เมอื่ วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๐
๒.๒.๒. การทำตวั ตลก
ตัวตลก หรือบรวิ ารของกวางคำ เป็นตัวละครทส่ี ร้างความเฮฮา และสรา้ งสีสนั ให้กับขบวนแห่
อีกทั้งยังเป็นที่สนใจของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ที่จะร่วมกันคิดสรร จัดทำตัวตลกมาร่วมขบวนแห่กวางคำ
เป็นกจิ กรรมท่ที ำให้เยาวชนได้เขา้ ถงึ วฒั นธรรมพ้ืนบ้านของตนเองอีกด้วย ตวั ตลกมักทำมาจากวสั ดุที่เหลือจาก
การตกแต่งตัวกวางคำ โดยจะทำเป็นหวั โขน แต่งหน้าแต่งตา ให้ดูน่าเกรียด น่ากลัว เช่น แต่งเป็นผีเปรต ผีตา
โขน ฯลฯ
ตวั ตลก ในขบวนแห่กวางคำ
(ภาพโดย มนชยา คล้ายโศก เมื่อวันท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
คณุ ตาเร่ง นาคคำ อายุ ๗๔ ปี เลา่ ว่า “การทำตวั กวางคำ และตัวตลก เรมิ่ ต้งั แตส่ มยั คุณปคู่ ุณย่าพาทำ
สานหัวโขน และประกอบส่วนต่างๆ ของกวาง ตาทำจากกาบมะพร้าว เขาทำจากกิ่งไม้ ลักษณะเป็นเขากวาง
หจู ะทำจากกาบมะพร้าว ลักษณะหูเป็นกระต่าย ปากทำจากกาบมะพรา้ ว ลกั ษณะเป็นปากจระเข้ เสร็จแล้วติด
ด้วยกระดาษเพื่อเพิ่มความหนาขึ้น จึงวางทับด้วยกระดาษสีทองเพื่อให้มีลักษณะเป็นกวางทองคำ ตกแต่งให้
๑๑
สวยงาม ก็จะได้เป็นหัวกวาง ๑ หัว ใช้เวลาทำ ๑ – ๒ วัน แล้วนำไปประกอบกับตัวกวางอีกส่วนหนึ่ง และจะ
สานไมไ้ ผ่อกี ส่วนหนึง่ เอามาตกแตง่ ทำเปน็ ตัวตลก เพอ่ื เรียกความสนใจ และสรา้ งสสี ันใหก้ บั ขบวนแหก่ วางคำ”
๒.๒.๓. เรอื สั้นจำลอง
ขบวนแห่กวางคำ สมัยก่อนจะมีการจัดการแข่งขันเรือสั้นขนาด ๕ ฝีพาย ณ บริเวณหน้าวัด
ศรีสองคร ในช่วงเช้าของวันงาน เพื่อความสนุกสนานของคนในชุมชน ในช่วงเทศกาลวันออกพรรษา และ
เพือ่ ใหช้ าวบ้านไดพ้ บปะสังสรรค์กัน ส่วนชว่ งเยน็ ของวันงานกจ็ ะมกี ารปล่อยเรอื ไฟดว้ ย แต่เนอื่ งจากปจั จบุ ันลำ
น้ำบริเวณหน้าวัดแห้งขอด ทำให้กิจกรรมดังกล่าวถูกงดจัด ชาวบ้านจึงทำเรือสั้นจำลองมาร่วมขบวนแห่กวาง
คำ เพื่อเป็นเครื่องเตือนความจำใหค้ นในชุมชนรู้ว่าการจดั งานประเพณีแห่กวางคำ เคยมีการจัดแข่งขันเรือสัน้
อย่ดู ้วย
เรอื ส้นั ของแตล่ ะคุ้มบ้าน
(ภาพโดย มนชยา คลา้ ยโศก เม่อื วนั ท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒)
๑๒
๒.๒.๔. ปราสาทผง้ึ
ปราสาทผึ้ง เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมในขบวนแห่กวางคำ ที่มีความเชื่อเกี่ยวกับทางศาสนา ว่า
คร้นั ท่พี ระพุทธองค์เสด็จถึงประตูเมืองสังกัลป์สนคร มนษุ ยแ์ ละเปตรนรกต่างก็ช่นื ชมปล้ืมปิติในพระพุทธบารมี
เกิดความเลื่อมใสในบุญกุศลจนเกิดจินตนาการเห็นปราสาทสวยงามใคร่จะไปอยู่จึงรู้ ชัดว่าการที่จะได้ไปอยู่ใน
ปราสาทอันสวยงามนั้นต้องสร้างบุญกุศล ประพฤติปฏิบัติในศีลธรรมอันดี สร้างปราสาทกองบุญนั้นในเมือง
มนุษย์เสียก่อน (สิริวิมล คำคลี่, ๒๕๕๕) ตามความเชื่อที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษชาวลาว คุ้มบ้านที่มีจิต
ศรัทธาจึงมีการบอกบุญชาวบ้านในละแวกเดียวกันให้มาช่วยกันทำต้นปราสาทผึ้ง เพื่อนำไปถวายที่วัดศรี
สองครในวันงาน
การตกแต่งปราสาทผ้งึ
(ภาพโดย มนชยา คลา้ ยโศก เม่ือวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒)
๑๓
๒.๒.๕. ขบวนเศรษฐกิจพอเพียง
ขบวนเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกิจกรรมที่ทางชุมชนเสริมแต่งเพิ่มเตมิ ขึ้นมาใหม่จากอดีต ตาม
แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ที่มุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ รวมถึง
พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนเกิดความยั่งยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลกั
สำคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุม้ กันที่ดี โดยขบวนนี้จะใชพ้ ืชผักสวน
ครวั ทีป่ ลกู ได้ภายในชุมชน นำมาจดั ตกแต่งให้สวยงาม
ขบวนเศรษฐกจิ พอเพียง
(ภาพโดย ณฐั วดี แกว้ บาง เม่ือวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๔
วันงาน
งานประเพณีแหก่ วางคำ บา้ นวงั รอ่ ง เปน็ ประเพณเี กา่ แก่ทสี่ ืบทอดมาจากบรรพบุรษุ จดั ข้ึนในช่วงออก
พรรษา ซึ่งเมื่อเกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงของสงั คม ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การคมนาคมต่างๆ ทำ
ให้ชาวบ้านบางส่วนมุง่ เน้นไปในเร่ืองของการทำมาหากิน การเอาตัวรอด ส่งผลให้งานประเพณีดังกล่าวถูกลด
ความสำคญั ลงจนทำใหไ้ ม่ได้ปฏิบตั ิต่อกนั มาบางช่วงเวลา กระทง่ั มีการรวมกลุ่มของเยาวชนรนุ่ ใหม่ นำโดยนาย
ภูริทัต คำโสม และผู้ใหญ่ไพฑูลย์ อิหา ได้ก่อตั้งกลุ่มอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านของชุมชน เพื่อฟื้นฟูงาน
ประเพณีแห่กวางคำ จนทำให้ภาครัฐ ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน เริ่มเห็นความสำคัญของงานประเพณีแห่กวาง
คำอีกครงั้ ในปี พ.ศ.๒๕๖๒
ลำดบั พธิ ีในวันงาน ประเพณแี หก่ วางคำ ปี ๒๕๖๒
กำหนดจัดงานวนั อาทติ ย์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ ตรงกับวนั ออกพรรษา ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดือน ๑๑
เวลา ๑๔.๓๐ น. - คณะกวางคำทกุ คณะพร้อมกนั ที่ถนนหน้าร้านชา่ งโยบาเบอร์
๑๕.๐๐ น. - คณะกวางคำทุกคณะแห่ออกจากจุดเรมิ่ ต้น
๑๗.๐๐ น. - คณะกวางคำ และผรู้ ่วมงาน แห่ขบวนรอบพระอโุ บสถ ๓ รอบ
๑๗.๓๐ น. - คณะกวางคำถงึ หน้าเวทีกลาง ณ วัดศรสี องคร
- พิธีเปดิ อย่างเป็นทางการ
- คณะกวางคำโชว์ การแสดงคณะละ ๑ เพลง
- ตดั สินการประกวดคณะกวางคำ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการประกวดขบวนแห่กวางคำ
ลำดับ เกณฑ์การใหค้ ะแนน อธบิ ายเกณฑ์คะแนน คะแนน
๒๕
๑ ความพร้อมขององค์ประกอบทีม มีปา้ ยคณะ , มตี วั ตลกประกอบ , องคป์ ระกอบด้านความคดิ
๒๕
และวัสดุท่มี ีในท้องถน่ิ สรา้ งสรรค์ , นำวสั ดุ หรือสง่ิ ท่มี ีในพน้ื ทตี่ กแตง่ รูปแบบขบวน
๒๕
โดยใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
๒ ความพรอ้ มในการสรา้ งรอยย้ิม ความพร้อมในการสรา้ งรอยย้ิมและความสนุกใหก้ ับผู้ชมงาน
และความสนกุ ใหก้ ับผู้ชมงาน ในรูปแบบของทีมที่มีส่วนร่วมของทุกเพศทุกวัย และมีความ
ต่อเนือ่ งในขบวนแห่
๓ เชือ่ มโยงเข้ากับคำขวญั หมบู่ า้ น ชุมชนคณุ ธรรม
แห่กวางคำออกพรรษา
พัฒนาเกษตรอนิ ทรีย์
ประเพณีแขง่ เรอื สนั้
ยึดม่นั หลักปรัชาของเศรษฐกนิ พอเพียง
๑๕
ลำดบั เกณฑก์ ารให้คะแนน อธิบายเกณฑค์ ะแนน คะแนน
๔ การแสดงหนา้ เวที ๑ เพลง ความพร้อมในการสร้างรอยยิม้ และความสนกุ ให้กับผู้ชมงาน ๒๕
ในรูปแบบของทีม มีความสามารถทำใหผ้ ชู้ มมารว่ มสนกุ ดว้ ย ๒๐
มรี ะเบียบวนิ ัย
ตรงตอ่ เวลา , มนี ้ำใจ , ให้อภัย
ขบวนประเพณีแห่กวางคำ เริ่มขบวนจากทางเขา้ หมู่บ้าน เวลาประมาณ ๑๔.๐๐ น. ชาวบ้านจะเรม่ิ
ทยอยมาจัดเตรียมขบวนแห่ ซึง่ ในขบวนจะมีการตีกลองเป่าแคนแห่กันอย่างสนุกสนาน เม่อื ตั้งขบวนเรียบร้อย
จะเริ่มเคล่ือนขบวนตามถนนไปที่วัดศรีสองคร เมื่อขบวนแห่มาถึงวดั จะวนรอบสิม จำนวน ๓ รอบ เสร็จแลว้
จึงไปรวมกนั ทีล่ านหน้าศาลา วัดศรีสองคร และดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้
ภาพประกอบขบวนแห่ ประเพณีแหก่ วางคำ
ขบวนคำขวญั หม่บู า้ น
(ภาพโดย ณฐั วดี แก้วบาง เม่ือวนั ท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๖
ขบวนนางรำเฉลิมพระเกยี รติ
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เม่ือวนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ขบวนคุ้มบา้ นแตล่ ะคุ้ม
(ภาพโดย ณฐั วดี แก้วบาง เม่ือวันท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๗
ขบวนกวางคำ
(ภาพโดย ณฐั วดี แก้วบาง เม่ือวนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ขบวนตัวตลก
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เมื่อวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๘
ขบวนเศรษฐกิจพอเพยี ง
(ภาพโดย ณฐั วดี แกว้ บาง เม่ือวนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ขบวนเศรษฐกิจพอเพยี ง
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เมื่อวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๑๙
ขบวนนางรำประจำคุม้ บา้ น
(ภาพโดย ณัฐวดี แกว้ บาง เม่ือวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ขบวนแหป่ ราสาทผึ้ง
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
๒๐
ขบวนแห่กวางคำเขา้ ซุ้มประตู วดั ศรีสองคร
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เมื่อวันที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
ขบวนแห่กวางคำรอบสิม วัดศรีสองคร
(ภาพโดย ณฐั วดี แกว้ บาง เมื่อวนั ท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๒๑
ขบวนกวางคำพร้อมกันทล่ี านหนา้ ศาลา วดั ศรสี องคร
(ภาพโดย ณฐั วดี แกว้ บาง เม่ือวนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ภาพความร่วมมือจากประชาชนในทอ้ งถิน่
(ภาพโดย ณัฐวดี แกว้ บาง เม่ือวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒)
๒๒
ภาพความร่วมมือจากเยาวชนในท้องถิน่
(ภาพโดย ณฐั วดี แก้วบาง เมื่อวนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ภาพประชาชนใหค้ วามสนใจประเพณแี ห่กวางคำ
(ภาพโดย ณัฐวดี แก้วบาง เมื่อวนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒)
ประเพณีแห่กวางคำ ของชุมชนบ้านวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบรู ณ์ ถือว่าเป็น
ประเพณที ่ีสะท้อนใหเ้ หน็ พลงั ของเยาวชนในพื้นท่ี ที่มีจติ สำนกึ รักษ์ความเป็นตน เล็งเหน็ ความสำคัญของชมุ ชน
จนเกดิ แนวคิดลือฟื้นการอนรุ ักษ์และสืบทอดความเป็นศิลปะในด้านการละเล่นพนื้ บ้านท่ีเป็นมรดกตกทอด จน
กลายเป็นประเพณีพื้นถิ่น หลังจากที่มีเยาวชนชวนกันฟื้นฟูประเพณีดังกล่าวจึงได้รับการตอบรับจากชาวบ้าน
เป็นอยา่ งดี
๒๓
แนวทางการนำไปปฏิบัติใช้
๑. เผยแพรใ่ ห้กบั ผู้ทส่ี นใจ นักศกึ ษา และประชาชนทั่วไป
๒. บูรณาการกับการเรียนการสอน รายวชิ า HSSD๓๑๑ ครอบครัวและสังคมไทย โดยนำองค์ความรู้ที่
ไดไ้ ปใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอน (มคอ. ๓ หมวดที่ ๕) สัปดาห์ที่ ๒ - ๓ บทที่ ๑ ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับ
ครอบครวั เป็นการบรรยายโดยการยกตวั อย่าง เรอ่ื งความสำคัญของการทำหนา้ ท่ีของครอบครัวในการขัดเกลา
อบรมปลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ระเบียบวนิ ัยทางสงั คม โดยยกตวั อย่างถงึ ครอบครวั ไทยในสังคมชนบทผ่าน
ประเพณแี ห่กวางคำ งานบญุ ออกพรรษา ของบา้ นวังรอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสกั จังหวัดเพชรบูรณ์
ขอ้ เสนอแนะ
ควรมีการลงพ้นื ที่ ทบทวน ข้อมูลใหค้ รบถว้ นทุกอำเภอในจงั หวัดเพชรบูรณ์ เพ่ือใหเ้ ยาวชนรนุ่ หลงั ได้
ใชศ้ ึกษาหาความรู้ ส่งตอ่ จากร่นุ สรู่ ่นุ ต่อไป
๒๔
บรรณานกุ รม
บุคคลอา้ งองิ
กัญญาณฐั ใจเย็น. (๒๕๖๕). อายุ ๙ ปี บ้านเลขที่ ๕๐ หมู่ ๘ ตำบลสักหลง อำเภอหลม่ สกั
จังหวัดเพชรบูรณ,์ สัมภาษณ์เม่อื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
กลั ยา ใจเยน็ . (๒๕๖๕). อายุ ๑๔ ปี บา้ นเลขท่ี ๕๐ หมู่ ๘ ตำบลสกั หลง อำเภอหลม่ สัก
จังหวดั เพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
กองสนิ ยาพรม. (๒๕๖๕). อายุ ๗๓ ปี บา้ นเลขท่ี ๕๖/๒ หมู่ ๕ บา้ นวงั รอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก
จงั หวัดเพชรบูรณ์, สมั ภาษณ์เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
คำปลวิ ผิวผอ่ ง. (๒๕๖๕). อายุ ๖๗ ปี บ้านเลขที่ ๑๓๙ หมู่ ๕ บ้านวงั รอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จังหวดั เพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
จันทร์ ผาลา. (๒๕๖๕). อายุ ๘๖ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๐ หมู่ ๕ บา้ นวงั รอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสกั
จังหวัดเพชรบรู ณ์, สมั ภาษณเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
จนั ทร์ ดพี รวน. (๒๕๖๕). อายุ ๘๐ ปี บ้านเลขท่ี ๔๗ หมู่ ๕ บ้านวังรอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จังหวัดเพชรบรู ณ,์ สมั ภาษณเ์ มอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
จมิ เอง นาคคำ. (๒๕๖๕). อายุ ๕๘ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๐๑/๑ หมูท่ ่ี ๕ บ้านวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสกั
จงั หวดั เพชรบรู ณ์, สัมภาษณเ์ ม่ือวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
จุฬาลักษณ์ หาดประโคน. (๒๕๖๕). อายุ ๙ ปี บ้านเลขท่ี ๓๑/๑ หมู่ ๕ บ้านวังรอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่ม
สกั
จังหวัดเพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
ธนสิ ร ปัญญารักษ์. (๒๕๖๕). อายุ ๒๐ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๓๓ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสกั
จงั หวดั เพชรบรู ณ,์ สมั ภาษณ์เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ มกราคม.
ธรี ะพนั ธ์ คำโสม. (๒๕๖๕). อายุ ๒๙ ปี บา้ นเลขท่ี ๖/๑ หมู่ ๕ บา้ นวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จังหวดั เพชรบูรณ์, สมั ภาษณเ์ มอื่ วันที่ ๑๑ มกราคม.
ดอกไม้ แกว้ สะอาด. (๒๕๖๕). อายุ ๕๗ ปี บ้านเลขท่ี ๕๔/๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก
จงั หวัดเพชรบูรณ,์ สมั ภาษณเ์ มื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
ดำ ผวิ ผอ่ ง. (๒๕๖๕). อายุ ๘๑ ปี บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จังหวัดเพชรบรู ณ,์ สัมภาษณเ์ มอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
นริ ตั น์ ปอ้ งท้าว. (๒๕๖๕). อายุ ๔๔ ปี บ้านเลขท่ี ๕๒ หมู่ ๕ บา้ นวังรอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวัดเพชรบูรณ,์ สัมภาษณ์เม่ือวันท่ี ๑๑ มกราคม.
นวลน้อย พงค์คำ. (๒๕๖๕). อายุ ๕๕ ปี บ้านเลขที่ ๒๖/๑ หมู่ ๕ บา้ นวงั ร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวดั เพชรบรู ณ์, สัมภาษณเ์ มอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
บุญเที่ยง นามวงศ์. (๒๕๖๕). อายุ ๕๓ ปี บ้านเลขที่ ๑๖๙ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่
สัก จงั หวัดเพชรบรู ณ์, สมั ภาษณเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒. (คมุ้ ท่ี ๓)
บญุ ศรี แกว้ สะอาด. (๒๕๖๕). อายุ ๖๗ ปี บ้านเลขที่ ๕๔/๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จงั หวัดเพชรบูรณ,์ สมั ภาษณเ์ มอ่ื วนั ที่ ๑๑ มกราคม.
บน้ ทองงาม. (๒๕๖๕). อายุ ๘๔ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๔/๑ หมู่ ๖ ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จงั หวัดเพชรบรู ณ,์ สมั ภาษณเ์ มื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
ประยรู ทองวัน. (๒๕๖๕). อายุ ๖๑ ปี บา้ นเลขที่ ๖ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสัก
๒๕
จงั หวดั เพชรบูรณ,์ สัมภาษณ์เมื่อวันท่ี ๑๑ มกราคม.
แปง จนั ฤทธิ.์ (๒๕๖๕). อายุ ๖๗ ปี บา้ นเลขที่ ๘๓ หมู่ ๙ ตำบลทา่ อิฐบุญ อำเภอหล่มสัก
จงั หวดั เพชรบูรณ,์ สัมภาษณเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
พระอาจารย์ วิสนั ต์ ปริชาโณ. (๒๕๖๕). อายุ ๓๒ ปี บา้ นเลขท่ี ๖๐ หมู่ ๕ บา้ นวังรอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่
อำเภอหลม่ สกั จังหวัดเพชรบรู ณ์, สัมภาษณเ์ ม่ือวันท่ี ๑๑ มกราคม.
ภูริทัต คำโสม. (๒๕๖๕). อายุ ๒๑ ปี บ้านเลขที่ ๖/๑ หมู่ ๕ บ้านวงั ร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสัก
จังหวดั เพชรบูรณ,์ สัมภาษณเ์ มอ่ื วนั ที่ ๑๑ มกราคม.
ภคั พล พองาม. (๒๕๖๕). อายุ ๒๑ ปี บ้านเลขที่ ๑๔ หมู่ ๖ ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก
จงั หวดั เพชรบรู ณ,์ สมั ภาษณเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
มยุรยี ์ อินหา. (๒๕๖๕). อายุ ๔๒ ปี บ้านเลขท่ี ๑๗/๑ หมู่ ๕ บ้านวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จงั หวดั เพชรบูรณ,์ สัมภาษณ์เมอ่ื วันท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๒.
มัน นาคคำ. (๒๕๖๕). อายุ ๗๓ ปี บ้านเลขที่ ๑๐๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จงั หวัดเพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
เร่ง นาคคำ. (๒๕๖๕). อายุ ๗๔ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๐๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสกั
จังหวดั เพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
วิชิต ชาอ่นุ . (๒๕๖๕). อายุ ๕๙ ปี บ้านเลขที่ ๑๕/๑ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสกั
จงั หวัดเพชรบรู ณ์, สัมภาษณ์เมอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
วิรชั ยาภรณ์ อนิ หา. (๒๕๖๕). อายุ ๑๗ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๗/๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จังหวัดเพชรบรู ณ,์ สัมภาษณเ์ ม่อื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
สมั ฤทธ์ิ หมวกซา. (๒๕๖๕). อายุ ๗๑ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๒๔/๑ หมู่ ๕ บ้านวังรอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จังหวัดเพชรบูรณ์, สมั ภาษณเ์ มื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
สีนวล ชัยวงค.์ (๒๕๖๕). อายุ ๖๓ ปี บ้านเลขท่ี ๑๔ หมู่ ๙ บ้านวงั รอ่ ง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวัดเพชรบรู ณ์, สมั ภาษณ์เมอ่ื วันท่ี ๑๑ มกราคม.
สุธนิ ี พงค์คำ. (๒๕๖๕). อายุ ๘ ปี บ้านเลขที่ ๒๖/๑ หมู่ ๕ บา้ นวังรอ่ ง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จังหวดั เพชรบรู ณ,์ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
สภุ าวดี ไสยนั ต.์ (๒๕๖๕). อายุ ๘ ปี บ้านเลขท่ี ๓๕ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จงั หวัดเพชรบรู ณ์, สมั ภาษณ์เม่อื วันที่ ๑๑ มกราคม.
สมคิด เพลียปลัด. (๒๕๖๕). อายุ ๔๒ ปี บ้านเลขท่ี ๓๕ หมู่ ๕ บ้านวังร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สกั
จังหวัดเพชรบูรณ์, สัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม.
หา ยาพรหม. (๒๕๖๕). อายุ ๘๓ ปี บ้านเลขที่ ๑๘๘ หมู่ ๘ บา้ นสักหลง ตำบลสักหลง อำเภอหลม่ สัก
จังหวดั เพชรบูรณ,์ สมั ภาษณ์เมอื่ วนั ที่ ๑๑ มกราคม.
หนสู อบ หาญรกั ษ์. (๒๕๖๕). อายุ ๗๒ ปี บา้ นเลขท่ี ๑/๑ หมู่ ๖ ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวดั เพชรบูรณ์, สมั ภาษณ์เมอ่ื วันที่ ๑๑ มกราคม.
หนูหล่า แก้วจร. (๒๕๖๕). อายุ ๖๐ ปี บ้านเลขที่ ๑๑ หมู่ ๕ บ้านวงั ร่อง ตำบลห้วยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวดั เพชรบรู ณ์, สมั ภาษณ์เมื่อวนั ท่ี ๑๑ มกราคม.
หนอู าน กลางคำ. (๒๕๖๕). อายุ ๘๒ ปี บา้ นเลขท่ี ๓๓ หมู่ ๙ ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหล่มสัก
จงั หวดั เพชรบูรณ,์ สัมภาษณ์เม่ือวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
อุทศิ เพยี ลปลดั . (๒๕๖๕). อายุ ๕๙ ปี บา้ นเลขที่ ๓๕/๑ หมู่ ๕ บา้ นวังร่อง ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สกั
๒๖
จงั หวดั เพชรบรู ณ์, สมั ภาษณเ์ ม่ือวนั ที่ ๑๑ มกราคม.
อวยชยั จันทร์รกั ษา. (๒๕๖๕). อายุ ๗๕ ปี บ้านเลขท่ี ๖๑ หมู่ ๔ ตำบลหว้ ยไร่ อำเภอหลม่ สัก
จงั หวัดเพชรบรู ณ์, สัมภาษณเ์ ม่ือวันที่ ๑๑ มกราคม.
๒๗
ภาคผนวก
รายละเอยี ดรายวชิ า (มคอ. ๓) ท่ีใช้บูรณาการ
มคอ. 3
รายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ.3)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์
หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการพัฒนาสังคม
หมวดที่ 1 ข้อมลู โดยทว่ั ไป
1. รหสั และชอ่ื รายวิชา
HSSD311 ช่ือรายวชิ า (ภาษาไทย) ครอบครัวและสงั คมไทย
ชอื่ รายวชิ า (ภาษาอังกฤษ) Thai Family and Society
2. จำนวนหนว่ ยกิต
3 (3-0-6)
3. หลักสตู รและประเภทของรายวิชา
หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าพฒั นาสังคม
หมวดวิชาเลือก
4. อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบรายวชิ าและอาจารย์ผสู้ อน
อาจารยใ์ จสคราญ จารึกสมาน
5. ภาคการศกึ ษา/ช้นั ปที ี่เรยี น
ภาคการศึกษาท่ี 1 ชนั้ ปที ่ี 2
6. รายวิชาท่ตี อ้ งเรยี นมาก่อน (Pre-requisite)
-
7. รายวิชาทีต่ ้องเรยี นพรอ้ มกัน (Co-requisites)
-
8. สถานทเี่ รียน
ภาควิชาพฒั นาสังคม คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ์
และห้อง 974 และ 975 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์
9. วนั ท่ีจัดทำหรอื ปรับปรงุ รายละเอียดของรายวชิ าครงั้ ล่าสุด
วันที่ 10 มิถนุ ายน 2564
กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขยี นรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ Page 1
หมวดที่ 2 จดุ มงุ่ หมายและวัตถปุ ระสงค์
1. จุดม่งุ หมายของรายวิชา
เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ และนำไปเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจครอบครัว โดยสามารถ
วเิ คราะห์ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับครอบครวั รวมทั้งภาพรวมของการพัฒนาครอบครัวตามแนวทางการพัฒนา
ของแผนพัฒนาครอบครัว และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อใช้ในการสร้างความเข้มแข็ง
ให้แก่ชุมชนและสังคมตอ่ ไป
2. วตั ถปุ ระสงคใ์ นการพฒั นา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจกระบวนการหรือวิธีการท่ีสถาบันครอบครัวจะได้ทำหน้าท่ี ใน
ฐานะสถาบันพ้ืนฐานในการสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาชีวิตและคุณภาพของคนในสังคม ทั้งน้ี ควรมี
การยกตัวอย่างสถานการณ์ทางสังคมท่ีสอดคล้องตามยุคสมัย รวมถึงมีการบูรณาการรายวิชากับกิจกรรม
ต่างๆ ดว้ ย
หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดำเนินการ
1. คำอธบิ ายของรายวชิ า
แนวคิด ความหมาย หลักการของครอบครัวและสังคมไทย วิวัฒนาการของครอบครัวและ
สังคมไทย ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ครอบครัวอบอุ่นและสังคมไทยเข้มแข็ง เพ่ือพัฒนาชีวิตและคุณภาพคนใน
สังคม บทบาทของภูมิปัญญาไทยกับการพัฒนาสังคม การพิทักษ์ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิต่างๆ ของ
บุคคล ครอบครวั และสังคม
Definitions, theories, methods, and development of Thai family and Society
including factors that support Thai family and society for development of quality and life
style of Thai society, Role of Thai knowledge in social development, protection, support
system, and the rights of individuals, family, and society.
2. จำนวนช่วั โมงทีใ่ ช้ต่อภาคการศึกษา
หนว่ ยกติ บรรยาย จำนวนชว่ั โมงต่อภาคการศกึ ษา สอนเสรมิ
3(3-0-6) 39 ช่วั โมง
การฝกึ ปฏบิ ตั ิ/การฝึกงาน การศกึ ษาดว้ ย ตามความ
ตนเอง ต้องการของ
นักศกึ ษา
ไมม่ ี 6 ชว่ั โมง
3. จำนวนชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ทีอ่ าจารยใ์ หค้ ำปรึกษาและแนะนำทางวชิ าการแก่นักศึกษาเปน็ รายบุคคล
ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. สถานท่ี สาขาวชิ าการพัฒนาสงั คม คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ Page 2
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรยี นร้ขู องนกั ศกึ ษา
1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.1 ผลการเรยี นรู้ 1.2 กลยุทธ์/วิธกี ารสอน 1.3 กลยทุ ธ์/วธิ ีการประเมินผล
1. [•] มีคุณธรรมและจริยธรรม ศรัทธาใน สอดแทรกเน้ือหาด้านคุณธรรม สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
ความดี จริยธรรม ปลกู ฝังเกี่ยวกับความ การปฏิบัติตนในช้ันเรยี น
ซ่อื สัตย์ตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่
2. [•] มี จิ ต ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ มี ค ว า ม - จัดการเรียนการสอน ท่ี มี - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
ลักษณะยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การป ฏิ บั ติ กิจ กรรม ต่ างๆ ขอ ง
รับผิดชอบ
โดยจัดกิจกรรมในลักษณ ะ รายวิชาท่ีเรียนทั้งในช้ันเรียนและ
บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม รู้ แ ล ะ นอกช้ันเรียน
ประสบการณ์เดิมของผ้เู รยี นเข้า - ป ระเมินจากชิ้นงานท่ีผู้เรียน
กับความรู้และประสบการณ์ สร้างสรรค์แล้วนำเสนอผู้สอนท้ัง
ใหม่ในรายวิชาที่สอนได้อย่าง เปน็ กล่มุ และรายบุคคล
กลมกลนื - ประเมินด้วยการสอบย่อย สอบ
- สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการ กลางภาคการศึกษาและสอบปลาย
มีส่วนร่วมกับกิจกรรมส่วนรวม ภาคการศึกษา
แล ะป ลู ก ฝั งเก่ี ยวกับ ค วาม
รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ต น เอ งแ ล ะ
ส่วนรวม
- สอดแทรกเน้ือหาโดยผ่านสื่อ
การเรียนการสอนป ระเภ ท
วิดีทัศน์สร้างสรรค์ เพื่อให้
นักศึ กษ าเข้าใจ ได้ ง่ายแ ล ะ
พจิ ารณาตามได้
3. [๐] มีศีลธรรม ซือ่ สัตย์ สจุ ริต - จดั กจิ กรรมการเรียนที่เน้นการ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
ให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงการอยู่ การป ฏิ บั ติ กิจ กรรม ต่ างๆ ขอ ง
ร่วมกันในสังคมท้ังภายในและ รายวิชาท่ีเรียนทั้งในชั้นเรียนและ
ภายนอกห้องเรียน น อกชั้ น เรีย น ท้ั งราย กลุ่ ม แ ล ะ
- สอดแทรกเร่ืองการประพฤติ รายบุคคล
ตนที่เหมาะสม เช่น การมีความ - ประเมินจากผลงานท่ีนำเสนอ
สุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน กตัญญู ผู้สอนทงั้ เปน็ กลุ่มและรายบคุ คล
รู้คุ ณ ป ระ ห ยั ด สุ ขุม รู้จั ก
กาลเทศะ การเป็นคนดีและการ
ด ำ เนิ น ชี วิ ต ต า ม แ น ว ป รั ช ญ า
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. [๐] สามารถรบั ผิดชอบตามสถานการณ์ - สอดแทรกเรื่องการประพฤติ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
ได้อย่างเหมาะสม ท้ังในสถานการณ์ส่วน ตนให้เป็นผู้ท่ีมีภาวะผู้นำและผู้ การป ฏิ บั ติ กิจ กรรม ต่ างๆ ขอ ง
บุคคลและของกลุ่ม โดยการแสดงออกซ่ึง ตามที่ดี เพื่อให้การทำงานเป็น รายวิชาท่ีเรียนทั้งในชั้นเรียนและ
ภาวะผู้นำ ในการแสดงทางเลือกใหม่ที่ ทมี สัมฤทธิผลและสามารถแก้ไข นอกชั้นเรยี น
เหมาะสม ข้อขัดแยง้ ได้ - ประเมนิ จากผลงานนำเสนอผู้สอน
- จัดกิจกรรมการเรียนโดยเน้น ทั้งเปน็ กลมุ่ และรายบคุ คล
กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขยี นรายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์ Page 3
การแบ่งกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนฝึก
การแบง่ หน้าท่ีและฝึกให้มีความ
รับผิดชอบในหน้าท่ีท่ีตนได้รับ
มอบหมาย
- จั ด กิ จ ก รรม ก ารเรีย น ให้
ผู ้ เรี ย น ได้ มี โอ ก าส แ ส ด ง
ศั ก ย ภ า พ ส่ ว น บุ ค ค ล ใน ก า ร
ร่วม กันคิ ดแ ละตั ดสิ นใจใน
กิจกรรมต่างๆ
5. [•] มีระเบียบวินัยและเคารพกติกาของ - ปลูกฝังจิตสำนึกด้านระเบียบ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
สังคม รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี วินัยและกติกาของสังคมโดย การป ฏิ บั ติ กิจ กรรม ต่ างๆ ขอ ง
เน้นเร่ืองของหน้าที่พลเมืองท่ีดี รายวิชาที่เรียนทั้งในช้ันเรียนและ
ของความเปน็ มนษุ ย์
และเน้นเรื่องของสิทธิมนุษยชน นอกชั้นเรียน
เพ่ื อ ใ ห้ ผู้ เรี ย น มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม
เข้ า ใจ แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ใน คุ ณ ค่ า
และศักด์ศิ รขี องความเป็นมนษุ ย์
- ปลูกฝังจิตสำนึกเกี่ยวกับการ
เค า ร พ ก ฎ ร ะ เบี ย บ ข อ ง
สถานศึกษา ชุมชนและสังคม
รวมท้ังการแสดงออกทางการ
แต่งกายท่ีเหมาะสม เพ่ือให้อยู่
รว่ มในสงั คมไดอ้ ย่างกลมกลืน
6. [๐] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและ - ป ลู ก ฝั ง จิ ต ส ำ นึ ก เรื่ อ ง - ป ระเมินจากผลงานที่ผู้เรียน
วิชาชพี จรรยาบรรณ ท่ีถูกต้องและ สร้างสรรค์แล้วนำเสนอผู้สอนทั้ง
เหมาะสมทางวิชาการอย่าง เป็นกลมุ่ และรายบุคคล
เคร่งครัดโดยเฉพาะการคัดลอก
ผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงาน
ของตนเอง
2. ดา้ นความรู้
2.1 ผลการเรยี นรู้ 2.2 กลยุทธ์/วธิ กี ารสอน 2.3 กลยุทธ์/วธิ กี ารประเมนิ ผล
1 [•] มี ค วาม รู้แล ะป ระสบ การณ์ ใน - วิ ธี ส อ น โ ด ย บ ร ร ย า ย - การตอบคำถามในชั้นเรยี น
สาขาวิชาท่ีศึกษาและสามารถประยุกต์ใช้ ประกอบการใช้สอ่ื โปรเจคเตอร์ - การแสดงความคดิ เห็นในช้ันเรยี น
ในการดำรงชีวิต เพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหา - จัดกิจกรรมโดยการจำลอง - การตอบคำถามในข้อสอบท่ีแสดง
และข้อโต้แย้งในสถานการณ์อ่ืนๆและการ สถานการณ์ต่างๆให้ผู้เรียนฝึก ถงึ ความเขา้ ใจในสาขาวิชาที่ศกึ ษา
วิเคราะห์และรว่ มหาแนวทางใน
แกไ้ ขปัญหาในการทำงานได้
แกไ้ ขปญั หา
2 [•] สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและ - วิ ธี ส อ น โ ด ย บ ร ร ย า ย - ประเมินจากเน้ือหาสาระของ
อธิบายความตอ้ งการทางการพฒั นาสังคม ประกอบการใช้สื่อโปรเจคเตอร์ ผ ล งา น ต รงต าม ท่ี อ าจ าร ย์ ได้
- จัดกิจกรรมเสริมชมสารคดีที่ มอบหมาย
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์ Page 4
เป็ น ป ร ะ เด็ น เกี่ ย ว ข้ อ งกั บ - ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้น
รายวิชา เรียน
- ประเมินจากการเขียนคำตอบใน
การสอบท่ีแสดงถึงความสามารถใน
การวิเคราะห์และเชื่อมโยงเนื้อหา
สาระในบทเรียนกับทัศนคติของ
นกั ศึกษา
3 [๐] สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง การทดสอบย่อย และสอบกลาง - การสอบข้อเขียนและการสอบ
วชิ าการ รวมทัง้ การนำไปประยกุ ต์ใช้ ภาคและปลายภาคเรียน ปฏิบัติ
4 [๐] รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ - ฝึกปฏิบัติการเขียนข้อเสนอ - ประเมินความสามารถในการนำ
ความชำนาญอยา่ งต่อเน่ือง
โครงการวิจัยและลงปฏิบัติที่ องค์ความรจู้ ากการเรียนไปใช้ในการ
3. ด้านทกั ษะทางปัญญา
เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา เขียนข้อเสนอโครงการวจิ ัย
สังคมและการหาแนวทางใน - ประเมินจากความสามารถในการ
แก้ไขปญั หา นำองค์ความรู้จากการเรียนไปใช้
เม่อื ลงภาคสนาม
3.1 ผลการเรยี นรู้ 3.2 กลยทุ ธ์/วธิ ีการสอน 3.3 กลยทุ ธ์/วธิ ีการประเมินผล
1 [•] สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มี - การบรรยาย - ประเมินผลจากการนำเสนอทั้งใน
ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างมีเหตผุ ล รูปการพูด และการเขียน และการ
แก้ปัญหาเฉพาะหนา้
2 [๐] สามารถพิจารณ าแสวงหาและ - การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง - ประเมินผลจากการนำเสนอท้งั ใน
เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทาง รูปการพูด และการเขียน และการ
วิชาการหรือวิชาชีพ โดยยอมรับข้อจำกัด แก้ปัญหาเฉพาะหนา้
ทางธรรมชาติของความรู้ในสาขาวิชาของ
ตนเอง
3 [•] สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ - สอนวิธีการค้นคว้าโดยอิสระ - ประเมินผลงาน การรายงาน
และสรุปประเดน็ ปญั หาและความต้องการ เพอ่ื ประกอบการเขยี นรายงาน ผลงานและการแกป้ ัญหา
4. ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรยี นรู้ 4.2 กลยทุ ธ์/วิธีการสอน 4.3 กลยทุ ธ์/วิธีการประเมนิ ผล
1 [•] มีความสามารถในการทำงานรว่ มกับ - กำหนดกิจกรรมการทำงาน - ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
ผู้อ่นื มีภาวะผนู้ ำในการทำงานของกลมุ่ เป็นกลุ่ม ของนกั ศึกษาในชัน้ เรยี น
2 [๐] มีความคิดริเร่ิมในการแก้ไขปัญหาที่ - กำหนดกิจกรรมการทำงาน - ประเมินจากการสังเกตพฤตกิ รรม
เกิดขึ้นในการทำงานของกลุ่ม เปน็ กลุ่ม โดยหมุนเวียนการเป็น ของนกั ศกึ ษาในชัน้ เรียน
ผู้นำและจำลองสถานการณ์ - ประเมนิ จากคณุ ภาพของผลงานท่ี
ต่างๆ เพ่ื อให้ ผู้เรียนร่วมกัน ได้มอบหมาย
วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ ร่ ว ม กั น ห า
แนวทางในการแก้ปญั หา
3 [๐] มีความรับผิดชอบต่ออาชีพ มีน้ำใจ - ปลูกฝังพฤติกรรมให้มีการ - ประเมินจากการสังเกตพฤตกิ รรม
และเสียสละ พร้อมอุทิศตนในการทำงาน รับผิดชอบต่อหน้าท่ีตนเองและ ของนักศึกษาในชั้นเรยี น
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ Page 5
เพ่อื ส่วนรวม ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
และมคี วามตรงตอ่ เวลา
4 [•] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำ - กำหนดการทำงานเป็นกลุ่ม - ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
สังคมในประเด็นท่ีเหมาะสม ให้ความ แ ล ะ ใ ห้ มี ก า ร เก็ บ ข้ อ มู ล ของนักศึกษาในช้ันเรียนและนอก
ช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการ ภาคสนาม โดยเนน้ กระบวนการ ช้นั เรยี น
มีส่วนร่วม - ประเมนิ จากคณุ ภาพของผลงานท่ี
แก้ปญั หาสถานการณ์ตา่ งๆ
ไดม้ อบหมาย
5 [๐] สามารถเป็นผู้ริเร่ิมแสดงประเด็นใน - มอบหมายสถานการณ์หรือ - ประเมนิ จากการสงั เกตพฤติกรรม
การแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและ หยิบยกกรณี ตัวอย่างท่ีเป็น ของนักศกึ ษาในชัน้ เรียน
ส่วน รวม พ ร้อม ท้ั งแส ด งจุด ยื น อย่ าง ประเด็นสำคัญทางสังคมให้ - ประเมินจากคณุ ภาพของผลงานที่
พอเหมาะทัง้ ของตนเองและของกล่มุ ผเู้ รยี นฝกึ ปฏิบัตใิ นการวเิ คราะห์ ไดม้ อบหมาย
และวิพากษ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกัน
6 [๐] มีความรับผิดชอบการพัฒนาการ - กำหนดกิจกรรมท่ีมีลักษณะ - ประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรม
เรียนรู้ท้ังของตนเองและทางวิชาชีพอย่าง ของการบำเพ็ญประโยชน์ต่อ ของนักศึกษาในช้ันเรียนและนอก
ต่อเนอ่ื ง สังคมและสามารถนำความรู้ ชน้ั เรยี น
จากการเรียนไปประยุกตใช้ใน - ประเมินจากคุณภาพของผลงานที่
ชีวิตประจำวันและต่อยอดไปสู่ ไดม้ อบหมาย
การแก้ไขปัญหาในชุมชนตนเอง
ได้
5. ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
5.1 ผลการเรยี นรู้ 5.2 กลยุทธ/์ วิธีการสอน 5.3 กลยทุ ธ์/วิธีการประเมนิ ผล
1 [๐] มีความสามารถในการวิเคราะห์ ดว้ ย - -
กระบ วน การท างค ณิ ต ศ าส ต ร์ ห รือ
วิทยาศาสตร์ อย่างมีวิจารณญาณ เพ่ือ
นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่าง
มีคณุ ภาพ
2[•] มี ค วา ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใน ก า ร ใช้ - มอบหมายงานให้ค้นคว้าองค์ - ป ร ะ เมิ น ผ ล งาน งาน เขี ย น ท่ี
เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหา ความรู้จากบ ทความสืบค้น น ำเส น อต าม ป ระ เด็ น ที่ ได้ รับ
ความรู้ เพอ่ื นำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งข้อมูลตา่ งๆ มอบหมาย
3. [•] มีทักษะในการสื่อสารด้วยการพูด - มอบหมายงานให้อธิบายด้วย - ประเมินจากรายงานและผลงานท่ี
การเขียน ตลอดจนการสื่อสารความหมาย การเขียนร่วมกับการวิเคราะห์ แสดงแหล่งข้อมูลที่ค้นคว้าตาม
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือนำไปใช้ในการ ประมวลผล การแก้ปัญหา และ ประเด็นท่ีไดร้ ับมอบหมาย
นำเสนอผลงานทางวิชาการ หรือการ การนำเสนอ - ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้น
นำเสนอเพื่อประโยชน์ทางภาครัฐและ เรียน
เอกชน
กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ Page 6
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล
1. แผนการสอน ชั่วโมงสอนต่อสัปดาห์ กจิ กรรมการสอน สอ่ื ทใ่ี ช้ใน อาจารยผ์ ูส้ อน
การสอน
สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด ทฤษฎี ปฏิบตั ิ - ทดสอบความรู้ อ.ใจสคราญ จารึก
ที่ 3- กอ่ นเรียน - เอกสารคำอธบิ าย สมาน
รายวชิ า
1 1. ชีแ้ จงเนื้อหา -แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
วัตถุประสงค์ และ
ขอ้ ตกลงรว่ มกันในการ
เรียนการสอน
2-3 บทท่ี 1 ความรู้ทวั่ ไป 6 - - บรรยาย -เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง อ.ใจสคราญ จารึก
เกี่ยวกับครอบครวั
- ความหมายและหนา้ ท่ี - แลกเปลีย่ น - Power Point สมาน
ของครอบครัว
- ลักษณะ โครงสรา้ ง ซักถาม ยกตวั อยา่ ง
ของครอบครวั
- ประเภทของครอบครวั ประกอบ
- พฒั นาการของ
ครอบครัว - และอธิบายถึง
- พนั ธกจิ ของครอบครัว
- สภาพการณเ์ กีย่ วกบั วฒั นธรรม
ครอบครวั ไทย
โครงสร้าง
ครอบครวั ของไทย
และตา่ งประเทศ
ท้ังในอดีตและ
ปจั จุบนั
- อธบิ าย
ยกตัวอยา่ งถึง
ความสำคัญของ
การทำหนา้ ทีข่ อง
ครอบครัวในการ
ขดั เกลา อบรม
ปลูกฝงั คุณธรรม
จรยิ ธรรม ระเบยี บ
วนิ ัยทางสังคม โดย
ยกตวั อย่างถงึ
ครอบครัวไทยใน
สงั คมชนบทผ่าน
ประเพณแี หก่ วาง
คำ งานบุญออก
พรรษา ของบา้ น
วงั ร่อง ต.ห้วยไร่
อ.หลม่ สัก
จ.เพชรบูรณ์
-แบ่งกล่มุ นกั ศกึ ษา
เพื่อร่วมกนั
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขยี นรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ Page 7
วเิ คราะห์และ
ออกมาอภปิ ราย
หนา้ ชั้นเรยี น
4-5 บทที่ 2 วิถีชีวิตของ 3 3 - บรรยาย ให้นกั ศกึ ษาแบ่งกลมุ่ ทำ อ.ใจสคราญ จารึก
ครอบครัว
- วฎั จักรของชวี ติ - ดสู ื่อการสอน รายงาน สมาน
ครอบครวั
- คณุ ภาพชีวติ และความ เรอ่ื ง วัฒนธรรม
มั่นคงในชีวิตสมรส
ทางด้านรูปแบบ การเลอื กคูค่ รอง
ครอบครวั
ของชาวเกรอื ง
- แบง่ กลมุ่
นกั ศกึ ษาเพ่อื
รว่ มกนั วเิ คราะห์
และออกมา
อภปิ รายหน้าชนั้
เรยี น
6-8 ตอนท่ี 3 แนวคดิ และ 3 3 - บรรยาย - เอกสาร อ.ใจสคราญ จารึก
ทฤษฎที างด้าน 3
ครอบครวั - ฝึกปฏิบัติ -Power Point สมาน
- แนวคิดและทฤษฎี
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี - มอบหมายงาน
ของครอบครวั
- แนวคดิ ทฤษฎี - สอบกลางภาค
ปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ ในสปั ดาห์ท่ี 8
สัญลกั ษณข์ องครอบครวั
- แนวคดิ ทฤษฎีระบบ 3 - บรรยายพรอ้ ม - เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง อ.ใจสคราญ จารกึ
ครอบครวั
- แนวคิดทฤษฎสี ภาวะ ยกตวั อย่าง - Power Point สมาน
แวดล้อมครอบครวั
- แนวคิดทฤษฎี ประกอบ
พัฒนาการครอบครวั
9-10 บทที่ 4 ครอบครวั
ชุมชนและสังคม
- สาเหตุของปญั หา
ครอบครัว
- การวเิ คราะห์ปัญหา
ครอบครัว
- การสร้างความเข้มแข็ง
ในชุมชนและสงั คม
- ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์
ของสมาชกิ ในชมุ ชนและ
สงั คม
- นโยบายและ
แผนพฒั นาสถาบัน
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขยี นรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ Page 8
ครอบครัว
- แนวคดิ การจดั
สวสั ดิการครอบครัว
11-12 ตอนที่ 5 การพัฒนา 3 3 - บรรยาย ใหน้ ักศึกษาลงพืน้ ที่ อ.ใจสคราญ จารึก
สถาบนั ครอบครวั : 3
พน้ื ฐานการพฒั นา - มอบหมายงาน ศึกษาบรบิ ทชมุ ชนโดย สมาน
ชมุ ชนและสงั คม
- สัมพันธภาพระหวา่ งคู่ - นำเสนอผลงาน การใช้เครือ่ งมอื และ
สมรส
- การอบรมเล้ยี งดเู ดก็ : เทคนคิ ท่ีเรยี นมา
รากฐานการสรา้ งสังคม
โดยครอบครัว - - บรรยายพเิ ศษ - นำเสนอผลงานใน อ.ใจสคราญ จารึก
- การปลูกฝังลักษณะท่ี สมาน
พึงประสงค์แก่สมาชกิ ใน เร่อื งกฎหมาย รูปแบบรายงานหรอื
ครอบครัว อ.ใจสคราญ จารกึ
- ครอบครัวไทยที่พึง ครอบครัว โดย บทบาทสมมติ สมาน
ปรารถนาในอนาคต
อาจารยม์ นัสนนั ท์
13 ตอนท่ี 6 กฎหมาย
ครอบครัว ปิ่นพิทกั ษ์ อาจารย์
- ประวัติกฎหมาย
ครอบครัว ประจำสาขาวิชา
- กฎหมายครอบครวั ท่ี
ควรทราบ
นติ ิศาสตร์
- มอบหมายงาน
14-15 บทที่ 7 แนวโน้มของ 3 3 - บรรยาย - นำเสนอรายงาน
สถานการณค์ รอบครัว
- มอบหมายงาน ผลการวจิ ัย
- นำเสนอผลงาน - สรุป ทบทวน และ
ประเมินผล
16 สอบปลายภาค
2. แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้
กิจกรรม การเรียนรดู้ า้ น ผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน สปั ดาห์ท่ี สัดส่วนการ
ประเมนิ ประเมนิ
ที่ -สังเกตพฤตกิ รรมการ
ปฏิบตั ิ ตลอดภาค 10%
1 คุณธรรม จรยิ ธรรม 1 . [•] มี คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ -การตรงตอ่ เวลา การศึกษา
-การขานช่อื หรอื (1-15)
จริยธรรม ศรทั ธาในความดี เซน็ ชอ่ื
-การเข้าร่วมกจิ กรรม
2. [•] มีจิตสาธารณะและมี
ความรับผิดชอบ
3. [๐ ] มีศีลธรรม ซื่อสัตย์
สุจริต
4. [๐] สามารถรับผดิ ชอบตาม
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ Page 9
สถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
ทั้งในสถานการณ์ส่วนบุคคล
แ ล ะ ข อ ง ก ลุ่ ม โ ด ย ก า ร
แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการ
แสดงทางเลอื กใหม่ท่เี หมาะสม
5. [•] มีระเบี ยบ วินัยและ
เคารพกติกาของสังคม รวมทั้ง
เค า ร พ ใน คุ ณ ค่ าแ ล ะ ศั ก ดิ์ ศ รี
ความเปน็ มนุษย์
6. [๐ ] มีจรรยาบรรณ ทาง
วิชาการและวชิ าชพี
2 ความรู้ 1 . [•] มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ - การสอบขอ้ เขยี น -6
ประสบการณ์ในสาขาวิชาที่ (สอบย่อย) -8
ศึกษาและสามารถประยุกต์ใช้ - การรายงานผลการ -10
ใน ก า ร ด ำ ร ง ชี วิ ต ใน ก า ร สบื คน้ การนำเสนอ - 2-14
ดำรงชีวิตเพ่ือใช้ในการแก้ไข งานนิทรรศการ
ปั ญ ห า แ ล ะ ข้ อ โต้ แ ย้ งใน - การสอบกลางภาค
สถานการณ์อื่นๆและการแกไ้ ข
ปัญหาในการทำงานได้
2. [•] ส าม ารถ วิเค ร าะ ห์ 60%
ปญั หา เขา้ ใจและอธิบายความ
ต้องการทางการพฒั นาสังคม
3 . [๐ ] ส า ม า ร ถ ติ ด ต า ม
ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิ ช า ก า ร
รวมท้ังการนำไปประยกุ ตใ์ ช้
4. [๐ ] รู้ เข้าใจ แล ะสน ใจ
พัฒนาความรู้ ความชำนาญ
อย่างตอ่ เนอ่ื ง
3 ทักษะทางปญั ญา 1. [•] ส าม ารถคิ ด อย่ างมี - ประเมนิ ผลการ
วิจารณญาณ มีทักษะในการ รายงานผลิตงานที่
คดิ วเิ คราะห์อยา่ งมีเหตุผล มอบหมายและการ
2. [๐ ] ส าม ารถ พิ จ ารณ า แก้ปญั หา
แ ส ว งห าแ ล ะ เส น อ แ น ะ
แ น ว ท า งใน ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า ตลอดภาค
ทางวิชาการ หรือวิชาชีพ โดย การศึกษา 20%
ยอมรับข้อจำกัดทางธรรมชาติ (2-14)
ของความรู้ในสาขาวิชาของ
ตนเอง
3. [•] สามารถรวบรวม ศึกษา
วิเคราะห์ และสรุปประเด็น
ปญั หาและความตอ้ งการ
4 ทกั ษะ 1. [•] มีความสามารถในการ - ประเมินจากการ ตลอดภาค 5%
กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ Page 10
ความสมั พันธ์ ทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะ สงั เกตพฤตกิ รรมของ การศกึ ษา
ระหว่างบคุ คลและ ผู้นำในการทำงานของกลุ่ม นักศกึ ษาในชั้นเรียน
ความรับผิดชอบ 2. [๐] มีความคิดริเริ่มในการ และการระดม
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการ ความคดิ
ทำงานของกลุ่ม
3. [๐] มีความรับผิดชอบต่อ
อาชีพ มีน้ำใจและเสียสละ
พร้อมอุทิศตนในการทำงาน
เพือ่ สว่ นรวม
4. [•] สามารถใช้ความรู้ใน
ศาสตร์ช้ีนำสังคมในประเด็นที่
เหมาะสม ให้ความช่วยเหลือ
และอำนวยความสะดวกใน
การแก้ไขปัญหาสถานการณ์
ต่างๆ
5. [๐] สามารถเป็นผู้ริเริ่ม
แ ส ด ง ป ร ะ เด็ น ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข
ส ถ า น ก า ร ณ์ ทั้ ง ส่ ว น ตั ว แ ล ะ
ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืน
อย่างพอเหมาะทั้งของตนเอง
และของกลมุ่
6. [๐] มีความรับผิดชอบการ
พัฒนาการเรียนรทู้ ง้ั ของตนเอง
และทางวชิ าชพี อย่างต่อเนือ่ ง
5 ทกั ษะการวิเคราะห์ 1. [๐] มีความสามารถในการ - ประเมินผลจาก
เชิงตวั เลข การ วเิ คราะห์ด้วยกระบวนการทาง ทกั ษะการเขยี น
สอ่ื สาร และการใช้ คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ ผลงาน การอา่ น การ
เทคโนโลยี อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อนำไป แปลผล และการ
สารสนเทศ ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต นำเสนอปากเปลา่
ไดอ้ ย่างมีคุณภาพ - สงั เกตพฤติกรรม
2. [•] มีความรู้และทักษะใน การคน้ คว้า จากการ ตลอดภาค 5%
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน รายงานผลการสบื ค้น การศกึ ษา
ก ารแ ส วงห าค วาม รู้ เพื่ อ (1-15)
นำไปใช้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. [•] มีทักษะในการส่ือสาร
ด้ ว ย ก า ร พู ด ก า ร เขี ย น
ต ล อ ด จ น ก า ร สื่ อ ส า ร
ค ว า ม ห ม า ย ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพ เพื่อนำไปใช้ใน
ก าร น ำเส น อ ผ ล งาน ท า ง
วิชาการ หรือการนำเสนอเพื่อ
ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์ Page 11
เอกชน
หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรยี นการสอน
1. ตำราและเอกสารหลัก
เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง สถาบันครอบครวั กบั ความเข้มแข็งของชมุ ชนและสงั คม
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
กุศล สนุ ทรธาดา. ไมป่ รากฏปที ่ีพมิ พ์. การเล้ียงดเู ดก็ ในสังคมไทย. สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม
มหาวทิ ยาลัยมหิดล.
คณะกรรมการพัฒนาครอบครวั และแกไ้ ขความรุนแรงในเด็กและสตร.ี ไม่ระบปุ ีท่ีพิมพ.์ นโยบาย
และแผนงานในการพฒั นาสถาบันครอบครัว. กรงุ เทพมหานคร : คณะกรรมการสง่ เสรมิ
และประสานงานสตรแี ห่งชาติ สำนักงานปลดั สำนกั นายกรัฐมนตรี
คณะกรรมการดา้ นครอบครัว. ไมร่ ะบปุ ที ่ีพิมพ.์ การพัฒนาครอบครัว. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งาน
คณะกรรมการสง่ เสริมและประสานงานสตรีแหง่ ชาติ สำนกั นายกรฐั มนตรี.
คณะกรรมการส่งเสรมิ และประสานงานสตรแี ห่งชาต.ิ 2537. ครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : สำนกั
นายกรฐั มนตรี.
คณะกรรมการสง่ เสริมและประสานงานสตรแี หง่ ชาต.ิ 2541. นโยบายและแผนงานในการพฒั นา
สถาบันครอบครวั . กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดสำนักนายกรฐั มนตร.ี
ชาย โพสติ า. 2537. ครอบครวั ในประเทศไทย : ผาสุกดอี ยหู่ รอื . จดหมายข่าวประชากรและการ
พัฒนา. ปีที่ 15 ฉบบั ที่ 1 (ตลุ าคม – พฤศจกิ ายน).
ธญั ญา สนิทวงศ์ ณ อยธุ ยา. 2540. ครอบครวั ไทยในเมอื งและในชนบท. เอกสารคำสอน
มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รต.ิ
เบญ็ จา ศลิ ปป์ ระสิทธ.์ิ 2515. ปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ ขนาดของครัวเรือนไทยในชนบท วทิ ยานพิ นธ์ ส.ม.
กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
พรภริ มณ์ เอ่ียมธรรมและวิทยากร เชียงกลู . 2543. การแต่งงานในทัศนะใหม.่ กรงุ เทพมหานคร :
สำนกั พมิ พ์สขุ ภาพใจ.
พรเพญ็ เพชรสขุ ศริ .ิ 2530. ความรุนแรงในครอบครวั : อาชญากรรมหลงั ประตูบา้ น วารสารอาชญา
วิทยาและงานยุตธิ รรม. ปีที่ 1
ภัสสร สมิ านนทแ์ ละคณะ. 2538. สรุปผลวิจัยเบอื้ งต้นโครงการศกึ ษาครอบครวั ไทย. สถาบนั
ประชากรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ศรีสวา่ ง พ่วั วงศ์แพทย์. 2537. ครอบครัว : ปญั หาและแนวทางแกไ้ ข เอกสารโรเนยี ว.
อลิซาเบธ เบค – เกอรน์ ส์เฮม (เขียน) วารุณี ภูริสนิ สทิ ธ์ิ (แปล). ครอบครวั ในความหมายใหม่ การ
คน้ หาวิถชี วี ิตแบบใหม่. 2550. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์คบไฟ.
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ. 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ Page 12
เว็ปไซดท์ ีเ่ กยี่ วกบั หวั ขอ้ ในประมวลรายวิชา เชน่ google.com
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนนิ การของรายวชิ า
1. กลยุทธก์ ารประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนักศึกษา
▪ การสนทนากลมุ่ ระหวา่ งผสู้ อนและผู้เรียน
▪ การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
▪ แบบประเมินผู้สอนตามรายวิชาของมหาวิทยาลยั
2. กลยุทธ์การประเมนิ การสอน
▪ การสังเกตการณส์ อนของผรู้ ่วมทมี
▪ ผลการเรียนของนักศึกษา
▪ การทวนสอบผลประเมนิ การเรียนรู้
▪ การทวนสอบผลการประเมนิ การสอนโดยนกั ศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
▪ การจดั กจิ กรรมการระดมสมองจากนกั ศกึ ษาในชน้ั เรียน
▪ การสมั มนาการจัดการเรียนการสอน
▪ การวจิ ยั ในช้นั เรยี น
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธข์ิ องนกั ศึกษาในรายวิชา
▪ การทวนสอบการใหแ้ ละการจำแนกคะแนน จากการสุม่ ตรวจผลงาน/ กิจกรรมของนักศกึ ษาโดย
กรรมการ/ อาจารยท์ า่ นอืน่ ทไ่ี ม่ใช่อาจารยป์ ระจำหลักสูตร
▪ การตงั้ คณะกรรมการประจำหลักสตู ร/ สาขาวชิ า ดำเนนิ การตรวจสอบผลการประเมนิ การเรียนรู้
ของนักศึกษา โดยตรวจสอบขอ้ สอบ รายงาน/ กิจกรรม วธิ กี ารให้และการจำแนกคะแนน และ
การใหค้ ะแนนพฤติกรรม/ จิตพสิ ัย
▪ คณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ดำเนินการตรวจสอบผล การประเมนิ การ
เรียนร้ขู องนักศกึ ษาในแต่ละภาคเรยี น
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสทิ ธิผลของรายวิชา
▪ การปรบั ปรงุ รายวิชาเมอื่ ครบกำหนด 4 ปี หรอื ตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสมั ฤทธ์ขิ องนักศึกษาตามข้อ 4
▪ การหมนุ เวียนเปล่ียนอาจารย์/ ทมี ผู้สอน เพื่อใหน้ กั ศึกษาเกดิ มมุ มอง ความคิด และความเขา้ ใจ
อนั ดีเชงิ วชิ าการในเรื่องการประยุกต์ความร้ทู ่ีได้รบั กับการถ่ายทอดประสบการณแ์ ละการแนะนำ
ปรกึ ษาท่ีมาจากอาจารย์ผู้สอนรายวชิ าโดยตรง
กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แบบฟอร์มการเขียนรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ Page 13
ปงราะนเบพุญณอีแอหกกพวรราษงาคำ
บานวังรอ ง ตำบลหวยไร อำเภอหลม สัก จงั หวดั เพชรบูรณ
มหสาำวนิทักยศาลิ ลปัยะรแาลชะภวัฏัฒเพนธชรรรบมรู ณ