The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

giude book draft1_compressed (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

giude book draft1

giude book draft1_compressed (2)

แผนผงั การจดั แสดง

A โถง
Grabd hall
B มอญในตำนาน
The Mon in the myths
C มอญในทางประวัติศาสตร์
The Mon in the history
D ภาษามอญและารึกมอญ
E ประเพณีและวฒั นธรรมมอญ
Mon tradition and culture
F มอญอพยพ
The Mon migration
G มอญในไทยและผนู้ ำทางวฒั ฯธรรม
The Mon in Thailand and culture hero

พพิ ธิ ภัณฑพ์ น้ื บา้ นวัดมว่ ง
ตัง้ อยูท่ ี่ตำบลบา้ นม่วง อำเภอบ้านโปง่
จงั หวดั ราชบรุ ี 70110
เปดิ วนั พธุ -อาทติ ย์ 09:00 - 16:00 น.
ติดตอ่ สอบถามคุณ สอางค์ พรหมอนิ ทร์
โทร. 089 885 8817
ตดิ ตอ่ ทางเฟสบุ๊คแฟนเพจ มอญสไตล์ ณ บ่า้ นมว่ ง

ข้อมูลเพิ่มเติมทีเ่ วบ็ ไซต์ รามัญ บา้ นมว่ ง

ผวู้ าดภาพ
วชิ าคม อัมณรรฆมนี



พ่อค้าชาวอนิ เดยี และพระเกสธาตุ

ในโลกของคนพืน้ เมืองทั่วไป เชน่ ไทย มอญ พม่า เขมร ลาว ฯลฯ บ้าน และ เมืองจะเกิดขน้ึ ไมไ่ ด้หากไม่มี
พธิ ีสถาปนา พระมหาธาตเุ จดยี ์ใหเ้ ป็นศูนย์กลางทางศาสนาแต่ละแห่งจะตอ้ งสรา้ งนทิ านข้นึ มาอธิบายความเป็นมา
ของการสรา้ งบ้านแปลงเมอื งทสี่ ัมพนั ธุ์กบั พระธาตสุ ่วนใดส่วนหนง่ึ ของสมเดจ็ พระสมณโคดมพทุ ธเจา้ แทบท้ังสิ้น
เชน่ ท่ีศรลี ังกาให้ความสำคัญกบั พระเขี้ยวแก้ว (ฟนั ) เป็นต้น

สำหรับคนมอญ ความสำคญั อยทู่ ่ีพระเกศธาตุ (ผม) พระมหาเจดยี ส์ ำหรบั เมืองสำคญั ๆ ในเขตแคว้นมอญ
หรอื เมืองอนื่ ๆ ทร่ี ับอารยธรรมมอญจะเน้นเร่อื งพระเกศธาตทุ งั้ นั้น เช่น พระมหาเจดยี ช์ เวดากอง เมืองย่างกงุ้ และ
พระมหาเจดีย์ชเวมอดอหรอื พระมุเตา เมอื งหงสาวดี

สาระสำคญั ของนิทานอนั เป็นทยี่ อมรบั มาแตโ่ บราณกาลเลา่ วา่ พ่อค้าชาวอนิ เดียทเ่ี ข้ามาค้าขายในสวุ รรณภมู ิ
คร้งั พทุ ธกาล คือ การนำพระเกศธาตุมาใหก้ ับบา้ นเมือง

ผวู้ าดภาพ
พลงั กร สุรเดช

พุทธทำนายเร่อื งหงสค์ ู่เลน่ น้ำ

ประวตั กิ ารเกิดบ้านเมืองในโลกของคติทางพุทธศาสนาแทบทุกทอ้ งถน่ิ มกั จะอธิบายวา่ สัมพันธ์เกย่ี วข้องกบั
การเสดจ็ เลยี บโลกของพระพุทธเจ้าเสมอ

เมอื งหงสาวดอี นั เป็นดินแดนของคนมอญก็เชน่ เดยี วกนั คอื เกิดจากการเสดจ็ มาของ พระพทุ ธองคแ์ ลว้
ทอดพระเนตรเหน็ หงส์เล่นน้ำอยชู่ ายทะเลจงึ ทรงทำนายวา่ บรเิ วณนั้นจะตอ้ งกลายเป็นที่ตัง้ ของนครที่มีชอ่ื ว่าหงสาวดี

ช้นิ สว่ ยอดสถูปดินเผา สมัยทวารวดี
ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 13-14 ขุดพบบรเิ วณวดั ขุนสหี ์ ตำบลบา้ นม่วง อำเภอบ้านโปง่ จงั หวดั ราชบรุ ี

เมืองสำคัญยคุ ผูช้ นะสบิ ทศิ
เมอื งยะไข่
เมอื งตองอู
เมืองแปร
เมืองหงสาวดี

ภาษามอญในจารกึ
ในบรรดาจารกึ ท้งั บนแผ่นศิลาและ แผ่น

โลหะของบา้ นเมอื งและ ผู้คนในประเทศไทยและ
พมา่ ภาษามอญ นบั เป็นภาษาสำคญั เก่าแก่ของ
ผู้คนในสงั คมทีเ่ ปน็ เมืองและ รัฐ เพราะเป็นท้งั
ภาษาศกั ดิ์สิทธ์ิ ภาษาทางราชการ และ ภาษากลาง
ใช้พูดจาสอ่ื สารในกลมุ่ ชนทุกระดบั ต้ังแตเ่ จ้านาย
ผู้เป็นชนชน้ั ปกครองกับไพร่บ้านพลเมอื งท่ีมีความ
หลากหลายทางภาษาและ ชาติพันธ์ุ

เรื่องภาษามอญทำใหเ้ กิดความเข้าใจผดิ
เกย่ี วกบั เชอ้ื ชาติ วา่ คนในรัฐนน้ั หรือทอ้ งถนิ่ นน้ั ๆ
เป็นคนมอญโดยสายเลอื ดไป แทจ้ รงิ แลว้ ความเป็น
คนมอญหรอื ความเป็นคนไทยหรือความเปน็ คนใน
ชนชาติอ่ืน ลว้ นเกิดจากวัฒนธรรมดดยแท้ อันเนอื่ ง
มาจากคนหลายกลุม่ เหลา่ หลายชาติพันธุ์เข้ามาอยู่
รวมกนั ในพนื้ ท่เี ดียวกันมาชา้ นาน จนมีความสัมพนั ธ์
ทางสงั คม แล้วเกิดสำนึกรว่ มกันวา่ เป็นพวกเดียวกนั
จึงกำหนดภาษาใดภาษาหน่ึงเป็น ภาษากลาง และ
ภาษาราชการระหว่างกนั และ กบั คนอน่ื ๆ ภายนอก

ความเป็นมอญทีเ่ กดิ จากภาษาและวฒั นธรรม
เหน็ ได้ชัดเมือ่ เกิดเมอื ง หริภุญชยั เมืองสะเทิม และ
เมอื งหงสาวดีและ ดนิ แดนมอญท่ีเรียกวา่ รามญั เทศ
ตง้ั แต่พทุ ธศตวรรษที่ 16-17

ตาลปตั รและคัมภีรง์ าช้าง
คมั ภีร์งาชา้ ง ท่มี กี ารลงลายอักษร

เมด็ มะขามบอกเลา่ เก่ียวกับบทสวดญัตติจตตุ กรรม คอื
บทสวดที่สวดในโบสถส์ ำหรบั การบวชนาคใหเ้ ป็นพระ

ประเพณีลงแขกเกย่ี วข้าว หมายถึง การท่เี จ้าของนาจะบอกเพ่ือนบ้านให้รู้ว่าจะเกยี่ วข้าวเมอ่ื ใด และเม่ือถงึ วนั
ทีก่ ำหนดเจ้าของนากจ็ ะต้องปักธงทท่ี ีน่ าของตนเพอื่ ใหเ้ พือ่ นบา้ นหรอื แขกที่รู้จะไดม้ าชว่ ยเกี่ยวได้ถูกต้องท้ังน้ีเจ้าของนา
จะตอ้ งจัดเตรียมอาหาร คาวหวาน สรุ า บหุ ร่ี น้ำดม่ื ไวร้ องรับด้วย และในการขณะเกยี่ วขา้ วก็จะมกี ารละเล่นรอ้ งเพลง
เกย่ี วขอ้ งระหวา่ งหนุม่ สาวเป็นท่ีสนุกสนานและ เพลดิ เพลนิ เพอ่ื คลายความเหนด็ เหนื่อยได้

ประเพณลี งแขกนวดข้าว สมยั กอ่ นเวลาเก่ียวขา้ วเสร็จจะต้องแยกขา้ วออกจากรวงข้าวด้วยด้วยวธิ ีการนวดข้าว
โดยสว่ นใหญส่ มัยนนั้ เขาจะลงแขกนวดข้าวเปน็ ประเพณที ี่ดีงาม แต่ทุกวันน้ีไมม่ ีแลว้ จา้ งรถสขี า้ วอยา่ งเดยี ว

จอง แปลวา่ เผา โอ๊ะห์ แปลวา่ ฟืน ต่าน แปลวา่ บรจิ าค ส่งิ ที่ให้ ประเพณนี ี้ยงั ไมม่ ชี อื่ เปน็ ภาษาไทยจึงเรียก
เป็นภาษามอญ จะมีขึน้ ในวนั มาฆบชู า ขึ้น 15 ค่ำเดอื น 3 ซ่ึงเปน็ ฤดูที่มอี ากาศหนาวเยน็ พุทธบัญญตั ิหา้ มพระสงฆ์
ก่อไฟเพื่อผิงหรือให้ความอบอ่นุ แก่ รา่ งกาย คนมอญเปน็ ผ้ทู มี่ ีความเป็นห่วงพระภิกษสุ งฆ์ จึงได้รว่ มใจกนั ก่อไฟให้
ความอบอ่นุ แก่

ยามวา่ งจากงานในนา ผหู้ ญิงทอผา้ ผชู้ ายจักสาน แสดงให้เห็นถงึ วถิ ีชวี ิตคนไทยเชอื้ สายมอญ ที่มีความผูกพนั
กับการทอผ้า พอ ๆ กบั การทำนา ท่เี ป็นงานหลกั เม่อื วา่ งจากการทำนาทำไร่ กจ็ ะมาช่วยกนั ทอผา้ เพื่อใช้ในชวี ิตประจำวนั
อีกท้ังเพอ่ื ใช้ในงานสำคัญ ๆ โดยส่วนมากจะทอมาใชเ้ ป็นเครือ่ งนงุ่ ห่ม ไดแ้ ก่ เสื้อ ซิ่น (ผา้ น่งุ ) ซง่ (กางเกง) โสร่ง ผ้าขาวมา้
ผา้ คลมุ ไหล่ เครอ่ื งนอน หมอน มุง้ ผ้าหม่ และเครือ่ งใช้ทจี่ ะถวายพระในงานบุญประเพณตี า่ ง ๆ เชน่ ทน่ี อน หมอน
ผา้ หอ่ คัมภรี ์ ผา้ กราบ สว่ นผ้ชู ายก็จะเขา้ ปา่ เพอ่ื หาตัดไม้มาจกั สาน เช่น ตะกร้า สุ่ม ฆ้อง กระบุง กระจาด เป็นตน้ เพ่ือ
เครอื่ งมอื เคร่อื งใชใ้ นครอบครวั

การคำ้ โพธิ์โรยทราย
วนั ท่ี ๑๔ เมษายนเป็นชว่ งวนั สงกรานต์ หรือเรียกตามประเพณีล้านนาว่า "วันเนาว"์ ตามธรรมเนียมบา้ นมอญ
โพธารามมีความเชอื่ วันเนาว์ ตรงกับวนั ใดในสัปดาห์ผทู้ ี่มีวนั เกดิ ตรงกบั วันน้ัน จะต้องมีการคำ้ โพธิ์โรยทราย
การคำ้ โพธิ์ ทำเพอื่ คำ้ จุนพทุ ธศาสนาสืบตอ่ ชะตาชวี ิต ภาษามอญเรยี กว่า เติ้งอะเยน่ิ แปลคร่าวๆคอื การค้ำ
ชะตาชวี ิตตน โดยจะใชไ้ มก้ ระถนิ ทีม่ สี องง่าม มาเหลา่ เปลือกออกให้ขาว ทาด้วยขมิ้นจึงนำไปคำ้ ต้นโพธ์ใิ นวดั

เมื่อยา่ งก้าวเข้าสู่ฤดูฝนและน้ำท่าบริบูรณ์ในเดอื นนคี้ นไทยเช้ือสายมอญทีม่ ีอาชีพทำนาก็เริ่มลงมอื ไถนา ซง่ึ
ในสมัยโบราณยงั ไม่มเี คร่ืองทนุ่ แรงอยา่ งเชน่ สมัยนี้จึงใช้วัวควายในการไถนาซ่ึงจะตอ้ งทำพิธกี ารแรกนาขวญั เพอ่ื เป็น
การแสดงใหเ้ หน็ วา่ ฤดกู ารทำนาได้มาถึงแล้ว และในเดือนนี้ยังมอี กี หนึง่ พิธีสำคญั ที่คนไทยเชือ้ สายมอญลูกหลานมอญ
ทุกหลังคาเรือนจะประกอบพธิ ีกรรมในเดือนนีก้ ็คือประเพณีเล้ียงตาเจ้าบ้านหรือไหวผ้ มี อญ

ประเพณถี วายผ้าอาบน้ำฝนเป็นประเพณที ีม่ ีมาต้งั แตส่ มยั อดีตกาลในครั้งสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า
ทำบญุ ด้วยการถวายผา้ อาบน้ำฝน ผ้าอาบนำ้ ฝนถึงแมว้ า่ ไมไ่ ดจ้ ัดอยูใ่ นชดุ ไตรจวี ร แต่ก็หมายถึงเครื่องนุ่งห่มอันจำ
เป็นสำหรับพระภิกษสุ งฆเ์ ชน่ กนั การถวายผา้ อาบนำ้ ฝนให้พระภกิ ษนุ นั้ ก้เพ่อื ให้ทา่ นไดใ้ ชส้ ำหรับอาบน้ำในชว่ งฤดฝู น

การถวายเทียนพรรษาได้กระทำขึน้ ก่อนเทศกาลเขา้ พรรษาแดพ่ ระภิกษสุ งฆใ์ นพทุ ธศาสนาทกุ ปี คอื ก่อน
วันแรม ๑ คำ่ เดือน ๘ หรอื เดอื น ๘ ท่สี อง ในกรณที ีม่ อี ธิกมาส พุทธศาสนกิ ชนกจ็ ะพากนั ขวนขวายให้มกี ารถวายเทียน
จำนำพรรษาแกว่ ัดในทอ้ งถิน่ ของตน เพื่อใหพ้ ระสงฆ์จุดบชู าพระรตั นตรยั เปน็ เวลา ๓ เดอื น สมยั ก่อนเทยี นพรรษามี
ความสำคญั เปน็ อย่างมากเพราะพระสงฆต์ ้องใชจ้ ดุ ใหแ้ สงสวา่ งในการศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั แต่ในปัจจบุ นั นน้ั เทยี น
พรรษาอาจจะมีความสำคญั ลดนอ้ ยไป ญาตโิ ยมผ้มู ีจติ ศรทั ธาไดเ้ ปล่ยี นมาถวายหลอดไฟฟา้ ถา่ นไฟฉาย เป็นตน้ แทน

ในชว่ งเดือนนค้ี นไทยเชือ้ สายมอญทม่ี ีอาชพี ทำนากจ็ ะเริม่ ลงมือทำนาในฤดูนาปี วถิ ีชวี ติ คนไทยเชื้อสายมอญ
นับแตอ่ ดีตมงุ่ ปลกู ขา้ ว เพอ่ื บรโิ ภคเป็นหลัก เหลอื เก็บในยุ้งฉางกจ็ ะนำไปแลกเปลี่ยน กบั ปัจจยั อื่น เช่น เส้อื ผา้ ยารกั ษา
โรค หรืออาหารประเภทอ่ืนๆ แตไ่ มน่ ิยมขายข้าว ไมแ่ ลกเปลีย่ นขา้ วกับเครื่องมอื ประหัตประหาร เพราะคนไทยเชอื้
สายมอญมคี วามเชือ่ ว่าข้าวเป็นส่งิ ทีม่ บี ญุ คณุ มีจติ วิญญาณมีพระแมโ่ พสพประจำอยขู่ า้ วเปน็ อาหารในบรโิ ภคเทา่ นัน้ ไม่
ใชพ่ ชื เศรษฐกิจ

ตกั บาตรนำ้ ผึง้ " เป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวไทยเช้ือสายรามญั (มอญ) จะจดั ข้ึนในวนั พระ ขึ้น 15 คำ่ เดอื น 10
หรอื ประมาณเดือนกนั ยายน ซง่ึ ชาวมอญจะเรยี กว่า " บงั ฮะเบี้ยงตา๊ ดซาย " แปลวา่ การทำบญุ ตักบาตรน้ำผ้ึงสืบเนื่อง
มาจากความเช่อื ว่าในสมัยพทุ ธกาล พระพุทธเจ้าเสดจ็ ประทับทีป่ ่าเลไลย์มชี ้างและลิงคอยอปุ ฏั ฐากโดยการนำเอาออ้ ย
และนำ้ ผงึ้ คอยถวายต่อมาจึงทรงมีพุทธานญุ าตให้ภกิ ษุสามเณรรบั น้ำผ้ึงและนำ้ อ้อย มาบรโิ ภคเปน็ ยาได้

การตักบาตรนำ้ ผงึ้ มกั จัดกันที่ศาลาวดั ขณะทีพ่ ระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตน์ น้ั ชาวบา้ นจะนำน้ำผึง้ มาใสบ่ าตร
และนำนำ้ ตาลใส่ในจานทว่ี างคกู่ ับบาตร สว่ นอาหารคาวหวานจะใส่ในภาชนะท่วี างแยกไวอ้ กี ด้านหน่งึ อาหารพเิ ศษท่ี
นำมาใสบ่ าตรได้แก่ ขา้ วตม้ มัด ถวายเพอ่ื ใหพ้ ระฉนั จ้ิมกบั นำ้ ผ้ึงหรอื น้ำตาล

วันสารทมอญนัน้ เปน็ อีกหนึง่ ประเพณขี องชนชาวมอญทีม่ กั กระทำกนั ในช่วงวันออกพรรษา คือในวนั
ข้ึน ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๑ ของทุกปี ซง่ึ จะตา่ งกับประเพณีวันสารทไทย ทจ่ี ะทำกนั ในวันขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ หรือทนี่ ยิ ม
เรียกกันวา่ วนั ทำบญุ สารทเดือนสบิ ส่วนวันสารทลาว นัน้ จะกระทำในวันข้นึ ๑๔ ค่ำ เดอื น ๑๑ ซ่ึง วนั สารทมอญ น้ัน
เปน็ วันทช่ี าวมอญถือตามคติและความเชอ่ื ในตำนานวันเทโวโรหะณะ หรือวันพระเจ้าเปิดโลก ซึ่งเปน็ วันท่พี ระพทุ ธองค์
ทรงเสด็จกลับจากแสดงธรรมโปรดพทุ ธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ณ ใกลป้ ระตูเมืองสังกัสสะนคร ในวันนน้ั พระ
พุทธองคท์ รงไดแ้ สดงปาฏหิ ารยิ โ์ ดยใหม้ นษุ ยโ์ ลกได้เหน็ นรกและสวรรค์ เหลา่ เทวดาไดเ้ หน็ มนษุ ยแ์ ละสัตว์นรก
สัตวน์ รกได้เหน็ เทวดาและมนษุ ย์ ในการทำบุญขนมท่ีนยิ มนำมาทำน้นั มีหลายอยา่ งเช่น ขนมลกู โยน กระยาสารท
และอืน่ ๆ

ประเพณีรบั ขวัญขา้ วเป็นประเพณที ช่ี าวนาสว่ นใหญ่เชื่อวา่ แม่โพสพเปน็ เทพธดิ าประจำต้นข้าว และเป็น
ผ้คู ุ้มครองดูแลต้นขา้ วใหเ้ จรญิ งอกงาม ไดผ้ ลผลิตทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ชาวนาจึงไดใ้ หค้ วามเคารพนบั ถอื กราบไหว้แมโ่ พสพ
มาตัง้ แตค่ รั้งโบราณกาล และด้วยความเช่อื ทวี่ า่ “แม่โพสพเป็นผ้หู ญงิ ตกใจและเสียขวญั งา่ ย จึงมกั จะมกี ารทำพธิ ีรบั ขวัญ
แม่โพสพในทุก ๆ ครง้ั ท่ีมีการเปลย่ี นแปลงเกดิ ขึน้ กบั ตน้ ข้าว” ทั้งในชว่ งทีข่ า้ วกำลังตั้งทอ้ ง หรือในชว่ งทไี่ ด้ทำการเก็บเกี่ยว
และนำขา้ วขนึ้ ไปเกบ็ ในย้งุ เป็นต้น ประเพณรี ับขวัญแมโ่ พสพในระยะขา้ วตั้งทอ้ ง มักจะทำในชว่ งออกพรรษาหรอื ประมาณเ
ดอื นตลุ าคม-พฤศจกิ ายนของทุกปี และนยิ มทำพธิ ีกนั ในวนั ศกุ ร์

ฤดูการเก็บเก่ียว ตำขา้ วเม่าไหว้ผีเรอื น ถวายพระสงฆ์ เกบ็ แช่ ควั่ ตำ ฝดั ข้าว คนแกเ่ ฒา่ รักษาไว้กลิ่นเมา่ หอม
รัญจวนใจ รกั ษาไวค้ งอยูน่ านประเพณกี ารตำขา้ วเมา่ เปน็ ประเพณที ี่มีมาตง้ั แต่สมยั โบราณแลว้ หลังจากท่ีชาวนาปลกู
ขา้ วมาไดร้ ะยะหนึ่งในระยะทีข่ า้ วคอ่ นข้างจะแก่ ใกลร้ ะยะเก็บเกย่ี ว ชาวนาจงึ นยิ มเกบ็ เกี่ยวข้าวนน้ั มาตำเปน็ ข้าวเมา่
ข้าวทีส่ ามารถนำมาทำข้าวเม่าได้นน้ั เปน็ ไดท้ ้ังขา้ วเจา้ และข้าวเหนยี ว ขา้ วเมา่ จัดเปน็ อาหารหวานอยา่ งหนึ่งของชาวไทย
ทป่ี ระกอบอาชีพทำนา ชาวนาจะนำข้าวแก่ใกลจ้ ะเก็บเก่ยี วได้ นำมาควั่ ตำ แล้วนำไปรบั ประทานไดเ้ ลย ถ้าทำสกุ ใหม่ ๆ
กจ็ ะนิม่ หรอื บางคนก็จะนำไปคลกุ เคลา้ ด้วยนำ้ ตาลทราย มะพร้าวและเกลอื รับประทานเป็นอาหารวา่ งแทนขนมหวาน



ระลอกที่หนึง่
เมื่อพระเจ้าตะเบง็ ชเวต้ีตีเมอื งหงสาวดีแตกในปี พ.ศ. 2081

และตีเมาะตะมะแตกในปี พ.ศ. 2084 ชนชั้นสูงและชาวมอญต่างพา
กันอพยพเข้าสปู่ ระเทศไทย
ระลอกท่ีสอง

เมอ่ื สมเดจ็ พระนเรศวรเสด๊จไปพมา่ เพอ่ื ชว่ ยพระเจ้านนั ทบเุ รง
ปราบกบฏเมืององั วะ แล้วทรงประกาศอสิ ระภาพจากพมา่ ในปี พ.ศ. 2127
และทรงเกลี้ยกลอ่ มชาวมอญทสี่ วามภิ ักดใ์ิ ห้อพยพเขา้ มา
ระลอกที่สาม

ราชวงศต์ องอปู กครองมอญอยา่ งทารุณ และในปี พ.ศ. 2138
พวกยะไขเ่ ขา้ มาตที ำลายเมอื งหงสาวดจี นรา้ ง เกดิ การอพยพหนเี ข้ามา
พ่ึงพระบรมโพธสิ มภาร



ระลอกท่ีสี่
เมื่อพระเจ้าสุทโธะรรมราชาแหง่ องั วะมาทำพิธรี าชาภิเษก

ท่เี มอื งหงสาวดีในปี พ.ศ. 2156 มอญไมพ่ อใจจงึ กอ่ กบฏ แตถ่ ูกพมา่
ปราบปรามอยา่ งหนัก เกดิ การอพยพเข้าสู่ไทย
ระลอกทหี่ ้า

มอญท่เี มาะตะมะกอ่ การกบฏอกี คร้งั ในราวปี พ.ศ. 2204
ถึง 2205 แต่ถูกพม่าปราบได้จงึ พากันอพยพหนเี ขา้ มา
ระลอกที่หก

ปลายราชวงศต์ องอู มอญต้งั อาณาจักรได้และสามารถ
ตีกรงุ อังวะแตก แตค่ รง้ั พระเจ้าอลองพญาสถาปนาราชวงศ์ใหม่
และในปี พ.ศ. 2300 สามารถตหี งสาวดไี ด้ มอญถกู ปราบปราม
อย่างรุนแรง จึอพยพเขา้ ไทย



ระลอกทเี่ จด็
ปี พ.ศ. 2316 เกิดกบฏมอญในยา่ งกุ้ง พมา่ จึงเผา

เมืองยา่ งกุ้ง มอญพากนั อพยพหนีเขา้ มา
ระลอกที่แปด

ปี พ.ศ. 2357 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก
เสดจ็ ตแี ละยึดเมืองทวายได้ แต่ไมส่ ามารถรักษาได้ ต้องถอยกลบั
เข้าสู่ไทย และไดน้ ำมอญเขา้ มาดว้ ย
ระลอกทเี่ กา้

ปี พ.ศ. 2357 เกิดกบฏมอญทเ่ี มาะตะมะ ถกุ พมา่ ปราบ
อยา่ งรุนแรง เกิดการอพยพหนเี ข้าไทยระลอกใหญ่

การอพยพของมอญทงั้ เก้าระลอก ทำใหม้ อญกลายเปน็
ประชากรสว่ นสำคญั ของประเทศไทยมาจนทกุ วนั นี้



การกระจายตัวมอญในไทย
คนมอญมักตง้ั ถน่ิ ฐานอยูร่ มิ นำ้ โดยเฉพาะจะหนาแน่นบริเวณสองฝ่งั แม่นำ้ เจ้าพระยา ไดแ้ ก่ จงั หวัดปทมุ ธานี

(สามโคก) จงั หวัดนนทบรุ ี (ปาดเกร็ด) จังหวัดสมุทรปราการ (พระประแดง)รวมทงั้ ในเขตกรงุ เทพมหานคร และบรเิ วณ
ลมุ่ แมน่ ำ้ แม่กลอง ท่ีจงั หวัดราชบุรี (บ้านโปง่ -โพธาราม) จังหวดั สมุทรสงคราม(อัมพวา)

นอกจากนีย้ ังพบคนมอญกระจายอยู่จงั หวดั อื่นๆ อีก ไดแ้ ก่ นครปฐม สมทุ รสาคร เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา
ลพบุรี ปราจนี บรุ ี อุทยั ธานี นครสวรรค์ ลำพนู เชียงใหม่ และนครราชสมี า เป็นต้น

ผวู้ าดภาพ
ประเวศ สุขสมจติ ร

พระเจา้ อโนรธา
พระเจ้าอโนรธา ปฐมกษัตรยิ ์ แหง่ พุกามที่ย่งิ ใหญ่ในตำนานขอพม่า ทรงไดร้ ับยกย่องเปน็ มหาราชทรงยกทพั

ไปยดึ ครองเมอื งสะเทิมของมอญ กวาดตอ้ นราชวงศ์กษัตริย์และคนมอญข้นึ ไปพุกาม แล้วรบั วัฒนธรรมมอญพรอ้ มกับ
รับพทุ ธศาสนาเถรวาท

ผวู้ าดภาพ
ประเวศ สุขสมจติ ร

พระเจ้าราชาธริ าช
พระเจา้ ราชาธริ าช กษัตริยม์ อญผ้ทู รงความสามารถด้านการทำมหายุทธสงครามกบั พมา่ ยาวนาน พระนาม

ของพระองค์จึงยิ่งใหญ่ ท้งั ในหม่พุ มา่ และมอญ ในฐานะพระมหากษัติร์ ผู้มปี ญั ญาบารมใี นการศึกษาและการปกครอง
พระองค์เปน็ ท่รี ูจ้ กั ทว่ั ไปอกี นามหนว่ึ ่า พระยาน้อย

ผวู้ าดภาพ
พลงั กร สุรเดช

บุเรงนอง
บุเรงนอง โดยกำเนิดเปน็ คนพมา่ แตไ่ ดเ้ ปน็ ใหญใ่ นเมืองมอญอนั มหี งสาวดีเปน็ ศนู ย์กลาง บเุ รงนองเป็น

พระราชาทท่ี รงคนุ ธรรม เป็นองค์อคั รศาสนูปถัมภกทยี่ ิง่ ใหญ่ จนได้รบั สมญั ญาวา่ เป็น พระเจ้าช้างเผอื กผู้ชนะสิบทิศ
บเุ รงนองสรา้ งกรงุ หงสาวดี ใหย้ ่ิงใหญ่ทมี่ ีพระมเุ ตาเป็นมหาธาตกุ ลางเมือง บรู ณปฏิสังขรณ์พระมหาสถปู เจดีย์
ชเวดากอง และสรา้ งพระมหาเจดยี ์ อันเป็นพระมหาสถปู เมืองหงสาวดีท่ีจำลองมาจากพระมเุ ตา

เม่ือครง้ั บเุ รงนองไดก้ รงุ ศรีอยุธยาเป็รเมืองขนึ้ คงปฏิสงั ขรณ์วดั เจดีย์ภเู ขาทองที่อยธุ ยา มีรปู ทรงคล้ายกับ
พระมหาเจดีย์ท่เี มอื งหงสาวดี




Click to View FlipBook Version