1
คำนำ
“ภูมิปัญญาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ” เป็นหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ท่ีมีจุดประสงค์
เพ่ื อให้ค ณะ ผู้จัดทา ไ ด้มี การสร้ า งองค์ ค วา ม รู้ แ ละ ศึกษา เก่ี ยวกับภู มิ ปั ญญ า ภา ค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งเป็นระบบและถูกตอ้ ง และเพื่อการมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาและวฒั นธรรม ซ่ึงเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาประวตั ิศาสตร์
ไทย (ส31102) ท้ังน้ีหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์น้ีมีเน้ือหาความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาและวฒั นธรรมท่ีสะทอ้ นให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความรู้และ
ความสามารถของคนอีสาน อนั เกิดจากทกั ษะชีวิตสติปัญญาความรู้ท่ีหลากหลาย จนกลายเป็น
ภูมิปัญญาแลวฒั นธรรมที่สืบทอดสู่รุ่นลูกรุ่นหลายต่อๆไป
หวงั ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ “ภูมิปัญญาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ”เล่มน้ีจะให้
ความรู้เพิ่มความสนใจและประสบการณ์แก่ผอู้ ่าน เพื่อเป็นประโยชน์ในการอนุรักษส์ ืบทอดภูมิ
ปัญญาและวฒั นธรรมใหค้ งอยสู่ ืบไป
คณะผู้จดั ทำ
2
สำรบัญ หนา้
ก
เร่ือง ข
คานา 1
สารบญั 2
ภูมิปัญญาดา้ นอาหาร 2
ภูมิปัญญาดา้ นที่อยอู่ าศยั 2
2
-วฒั นธรรมเกี่ยวขอ้ งกบั ดา้ นท่ีอยอู่ าศยั 4
-เอกลกั ษณ์ของเรือนไทยภาคอีสาน 4
-องคป์ ระกอบของเรือนไทยภาคอีสาน 4
ภูมิปัญญาดา้ นสุขภาพอนามยั 5
-การแพทยพ์ ้นื บา้ นภาคอีสาน 5
-วธิ ีการรักษาและหมอพ้ืนบา้ นภาคอีสาน 7
ภูมิปัญญาดา้ นการแต่งกาย 7
-ลกั ษณะการแต่งกาย 9
ภูมิปัญญาดา้ นวฒั นธรรม ประเพณีและความเชื่อ
-ประเพณีภาคอีสาน 13
-วฒั นธรรมภาคอีสาน 14
กลุ่มชาติพนั ธุ์ในอีสาน 15
บรรณาธิการ
บรรณานุกรม
ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์
3
ภมู ปิ ัญญาด้านอาหาร
หากจะกลา่ วถึงอาหารการกินของคนอีสาน หลายคนคงรู้จกั คุน้ เคยและไดล้ ิ้มชิมรส กนั มาบา้ งแลว้
ชาวอีสานมีวิถีการดาเนินชีวิตท่ีเรียบง่ายเช่นเดียวกบั การที่รับประทานอาหารอย่างง่ายๆ มกั จะ
รับประทานไดท้ ุกอย่าง เพื่อการดารงชีวิตอยู่ให้สอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของภาคอีสาน ชาว
อีสานจึงรู้จักแสวงหาสิ่งต่างๆท่ีสามารถรับประทานได้ในท้องถิ่น มาดัดแปลงเป็ นอาหาร
รับประทาน อาหารอีสานเป็นอาหารที่มีความแตกต่างจากอาหารของภาคอ่ืนๆ และเขา้ กบั วิถีการ
ดาเนินชีวิตท่ีเรียบง่ายของชาวอีสาน อาหารของชาวอีสานในแต่ละม้ือจะเป็นอาหารง่ายๆเพียง 2-3
จาน ซ่ึงทุกม้ือจะตอ้ งมีผกั เป็นส่วนประกอบหลกั พวกเน้ือส่วนใหญ่จะเป็นเน้ือปลาหรือเน้ือววั เน้ือ
ควาย ความพึงพอใจในรสชาติอาหารของชาวอีสานน้นั ไม่มีตายตวั แลว้ แต่ความชอบของบุคคล
แต่อาหารพ้นื บา้ นอีสานส่วนใหญแ่ ลว้ จะออกรสชาติไปทางเผด็ เคม็ และเปร้ียวเครื่องปรุงอาหาร
อีสานท่ีสาคญั และแทบขาดไม่ไดเ้ ลย คือ ปลาร้า ซ่ึงท่ีเกิดจากภูมิปัญญาดา้ นการถนอมอาหารของ
บรรพบุรุษของชาวอีสาน ถา้ จะกล่าวว่าชาวอีสานทุกครัวเรือนตอ้ งมีปลาร้าไวป้ ระจาครัวก็คงไม่
ผิดนกั ปลาร้าใชเ้ ป็นส่วนประกอบหลกั ของอาหารไดท้ ุกประเภท เหมือนกบั ที่ชาวไทยภาคกลาง
ใชน้ ้าปลา
ปลาร้า สม้ ตาปูปลาร้า
1
ภูมปิ ัญญาด้านท่อี ยู่อาศัย เรือนไทยภาคอีสาน
ลกั ษณะทว่ั ไป
วฒั นธรรมเกยี่ วข้องกบั ด้ำนที่อยู่อำศัย
เรือนไทยภาคอีสาน เป็นหน่ึงในเรือนไทย4
ภาคของไทย แบ่งออกไดเ้ ป็นการปลูกเรือน
ในลกั ษณะชวั่ คราว ก่ึงถาวร หรือเรือนถาวร
ประเภทของเรือนอีสาน
เอกลกั ษณ์ของเรือนไทยภำคอสี ำน
มีลกั ษณะเด่นอยู่ 3 ประเภท คือ
1.ไม่นิยมทาหนา้ ต่างทางดา้ นหลงั ตวั เรือน
2.ไม่นิยมต่อยอดป้านลมใหส้ ูงข้ึนไป
3.ไม่นิยมต้งั เสาเรือนบนตอม่อ
องค์ประกอบของเรือนไทยภำคอสี ำน
1.เรือนนอนใหญ่ จะวางดา้ นจวั่ รับทิศตะวนั ออก-ตะวนั ตก ส่วนมากจะมีความยาว 3 ช่วงเสา
เรียกวา่ "เรือนสามหอ้ ง " ใตถ้ ุนโล่งช้นั บนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
2.เกยคือบริเวณชานโล่งท่ีมีหลงั คาคลุม เป็นพ้ืนที่ลดระดบั ลงมาจากเรือนนอนใหญ่มกั ใชเ้ ป็น
ที่รับแขก หรือที่รับประทานอาหาร ส่วนของใตถ้ ุนจะเต้ียกวา่ ปกติอาจไวใ้ ชเ้ ป็นท่ีเกบ็ ฟื น
3.เรือนแฝด เป็นเรือนทรงจวั่ แฝด เช่นเดียวกบั เรือนนอนโครงสรา้ งท้งั คานพ้ืนและขื่อหลงั คา
จะฝากไวก้ บั เรือนนอนแต่หากเป็นเรือนแฝดลดพ้นื ลงมากกวา่ เรือนนอนกม็ กั เสริมเสาเหลก็
มารับคานไวอ้ ีกแถวหน่ึงต่างหาก
4.เรือนโข่ง มีลกั ษณะเป็นเรือนทรงจว่ั เช่นเดียวกบั เรือนนอนใหญ่แต่ต่างจากเรือนแฝดตรงท่ี
โครง สร้างของเรือนโข่งจะแยกออกจากเรือนนอนโดยสิ้นเชิงสามารถร้ือถอนออกไปปลูก
ใหม่ได้ โดยไม่ กระทบกระเทือนต่อเรือนนอน
2
5.เรือนไฟ (เรือนครัว) ส่วนมากจะเป็นเรือน 2 ช่วงเสา มีจวั่ โปร่งเพ่ือระบายควนั ไฟ ฝานิยมใช้
ไมไ้ ผส่ านลายทแยงหรือลายขดั
6.ชานแดด เป็นบริเวณนอกชานเชื่อมระหวา่ งเกยเรือนแฝดกบั เรือนไฟมีบนั ไดข้ึนดา้ นหนา้ เรือน
มี"ฮา้ งแอ่งน้า" อยตู่ รงขอบของชานแดด บางเรือนท่ีมีบนั ไดข้ึนลงทางดา้ นหลงั จะมี "ชานมน"
ลด ระดบั ลงไปเลก็ นอ้ ย โดยอยดู่ า้ นหนา้ ของเรือนไฟ
เรือนนอนใหญ่ เรือนแฝด
เรือนโข่ง เรือนเกย
เรือนไฟ
แหล่งที่มา
3
ภมู ปิ ัญญาด้านสุขภาพอนามัย
กำรแพทย์พืน้ บ้ำนภำคอสี ำน
– ความเชื่อพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การเจบ็ ป่ วย คือ ความเชื่อเรื่องกรรมตามหลกั พทุ ธศาสนา ความเชื่อเร่ือง
ผี และความเช่ือเรื่องเคราะห์กรรม
วธิ ีกำรรักษำและหมอพืน้ บ้ำนภำคอสี ำน แบ่งได้ 6 ประเภท
-หมอยาสมุนไพร รักษาโรคโดยใชส้ มุนไพร โดยอาจมีคาถาอาคมประกอบดว้ ย
-หมอมนตห์ รือหมอเป่ า รักษาโรคดว้ ยการเป่ ามนตห์ รือใชค้ าถาอาคมเป็นหลกั
-หมอธรรม ใชพ้ ธิ ีกรรม เช่น ผกู ฝ้าย (สายสิญจน)์ รดน้ามนต์ เป็นตน้ ร่วมกบั คาถาอาคมขบั ไลผ่ ที ี่เป็น
สาเหตุการป่ วย
-หมอสู่ขวญั ทาพิธีเรียกขวญั ใหก้ ลบั คืนสู่ร่างกายเพือ่ ใหห้ ายป่ วย
-หมอมอหรือหมอดู ใชด้ ูฤกษย์ ามเคราะห์กรรมเพื่อระบุสาเหตุของการเจบ็ ป่ วย
-เฒ่าจ้า มีหนา้ ท่ีประกอบพธิ ีกรรมเพ่อื บวงสรวงสงั เวยผี และเทวดาประจาหมู่บา้ น
แหลง่ ที่มา
4
ภมู ปิ ัญญาด้านการแต่งกาย
ลกั ษณะกำรแต่งกำย
ประชากรในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีการแต่งกายที่ เป็นเอกลกั ษณ์ของตนคือหญิงมกั จะนุ่ง
ผา้ ซิ่นทอดว้ ยฝ้ายมีเชิงคลุมเลยเข่าไปเลก็ นอ้ ย สวมเส้ือแขนส้ัน ผสู้ ูงอายมุ กั ตดั ผมส้นั ไวจ้ อน
ส่วนผชู้ ายไมค่ ่อยมีรูปแบบท่ีแน่นอนนกั แต่มกั นุ่งกางเกงมีขาคร่ึงน่องหรือนุ่งโสร่งผา้ ไหม
อยา่ งไรกต็ ามเครื่องแต่งกายดงั กล่าวจะพบนอ้ ยลง ในปัจจุบนั ประชากรวยั หนุ่มสาวจะแต่งกาย
ตามสมยั นิยมอยา่ งที่พบเห็นในท่ีอื่น ๆ ของประเทศ แต่กส็ ามารถหาชมการแต่งกายของชาว
อีสานแบบด้งั เดิมไดต้ ามหมู่บา้ นในชนบทซ่ึงประชากรส่วนใหญ่ โดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ยงั คง
แต่งกายแบบด้งั เดิมการแต่งกายของชาวอีสานน้นั มีหลากหลายสิบเนื่องมาจากชนเผา่ ต่างๆ
นน่ั เอง ซ่ึงไดร้ ับวฒั นธรรมที่แตกต่างกนั มาตามภูมิภาคของตนสาหรับภาคอีสานน้นั สามารถ
จาแนกออกเป็น 2 ภาคใหญ่ๆ คือ อีสานตอนใต้ และอีสานตอนบนอีสานใต้
อีสานใต้ มีหลากหลายภาษาที่เป็นเอกลกั ษณ์เช่น
เขมร ส่วย เยอ ลาว ซ่ึงส่วนใหญ่ไดร้ ับอิทธิพล
วฒั นธรรมจาก ขอมเขมร ในอดีตและมีการสืบ
ทอดจนถึงรุ่นปัจจุบนั การแต่งกายของชาวไทย
เช้ือสายเขมรท่ีอีสานใตน้ ้นั ทมีเอกลกั ษณ์เฉพาะ
ตวั อนั บ่งบอกถึง ความเป็นทอ้ งถิ่นเขมรอีสาน
ใตไ้ ดอ้ ยา่ งน่าชื่นชม ไม่วา่ จะเป็นเส้ือผา้ นุ่งเป็น
ส่ิงที่แสดงถึงมรดกตกทอดจากรุ่นป่ ูยา่ ตายายมา
สู่รุ่นลูกรุ่นหลานนบั แต่สมยั โบราณกระทง่ั กวา่
ร้อยปี หลงั ถึงปัจจุบนั การแต่งกายของชาวไทย
เขมรไดเ้ ปล่ียนแปลงไปไม่นอ้ ย แต่ณ ปัจจุบนั ลูก
หลานท่ีหวงแหนในวฒั นธรรมการแต่งกายของ ลกั ษณะการแต่งกาย
คนเขมรไดร้ ้ือฟ้ื นช่วยกนั กลบั มาสวมใส่แต่งกาย
กลบั มาเป็นท่ีนิยมกนั อยา่ งมากข้ึนในโอกาสงาน
บุญและงานประจาปี ต่างๆ
5
ในสมยั โบราณหญิงชาวเขมรในอีสานใตก้ ม็ ีความพิถีพถิ นั ในเร่ืองกายแต่งกายเช่นเดียวกบั หญิง
ในภาคอ่ืนๆของไทยไม่แพก้ นั ดงั จะเห็นไดจ้ ากเส้ือท่ีสวมใส่ ไดจ้ ากการตดั เยบ็ ดว้ ยฝีมือลว้ นๆ
และท่ีขาดไม่ไดค้ ือผา้ นุ่งท่ีมีเอกลกั ษณ์มาแต่โบราณสวยงามไม่วา่ จะเป็น ผา้ สมอ ผา้ ส-- ผา้
กระเนียว ผา้ อนั ปรม ผา้ โฮล ผา้ เกบ็ ผา้ จดอ ผา้ โสร่ง
ผชู้ ายส่วนใหญ่นิยมสวมเส้ือแขนส้นั สีเขม้ ๆที่เราเรียกวา่ "ม่อห่อม" สวมกางเกงสีเดียวกบั เส้ือ
จรดเข่านิยมใชผ้ า้ คาดเอวดว้ ยผา้ ขาวมา้
ผหู้ ญิงการแต่งกายส่วนใหญ่นิยมสวมใส่ผา้ ซ่ินแบบทอท้งั ตวั สวมเส้ือคอเปิ ดเล่นสีสันห่มผา้
สไบเฉียง สวมเคร่ืองประดบั ตามขอ้ มือ ขอ้ เทา้ และคอ
เส้ือม่อห่อม
ลกั ษณะการแต่งกายผหู้ ญิง
แหล่งท่ีมา
6
ภมู ปิ ัญญาด้านวัฒนธรรม ประเพณีและความเช่ือ
ภาคอีสานเป็นพ้นื ที่ท่ีเป็นอารยธรรมโบราณประชากร ท่ีอาศยั อยสู่ ่วนมากเป็นคนไทยเช้ือสาย
ลาวและเช้ือสายเขมรมีคตนิ ิยมผกู แน่นอยกู่ บั ประเพณีโบราณมีการรักษา สืบเน่ืองต่อกนั มาจึง
เป็นถิ่นแดนท่ีเตม็ ไปดว้ ยกล่ินอายของวฒั นธรรมประเพณีท่ี ผสมผสานความเช่ือถือในเรื่องของ
การนบั ถือผแี ละคติทางพระพุทธศาสนาเขา้ ดว้ ยกนั
ประเพณภี ำคอสี ำน
ประเพณีและความเชื่อของชาวอีสานน้นั ไดร้ ับอิทธิพลมาจากส่ิงแวดลอ้ มภายนอกที่เขา้ สู่สงั คม
รับเอาแบบปฏิบตั ิที่หลากหลายเขา้ มาผสมผสานในการดาเนินชีวติ ประเพณีจึงเรียกไดว้ า่ เป็นวถิ ี
แห่งการดาเนินชีวติ ของสงั คม โดยเฉพาะศาสนาซ่ึงมีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากท่ีสุด
ความเช่ือในเร่ือง ภูตผี เทพาอารักษถ์ ูกกาหนดข้ึนดว้ ยจุดประสงคแ์ ฝงเร้นใหเ้ กิดการอนุรักษ์
ทรัพยากรพ้ืนถิ่นสร้างแหล่งอาหาร พชื พนั ธุอ์ นั อุดมสมบูรณ์ และช่วยรักษาป่ าไมใ้ หก้ บั ชุมชน
หลายๆประเพณีจึงมีข้ึนเพอ่ื เป็นการรวมใจของคนในชุมชนประเพณีต่างๆในภาคอีสาน
ประเพณีแห่นางแมว
7
ประเพณบี ุญข้ำวประดบั ดนิ
ประเพณีบุญขา้ วประดบั ดินเป็นประเพณีที่จดั ข้ึน
เพ่ืออุทิศส่วนกศุ ลใหก้ บั ผทู้ ี่ล่วงลบั ไปแลว้ และ
เพ่อื อุทิศส่วนกศุ ลใหก้ บั สัตวน์ รกหรือเปรตซ่ึง
จะทากนั ในช่วงเดือนกนั ยายน (วนั แรม๑๔ ค่า
เดือน ๙)
บุญผะเหวด(พระเวส)
เป็นประเพณีบุญตามฮีตสิบสองของชาวอีสานแต่ถา้ ถือเป็นเร่ืองทาน กเ็ ป็นประเพณีการบริจาค
ทานคร้ังยง่ิ ใหญ่กพ็ อจะอนุมานไดถ้ ึงสภาพทว่ั ไปของชาวอีสานวา่ ดอกจิกดอกจาน บานราวตน้
เดือน๓พุทธศาสนิกชนจะเกบ็ ดอกไมเ้ หล่าน้ีมาร้อยเป็นมาลยั เพ่อื ตกแต่งศาลาการเปรียญสาหรับ
บุญมหาชาติและในงานน้ีกจ็ ะมีการเทศนม์ หาชาติซ่ึงถือวา่ เป็นงานอนั ศกั ด์ิสิทธิผใู้ ดฟังเทศนมหา
ชาติจบภายในวนั เดียวและบาเพญ็ คุณงามความดี จะไดอ้ านิสงส์ไปเกิดในภพหนา้ ซ่ึงจะทากนั
ในวนั เสาร์ของสัปดาห์แรกของเดือนมีนาคม
แหล่งท่ีมา
8
วัฒนธรรมภาคอีสาน
ภาคอีสานหรือภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทยมีลกั ษณะเป็นพ้ืนที่ราบสูง อาณาเขตดา้ นเหนือ
และตะวนั ออกมีแม่น้าโขงเป็นแนวก้นั อาณาเขต ดา้ นใตจ้ รดเขตชายแดน กมั พชู า ส่วนทางดา้ น
ตะวนั ตกมีเทือกเขาเพชรบูรณ์ และเทือกเขาดงพญาเยน็ ก้นั แยกจากอาณาเขตภาคกลางและ
ภาคเหนือยอดเขาที่สูงที่สุดของอีสานคือ ยอดเขาภูกระดึงวฒั นธรรมในภาคอีสาน
บุญบ้งั ไฟ
เป็นประเพณีสาคญั ของชาวอีสาน นิยมทาในงานเทศกาลเดือนหา้ ฟ้าหก (ราวเดือนเมษายน-
พฤษภาคมของปี ) ในช่วงน้ีชาวนาจะเตรียมไถนาจึงขอใหฝ้ นตกจากความเชื่อในเร่ืองของสิ่งล้ี
ลบั และเทวดาหรือพญาแถนท่ีอยบู่ นสวรรค์ สามารถบนั ดาลใหฝ้ นตกฟ้าร้องได้ จึงมีการจดั พธิ ี
บูชาพญาแถนทุกปี ดว้ ยการทาบ้งั ไฟ
แหล่งท่ีมา
ผตี ำโขน
ท่ีอาเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ผเู้ ล่นจะนารูปหนา้ กากท่ีมีลกั ษณะน่าเกลียดน่ากลวั มาสวมใส่และ
แต่งตวั มิดชิด แลว้ เขา้ ขบวนแห่แสดงท่าทางต่าง ๆ ในระหวา่ งมีงานบุญประเพณีประจาปี ของ
ทอ้ งถ่ิน การแห่ผตี าโขนหรือที่อาเภอด่านซา้ ยเรียกวา่ ”บุญหลวง” เป็นการรวมเอาบุญประเพณี
บุญพระเวสและบุญบ้งั ไฟเขา้ ดว้ ยกนั โดยจะจดั ข้ึนในช่วงวนั ขา้ งข้ึน เดือน 8นิยมทากนั 3 วนั
9
กลุ่มชาตพิ ันธ์ุในภาคอีสาน
ภูมิภาคอีสาน เป็นดินแดนท่ีมีอาณาเขตกวา้ งขวาง มีความสัมพนั ธใ์ กลช้ ิดกบั ประเทศใน
กลุ่มประชาคมลุ่มน้าโขง ประชากรในภูมิภาคน้ีมีวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย โดยมีกลุ่มวฒั นธรรมไท-
ลาวเป็นหลกั และกลุ่ม วฒั นธรรมยอ่ ยท่ีแตกต่างตามสภาพทอ้ งถิ่นฐานเดิม กลุ่มชาติพนั ธุใ์ นภูมิภาคน้ี
จาแนกตามตระกลู ภาษาได้ 2 ตระกลู คือ กลุ่มไต-กะได ท่ีประกอบดว้ ยกลุ่มวฒั นธรรมไท-ลาว ไท
โคราช และกลุ่มออสโตรเอเชียติค สาขามอญ-เขมร ท่ีประกอบดว้ ยกลุ่มเขมรถ่ินไทย กยู บรู ไดแ้ ก่
ไทยลำว (ไทยอสี ำน) ไท-ลำว
กลุ่มไทยลาว หรือทวั่ ไปเรียกวา่ “ชาวอีสาน” ที่เป็นกลุ่มท่ีใหญ่ที่สุด มีประชากรมากท่ีสุดในอีสาน ซ่ึง
ชาวภาคกลาง มกั จะเรียกชนกลุ่มน้ีวา่ “ลาว” เพราะวา่ มีภาษาพดู เป็นภาษาเดียวกบั คนลาวใน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตวั อกั ษรที่ใชม้ ี 2 แบบ คือ อกั ษรไทยนอ้ ย และอกั ษรไทย
ธรรม ชาวไทย-ลาวรับวฒั นธรรมลุ่มน้าโขง อาจจะกล่าวไดว้ า่ เป็นกลุ่มผนู้ าทางวฒั นธรรมอีสาน ภูมิ
ปัญญาสังคม เช่น ฮีตคอง ตานานอกั ษรศาสตร์ จารีตประเพณีและเป็นผสู้ ืบทอดและถ่ายทอดให้
ชาวบา้ นกลุ่มอ่ืน ๆ ดว้ ย
ผไู้ ท (ภูไท)
เป็นกลุ่มชาติพนั ธุท์ ่ีใหญ่ที่สุดรองลงมาจากกลุ่มไทลาว ส่วนใหญ่อาศยั อยใู่ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
โดยมีแม่น้าโขงแยกกลุ่มน้ีออกจากภูไทในภาคเหนือของลาว และญวน กลุ่มภูไทกลุ่มใหญ่ที่สุด
อาจจะอยแู่ ถบลุ่มน้าโขง และแถบเทือกเขาภูพาน ชาวภูไทมีลกั ษณะความเป็นอยแู่ บบครอบครัว
ใหญ่ในบา้ นเดียวกนั เป็นกลุ่มคนทางานที่มีความขยนั ขนั แขง็ มธั ยสั ถ์ ทางานไดห้ ลายอาชีพเช่น
ทานา ทาไร่ คา้ ววั คา้ ควาย นากองเกวยี นบรรทุกสินคา้ ไปขายตา่ งถิ่นเรียกวา่ 'นายฮอ้ ย'
ชาวไทดา
จงั หวดั เลย นบั เป็นเมืองเกา่ ท่ีมคี วามเป็นมาสบื สานวฒั นธรรมรักษา ภมู ิปัญญา และมีกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ
นอกจากชาวไทยเลย แล้วยงั มีชนชาตพิ นั ธ์ตุ า่ งๆ อาศยั อยู่ ท่ีสาคญั คือ กลมุ่ ชนเชือ้ สายไทดา เป็นชน
กลมุ่ หนง่ึ ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์ใกล้ชิดกบั คนพืน้ เมอื งเลย โดยตงั้ ถิ่นฐานอยปู่ ะปนกนั อย่ใู นเขตอาเภอ
เชียงคาน จงั หวดั เลยนานมาแล้ว สาหรับความเป็นมาของหมบู่ ้านไทดา นบั ตงั้ แตส่ มัยท่ีมีการแยง่ ชิง
ดนิ แดนแคว้นตา่ งๆ ทางตอนเหนือของประเทศลาว ซงึ่ เรียกวา่ แคว้น 12 จไุ ทย ชาวไทดา อพยพมา
จากแคว้นพวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในปัจจบุ นั เข้ามาในประเทศไทย ในปี พ.ศ.
2417
เโแขดลมยะรทชถาวั่ ่ินวไเไปขทชมยารวเใปเนข็นกมชมัรื่อถพท่ินชู าไางวทวา่ ยชิ "เารคกียแากมรตไรวั์ด-เกกอ้ รางอหวมา่น""ดคแขแป้ึนมลรเวพ์"า่ ือ่หเขเรรมืีอยรก"ตผค่าทู้แแี่พมลรดู ะ์-ภลเราือียษ"กาแคเขปนมลไรวทซา่ ย่ึงเวอขา่ าม"ศรซยัสีมอูง"ยเใู่ซรนี่ยึงปกตภรระงากษเทบัาศเคขไามทรย
วา่ "สยาม" ในภาษาไทย เม่ือพิจารณาเขตการปกครอง นกั ภาษาศาสตร์ไดแ้ บ่งภาษาเขมรเป็น 3 กลุ่ม
คือ
ภาษาเขมรเหนือ หรือ เขมรสูง (เขมรถ่ินไทย)
ภาษาเขมรกลาง เป็นภาษาของผทู้ ี่อยใู่ น กมั พชู า
ภาษาเขมรใต้ เป็นภาษาของคนเวียดนามเช้ือสายเขมร
14
ไทญ้อ (ย้อ – เงีย้ ว)
กลุ่มชาติพนั ธุ์ ย้อ ไทย้อ ญ้อ เป็นประชากรกลุ่มใหญ่กลุ่มหน่ึงในจงั หวดั สกลนคร และนครพนม
มีภาษาพูดเหมือนภาษาไทยลาว ต่างสาเนียงเลก็ นอ้ ย คือ น้าเสียงสูงอ่อน หวาน ไม่หว้ นส้ัน
เหมือนไทยลาว มีผวิ ขาว บา้ นเรือนสะอาดตา เช่นเดียวกบั ชาวผไู้ ทย ชำวย้อ ถือวา่ กลุ่มตนเป็น
กลุ่มที่มีวฒั นธรรมแขง็ กวา่ ไทยลาว ถิ่นฐานเดิมของไทยญอ้ อยทู่ ี่เมืองหงสา แขวงไชยบุรี ของ
ประเทศลาว หรือจงั หวดั ลา้ นชา้ งของไทยสมยั หน่ึง
ไทยญ้อส่วนใหญ่ไดอ้ พยพ มาต้งั ถิ่นฐานใหม่ท่ี ไชยบุรี ปากน้าสงคราม ริมฝ่ังแม่น้าโขง (ตำบล
ไชยบรุ ี อำเภอท่ำอุเทน จังหวดั นครพนมในปัจจุบนั ) ในสมยั รัชกาลท่ี 1 เม่ือ พ.ศ. 2351 ต่อมา
เม่ือเกิดกบฎเจา้ อนุวงศเ์ วยี งจนั ทนใ์ นสมยั รัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2369) พวกไทยญอ้ ที่เมืองไชยบุรีได้
ถูกกองทพั เจา้ อนุวงศก์ วาดตอ้ นไป
15
ไทโส้ (กะโซ่)
กลุ่มชำวไทโส้ บางทอ้ งที่กเ็ รียกวา่ พวก "โซ่" แต่ในพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตสถาน
เขียนวา่ "กะโซ่" ซ่ึงยงั มีผเู้ ขา้ ใจผดิ คิดวา่ เป็นพวกเดียวกบั ลาวโซ่งในจงั หวดั เพชบุรี
นครปฐม และสุพรรณบุรี สาหรับลาวโซ่งคือพวกไทดา ท่ีอพยพมาจากแควน้ สิบสองจุ
ไท ในสมยั กรุงธนบุรี ส่วน "ข่ำโซ่" ซ่ึงถือวา่ เป็นขา่ พวกหน่ึง อยใู่ นตระกลู มอญ
เขมร กะโซ่ตามลกั ษณะและชาติพนั ธุถ์ ือวา่ อยใู่ นกล่มุ มองโกลอยด์ กะโซ่มีภาษาและ
ขนมธรรมเนียมประเพณี แตกต่างไปจากพวกข่าทวั่ ไป แต่ภาษาของกะโซ่กย็ งั ถือวา่ อยู่
ในตระกลู "ออสโตรอำเซียตคิ " สาขามอญเขมร หรือกะตู [Katuic] ซ่ึงสถาบนั วจิ ยั
ภาษาฯ ของมหาวิทยาลยั มหิดลไดร้ วบรวมไวใ้ นภาษาตระกลู ไทย
16
ไทข่ำ (บรู)
ชำวข่ำ (บรู) เป็นกลุ่มชาติพนั ธห์ น่ึงในจงั หวดั มุกดาหาร ชาวข่ามีถ่ินกาเนิดอยใู่ นแขวงสุวรณเขต
แขวงสาละวนั และแขวงอตั ปื อของลาว ซ่ึงเม่ือร้อยปี ก่อน (ก่อน พ.ศ. 2436) ยงั เป็นดินแดนของ
ราชอาณาจกั รไทย ชาวข่าอพยพมาอยใู่ นทอ้ งท่ีจงั หวดั มุกดาหาร ในสมยั รัชกาลที่ 3 เป็น
ส่วนมาก นกั มานุษยวทิ ยาถือวา่ ชาวข่าเป็นชนเผา่ ด้งั เดิมเผา่ หน่ึงในแถบลุ่มแม่น้าโขง ซ่ึงอาจจะ
สิบเช้ือสายมาจากขอมโบราณ ซ่ึงเคยอยใู่ นดินแดนของอาณาจกั รเจนละ ซ่ึงต่อมาเป็นอาณาจกั ร
ขอม และอาณาจกั รศรีโคตรบูรณ์ ซ่ึงขอมเคยมีอิทธิพลครอบคลุมข้ึนมาถึงแลว้ เสื่อมอานาจลง
ซ่ึงพวกข่าอยใู่ นตระกลู เดียวกบั ขอมและมอญเขมร ภำษำข่ำ เป็นภาษาในกระกลู เดียวกบั ขอม
และมอญเขมร ภาษาข่าเป็นภาษาในตระกลู ออสโตรอาเซียติค สาขามอญ เขมร ชาวข่ายงั แบ่ง
แยกกนั อีกเป็นหลายเผา่ พนั ธ์ เช่น ข่ายา่ เหิน ข่าบริเวณ ข่าสุ ข่าตะโอด ข่าสอก ข่าสปวน ฯลฯ
เป็ นตน้
17
บรรณำธิกำร
1.นางสาว ณฐั ณิดา อยเู่ ยน็ ม.4/3 เลขที่5 ทาพาเวอร์พอ้ ยท์
2.นางสาว กชกร ฤทธ์ิศรีบุญ ม.4/3 เลขท่ี6 หาขอ้ มูล
3.นางสาว กนกวลยั ราชป้องกนั ม.4/3 เลขท่ี7 ทาอีบุค๊
4.นางสาว ธญั ชนก บุญเสนอ ม.4/3 เลขท่ี8 หาขอ้ มูล
5.นาย อนุวฒั น์ ใจวฒุ ิ ม.4/3 เลขที่18 หารูปภาพ
6.นางสาว ณฐั ชา ทรงศริ ิ ม.4/3 เลขท่ี30 หาขอ้ มูล
18
บรรณำนุกรม
กิตติธชั ประชากลุ . วฒั นธรรมภำคอสี ำน. สืบคน้ 1 พฤศจิกายน 2563,
จากhttps://sites.google.com/site/wathnthrrm4phak
นุชบา จิตรกญั ญา. ภูมปิ ัญญำด้ำนอำหำร. สืบคน 23 ตุลาคม 2563,
จากhttps://sites.google.com/site/xaharpracachatithiy/xahar-phun-ban-xisan
เพชรกฤษณา บุญมาตย์ ภูมิปัญญาดา้ นประเพณี สืบคน้ 31 ตุลาคม 2563,
จาก https://sites.google.com/site/praphenikhxngphakhxisan/
ศิริรัตน์ อ้งั ดา ภูมิปัญญาดา้ นการแต่งกายภาคอีสาน สืบคน้ 1 พฤศจิกายน 2563,
จาก https://sites.google.com/site/isanthailand/kar-ete-ngkay-phakh-xisan
สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั มุกดาหาร (2556). ภูมิปัญญาดา้ นความเชื่อและพธิ ีกรรมสืบคน้ 1
พฤศจิกายน 2563,
จาก https://www.m-culture.go.th/mukdahan/ewt_news.php?nid=145&filename=index
ศูนยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น(2562). กลุ่มชาติพนั ธุใ์ นภาคอีสาน สืบคน 3
พฤศจิกายน 2563, จาก https://cac.kku.ac.th/?page_id=84
แกลว้ กลา้ ชานาญ ฉลาด(2563).สืบคน้ 3 พฤศจิกายน 2563,
จาก https://www.isangate.com/new/11-paothai/145-paothai-kha.html
19