The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานนำเสนอ การศึกษาวิชาสังคมศาสตร์ ภาพประกอบ สีชมพูและสีครีม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunnida nokantha, 2021-02-01 04:26:24

เรื่อง แร่

งานนำเสนอ การศึกษาวิชาสังคมศาสตร์ ภาพประกอบ สีชมพูและสีครีม

แ ร่

จั ด ทาํ โ ด ย

น า ง ส า ว กุ ล นิ ด า ห น่ อ กั น ท า เ ล ข ที 1 2 ม . 4 / 1

คํานํา

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร รหัส ว22102 นี้ เป็นเอกสาร
ทม่ี ุง เน นใหนักเรยี นมคี วามรคู วามเขา ใจ เร่อื ง ชนิด และแหลง ทีพ่ บแร
เน้ือหาในเอกสารประกอบการสอนไดแ บง ออก 5 หวั เร่อื ง คือ แร แรป ระกอบ
หนิ แรโลหะ แรอ โลหะ แหลงที่พบแร แนวคดิ ตา งๆทเ่ี สนอไวสามารถนําไป
พฒั นาความรูท ่ีตวั เองมอี ยูใหเ พม่ิ พนู ข้ึนไป ผูเรียนรายวิชานี้ควรศึกษาราย
ละเอียดของชนิด และแหลง ทพ่ี บแร ผูเ ขยี นหวังวา เอกสารประกอบการ
เรียนนี้คงอาํ นวยประโยชนตอ การศกึ ษา และคนควาตอ ไป หากทานทน่ี ําไป
ใชม ีขอเสนอแนะประการใด ผูเขียนขอน อมรบั คําติชม และขอขอบคณุ
อาจารย อจั ฉรา ผองกาย ท่ชี วยใหค าํ ชแี้ นะ แนะนําการทํางาน ณ โอกาสนี้
ดว ย

สารบญั

เรอง หน้า
-แร่ 4
-การแบ่งประเภทของทรัพยากรแร่ 5
-สนิ แร่ 7
-แร่โลหะ 8
-แร่อโลหะ 9
-แร่เชอื เพลิง 10
-แร่รัตนชาติ 11
-กรวด ทราย ดนิ 12
-ประโยชน์ 13

แร่ หมายถงึ

หมายถึง ธาตแุ ละสารประกอบทีเกิดขนึ เองตามธรรมชาติบนพนื โลก บนอากาศ หนิ
ดิน นา แรส่ ว่ นมาก จะพบในลักษณะเปนสารอนนิ ทรียเ์ คมี แรท่ ีพบในลักษณะ
ของเหลวมีเพียง 3 แร่ คือ ปรอท โปรมีน นา แรท่ ีมี สารประกอบอินทรยี ์เคมีหรือ
เกิดจากการเปลียนแปลงสะสมตัวของสิงทีมีชวี ิตมีอยู่ 2 แรค่ ือ ปโตรเลียมและ
ถ่านหิน แรท่ ีพบในลักษณะธาตแุ ท้ ๆ เชน่ ทองคํา ทองคําขาว เงิน แรท่ ีพบในสภาพ
ก๊าซก็พบทังทีสะสมตัวอยูใ่ ต้โลก ในบรรยากาศทีหมุ้ หอ่ โลกโดยทัว ๆ ไป แรท่ ีพบ
โดยทัวไปจะมคี ณุ สมบตั ิเปนสารประกอบ โดยมีออกซิเจน กํามะถัน ซลิ ิกอน
ประกอบอยูด่ ้วยเสมอ

การแบง ประเภทของทรพั ยากรแร

แร่ คือ สารอนนิ ทรยี ท์ ีเกิดขนึ เองตามธรรมชาติ อาจจะเปนธาตแุ ท้หรอื
สารประกอบของธาตตุ ังแต่ 2 ชนดิ ขนึ ไป แรจ่ ึงมอี งค์ประกอบทางเคมคี งที และมี
คณุ สมบตั ิทางฟสกิ สเ์ ฉพาะตัว เชน่ มลี ักษณะรูปรา่ ง สี ความวาว ความแขง็ รอย
แยก และผวิ แตก เปนต้น แรใ่ นโลกนเี ท่าทีพบแล้วมมี ากกว่า 2,000 ชนดิ แบง่ ออก
เปน กล่มุ ต่าง ๆ ตามองค์ประกอบทางเคมไี ด้ดังนี
1. แรธ่ าตธุ รรมชาติ เชน่ ทอง เงิน กํามะถัน เพชร
2. แรซ่ ลั ไฟด์ เชน่ ตะกัว พลวง โมลิบดินมั
3. แรอ่ อกไซด์ เชน่ ดีบุก เหล็ก แมงกานสี พลอย ทับทิม
4. แรค่ ารบ์ อเนต เชน่ สงั กะสี ทองแดง แคลไซด์
5. แรซ่ ลั เฟต เชน่ แบไรท์ ยบิ ซมั
6. แรฟ่ อสเฟส เชน่ อปาไทท์
7. แรซ่ ลิ ิเกต เชน่ ควอทซ์ โกเมน มรกต หยก ดินขาว
8. แรท่ ังสเตน เชน่ ซไี ลท์ วุลแฟรมไมท์
9. แรเ่ ซไลด์ เชน่ ฟลอู อไรด์ หนิ เกลือ

แบง ออกไดเปน 2 ประเภทใหญ

1. แรป่ ระกอบหนิ หมายถึง แรต่ ่างๆ ทีเปนสว่ นประกอบสาํ คัญของหนิ และใชเ้ ปนหลักในการ
จําแนกชนดิ ของหนิ ด้วย แรป่ ระกอบหนิ ทีสาํ คัญได้แก่ ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ โอลิวีน ไมก้า
แอมฟโบล ไพรอกซนี และแคลไซต์

2. แรเ่ ศรษฐกิจหมายถึง แรท่ ีมคี ณุ ค่าทางเศรษฐกิจหรอื สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
อุตสาหกรรมต่างๆ แบง่ ยอ่ ยออกเปน 2 ประเภท2.1 แรโ่ ลหะ2.2 แรอ่ โลหะหรอื แรอ่ ุตสาหกรรม

สินแร

สนิ แร่ หมายถึงหนิ หรอื แรป่ ระกอบหนิ ทีมแี รเ่ ศรษฐกิจปนอยู่
ในปรมิ าณทีมากพอทีจะทําเหมอื งได้โดยค้มุ ค่าการลงทนุ
สนิ แร่ แบง่ ออกตามลักษณะการนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ได้แก่
1. แรโ่ ลหะ
2. แรอ่ โลหะ
3. แรเ่ ชอื เพลิง
4. แรร่ ตั นชาติ
5. กรวด หนิ ดิน ทราย

แรโ ลหะ

แรโ่ ลหะ คือแรท่ ีธาตโุ ลหะเปนสว่ นประกอบสําคัญ สามารถนาํ ไปถลงุ หรือแยกเอาโลหะในแรม่ า
ใชป้ ระโยชน์ เชน่ แรท่ องคํา ดีบุก สังกะสี เหล็ก เงิน ตะกัว ฯลฯ

แรอ โลหะ

แรอ่ โลหะ คือแรท่ ีไมม่ ธี าตโุ ลหะเปนสว่ นประกอบสาํ คัญ สว่ นมากนําไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้โดยตรง
หรอื มกี ารปรบั ปรุงคณุ ภาพเล็กนอ้ ย เชน่ ควอตซ์ ยิปซัม แคลไซต์ โดโลไมต์ แบไรต์ เฟลด์สปาร์
ฯลฯ

แรเชือ้ เพลิง

แรเ่ ชอื เพลิง คือวัสดทุ ีมกี ําเนดิ มาจากการทับถมตัวของพวกพชื สตั ว์ และอินทรียสารอืนๆ จน
สลายตัวและเกิดปฏิกิรยิ ากลายเปนเชอื เพลิงธรรมชาติ นิยมจัดเปนแรโ่ ดยอนุโลม ได้แก่ ถ่านหิน
หนิ นามนั นามนั ดิบ และก๊าซธรรมชาติ

แรร ัตนชาติ

.แรร่ ตั นชาติ คือแรห่ รอื หนิ ทีมีคณุ ค่า ความสวยงามหรือเมอื นาํ มาเจียระไน ตัดฝนหรอื ขัดมัน
แล้วสวยงาม เพอื นาํ มาใชเ้ ปนเครอื ง ประดับได้โดยต้องมคี ณุ สมบัติทีสําคัญอยู่ ๓ ประการคือ
สวยงาม ทนทาน และหายาก โดยทัวไปสามารถจําแนกออกเปน ๒ กลุ่มใหญๆ่ ได้แก่ เพชร และ
พลอย

กรวด หนิ ดนิ

กรวด หนิ ดิน ทรายเกิดจากการผพุ งั ของหนิ เดิม อาจเปนหนิ อัคนี หินตะกอนหรอื หินแปร และ
ประกอบด้วยแรช่ นดิ หนงึ หรอื หลายชนดิ มกั นํามาใช้ประโยชน์ในลักษณะทีเปนวัสดุก่อสรา้ ง

คณุ สมบตั ทิ างกายภาพ

รูปผลึกเปนรูปรา่ งภายนอกของแรช่ นดิ ต่างๆ ทีมองเหน็ ได้ มกั จะเกิดเปนผลึกและมกี ารเติบโตขยายออก
เปนรูปรา่ งเหน็ เด่นชดั เฉพาะตัว เชน่ การเ์ นตพบเปนลักษณะรูปแบบกลมคล้ายลกู ตะกรอ้ สปเนลพบใน
ลักษณะแบบแปดหนา้ รูปปรามดิ ควอตซพ์ บในลักษณะแบบหกเหลียม
-สแี รแ่ ต่ละชนดิ อาจมสี เี ดียวหรอื หลายสขี นึ อยูก่ ับชนดิ แรแ่ ละปรมิ าณมลทิน ทําใหใ้ ชส้ เี ปนตัวบง่ บอกชนดิ
ได้ แต่ต้องพจิ ารณาคณุ สมบตั ิอืนๆ ประกอบ เชน่ แรฟ่ ลอู อไรต์ อาจมสี มี ว่ ง สเี ขยี ว
-สผี งละเอียดสผี งละเอียดของแรม่ กั จะต่างกับสขี องตัวแรเ่ อง สามารถทดสอบได้โดยนาํ แรไ่ ปขูดหรอื ขดี
บนแผน่ กระเบอื งทีไมเ่ คลือบ หรอื แผน่ ขูดสี
-รอยแตกรอยแตกของแรท่ ีไมม่ ที ิศทางแนน่ อนและผวิ รอยแตกไมเ่ ปนระนาบเรยี บ แต่มลี ักษณะแตกต่าง
กัน
-ความวาวเปนลักษณะทีสามารถพบได้บนผวิ แรเ่ นอื งจากการตกกระทบและเกิดการสะท้อนของแสง
-ความแขง็ เปนความทนทานของแรต่ ่อการขูดขดี สามารถจําแนกได้ตามลําดับความแขง็ มาตรฐาน เรยี กว่า
สเกลความแขง็ ของโมห์
-การเรอื งแสงเปนคณุ สมบตั ิของแรบ่ างชนดิ ทีมกี ารเรอื งแสงเมอื อยูภ่ ายใต้แสงอัลตราไวโอเลตหรอื รงั สี
แคโทดจะเรอื งแสง เรยี กว่า ฟลอู อเรสเซนซ์

วดิ ีโอเสรมิ บทเรียน

-การตรวจดูปฏิกิริยากับกรดตรวจดกู ารทําปฏิกิรยิ าระหว่างกรดเกลือหรอื กรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับแรท่ ีมีคาร์บอเนต
เปนสว่ นประกอบ โดยจะเกิดเปนฟองฟู เชน่ แรแ่ คลไซต์ นอกจากตรวจดูแรแ่ ล้วยังใชก้ รดตรวจสอบชนิดหินด้วย เชน่
หินปูน
-การตรวจดูการละลายในกรดใช้ตรวจดกู ารละลาย สีของสารละลาย และผลของการละลายด้วย ซึงทําให้รูว้ ่าเปนแร่
ชนิดใด เชน่ พวกเหล็กสว่ นมากจะใหส้ ารละลายสเี หลืองหรอื เหลืองนาตาล พวกทองแดงจะใหส้ ฟี าหรอื สีเขียว โดยใช้
ตัวทําลายของกรดเข้มขน้ ต่างๆ ได้แก่ กรดเกลือ กรดดินประสวิ กรดกํามะถัน เปนต้น
-การตรวจด้วยเปลวไฟใชเ้ ปลวไฟมกี ําลังรอ้ นแรงประมาณ ๑๒๐ – ๑,๕๐๐ องศาเซลเซียส ในการพน่ สูเ่ ศษชนิ แรห่ รอื
ผงแร่ ซึงแรจ่ ะแสดงการเพมิ และลดสีของเปลวไฟทีแตกต่างกัน ขนึ อยูก่ ับสว่ น ประกอบทางเคมีของแร่
-การตรวจดูเปลวไฟแร่ เมือเผาไฟจะแสดงสขี องเปลวไฟทีแตกต่างกัน ขนึ อยูก่ ับสว่ นประกอบทางเคมขี องแรช่ นดิ นันๆ
เชน่ แรโ่ ปแตสเซียมให้เปลวไฟสมี ว่ ง

ประโยชนข องแร

1.ทองคํา (Gold)ทองคํามีความสําคญั ตอ ประเทศในหลากหลายมิติ เพราะเปนทง้ั หลักประกนั ในทุนสํารองของ
ธนาคารแหง ประเทศไทย และยังผูกพันกบั วิถีชวี ติ และวัฒนธรรมประเพณใี นรปู ทรัพยส ินและเครอื่ งประดบั คนไทย
ใช ทองคําในงานพุทธศลิ ปแ ละพิธีมงคลตาง ๆ นอกจากน้ัน ยังใชใ นอตุ สาหกรรมไฮเทคโนโลยี เชน คอมพวิ เตอร
โทรศัพทม อื ถอื เปนตน ประเทศไทยพบแหลงแรทองคําในหลายจงั หวดั
2.ถา นหิน (Coal)ถา นหนิ เกดิ จากการสะสมตัวของซากพืชในแอง น้ําเปนเวลาหลายปเ ปนแหลงเชื้อเพลงิ ชนิดหนึ่งท่ี
การไฟฟาฝา ยผลติ แหงประเทศไทยใชในโรงผลติ ไฟฟาเพ่อื ปอนภาคอตุ สาหกรรมและครัวเรอื น รวมถงึ ใชเ ปน เชื้อ
เพลิงในกระบวนการผลติ ที่จําเปนตองใชค วามรอ นของอุตสาหกรรมตาง ๆ เชน การผลิตซีเมนต อตุ สาหกรรม
เหล็ก เปน ตน
3.หินอตุ สาหกรรม (Industrial Rock)หินอตุ สาหกรรม เชน หนิ ปนู หินแกรนิต หินบะซอลต พบไดท่วั ไปทุกภาค
ของประเทศและเปน วตั ถดุ ิบทส่ี าํ คญั อยา งย่งิ ในการสรา งบาน พัฒนาเมอื ง สิง่ ปลูกสรางสําคญั ลวนตอ งใชหิน
อตุ สาหกรรมในการขึน้ รปู กอราง ย่งิ ประชากรและเมืองขยายตัวมากเทา ใด หนิ อุตสาหกรรมก็ย่ิงเปน ที่ตองการ
โดยเฉพาะการรวมกลุม ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนทีก่ อ ใหเ กดิ การขยายตวั ของระบบการขนสง และโครงการ
สาธารณูปโภคตาง ๆ ทําใหหินอตุ สาหกรรมเปน ทต่ี องการมากขึ้น

ประโยชนของแร

4.โดโลไมต (Dolomite)โดโลไมตพบไดท ้งั ในภาคเหนอื ภาคใต และภาคตะวนั ตก โดยใชเ ปน วตั ถุดบิ ในการผลติ
อตุ สาหกรรมแกวและกระจก อตุ สาหกรรมถลงุ เหลก็ อุตสาหกรรมเซรามกิ และยงั มปี ระโยชนต อภาคเกษตรกรรม
ในการใชป รบั สภาพความเปน กรดดางและเพิ่มแรธาตใุ นดนิ รวมทง้ั ยงั มสี วนชว ยในการพืน้ ฟสู ภาพแวดลอมโดยใช
ในการปรบั สภาพนํ้า
5.เฟลดสปาร (Feldspar)เฟลดสปารหรือแรฟ น มาที่ใชในภาคอุตสาหกรรม ไดแก โพแทสเซยี มเฟลดสปาร และ
โซเดยี มเฟลดสปาร พบไดใ นจงั หวดั ตาก นครศรีธรรมราช ราชบุรี กาญจนบรุ ี อทุ ัยธานี แมฮ อ งสอน และเชยี งใหม
ใชในอตุ สาหกรรมเซรามิก เคร่อื งปนดนิ เผา กระเบื้องปูพืน้ เครือ่ งเคลอื บ อตุ สาหกรรมแกว อตุ สาหกรรมพลาสติก
อตุ สาหกรรมลวดเชื่อมไฟฟา เปนตน
6.ทรายแกว (Glass Sand)ทรายแกวเปนทรายทสี่ ะอาด นํามาใชในงานอยา งกวางขวาง ปจ จบุ ันหายากมากข้ึน มี
ความบริสทุ ธิข์ องซิลิกาสงู มีเหลก็ และสารมลทนิ อ่ืน ๆ เจือปนอยเู พียงเลก็ นอย พบมากบริเวณ ชายหาด ชายทะเล
ท่ัวไป ทงั้ ในบรเิ วณภาคตะวันออก เชน จังหวดั ระยอง จนั ทบุรี ตราด และภาคใต เชน นครศรีธรรมราช สงขลา
ชุมพร ตรงั ปตตานี และกระบี่ ใชเ ปนวัตถดุ ิบท่ีสาํ คญั ในอุตสาหกรรมแกวและกระจก อตุ สาหกรรมเซรามิก ใชท ํา
เปนแบบหลอเหล็กในอตุ สาหกรรมเหล็กหลอและใชเปน ผงขัดสนิมเหล็ก

ประโยชนของแร

7.เกลอื หินและโพแทช (Rock Salt and Potash)แรก ลมุ นเี้ กดิ จากการระเหยของนํา้ ทะเลซึ่งมีสารละลายโพแทช
และโซเดียมในแองปด แหลงแรเ กลือหินและโพแทชของไทยไดช อ่ื วา เปนแหลงทสี่ าํ คญั แหลง หน่งึ ของโลก พบไดใ น
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เกลอื หิน (NaCl) หรือเกลอื แกง นอกจากใชใ นการบรโิ ภคแลว ยงั ใชในหลากหลาย
อุตสาหกรรมโดยเฉพาะเคมีภัณฑในการผลติ โซดาไฟและคลอรนี ซึง่ เปนวัตถุดบิ ในอตุ สาหกรรมอืน่ ๆ จํานวน
มาก สวนโพแทช (K) เปนหนึ่งในธาตหุ ลักของปยุ เคมี และยังใชใ นอตุ สาหกรรมเคมภี ัณฑบางชนิดดว ย
8.ยปิ ซัม (Gypsum)ยิปซมั หรือเกลอื จืดเปน แรอ โลหะทมี่ ีความเปราะมาก ลักษณะวาวคลายแกว หรอื มุก ใสไมมสี หี
รอื สเี ทา ภาคอตุ สาหกรรมนํามาใชเปน สวนผสมของปนู ซีเมนต ทําปูนปลาสเตอร และยปิ ซมั บอรด เพ่อื ใชกัน
ความรอน นอกจากนัน้ ยงั นําไปประยุกตใชเ พ่ือปรับสภาพดินเคม็ และนําไปใชเ ปน สวนประกอบในผลิตภัณฑต า ง
ๆ เชน ชอลก กระดาษ ดินสอ เปน ตน
9.สังกะสี (Zinc)ดวยคณุ สมบตั ิในการเปน โลหะท่ีมคี วามแขง็ แรงทนตอ การผกุ รอ น สังกะสีจงึ นําไปใชใ นหลาย
อตุ สาหกรรม โดยเฉพาะใชใ นการเคลือบชบุ เหล็กเพอื่ เพมิ่ ความคงทน ใชในอตุ สาหกรรมยานยนต อตุ สาหกรรม
กอ สรา ง และหลอ เปน ช้ินงานผลติ ภณั ฑท่ตี อ งการความแมนยาํ ในการคงขนาด เชน คารบเู รเตอร บานพบั ประตู
เปน ตน และยงั ใชในอตุ สาหกรรมโลหะสงั กะสีผสม (Zinc Alloy) เพอ่ื เพม่ิ ความแขง็ แกรง ใหโ ลหะชนิดตาง ๆ

ประโยชนของแร

10.ดบี กุ (Tin)มีความสาํ คัญตอประเทศไทยในอดตี โดยเฉพาะภาคใต แรดีบกุ ที่ไดจ ากการถลุงเปน โลหะดีบุกจะนาํ
ไปใชเ คลือบโลหะทําภาชนะบรรจอุ าหาร ผสมกับตะกั่วทําตะกัว่ บัดกรี ผสมกบั ทองแดงเปนทองสัมฤทธ์ิเพอื่ ทําช้ิน
สวนเครือ่ งจกั รกล พระเคร่อื ง ผสมกบั ทองแดงและพลวงทาํ พวิ เตอร ผสมกบั สังกะสีและพลวงใชชุบสงั กะสีมุง
หลงั คา ผสมกบั เงนิ และปรอททาํ เปน สารอดุ ฟนทางทันตกรรม และใชในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ เชน อุตสาหกรรม
เคร่อื งปน ดินเผา เครือ่ งเคลอื บ พลาสตกิ สีทาบาน เปนตน


Click to View FlipBook Version