The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
โครงการอบรมเชิ งปฏิบัติการเพื่อพัฒนาครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
ระยะการเข้าสู่วิชาชีพ รุ่นที่ 5 บรรจุปี 2563 เครือข่ายภาคใต้ตอนบน
นางสาวธาวินี กำจรฤทธิ์ รร.วัดห้วยพระ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ระยะการเข้าสู่วิชาชีพ รุ่นที่ 5 บรรจุปี 2563 เครือข่ายภาคใต้ตอนบน

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
โครงการอบรมเชิ งปฏิบัติการเพื่อพัฒนาครูในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
ระยะการเข้าสู่วิชาชีพ รุ่นที่ 5 บรรจุปี 2563 เครือข่ายภาคใต้ตอนบน
นางสาวธาวินี กำจรฤทธิ์ รร.วัดห้วยพระ

การจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ในชุมชน

โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเพ่ือพฒั นาครูในโครงการผลิตครเู พอื่ พัฒนาท้องถ่ิน

ระยะการเขา้ ส่วู ชิ าชพี รุ่นท่ี 5 บรรจปุ ี 2563 เครือขา่ ยภาคใตต้ อนบน

ชื่อ – สกุล ......... นางสาวธาวนิ ี กาจรฤทธ์.ิ .......................................................................................
สาขาวชิ าชีพท่ีสาเร็จการศกึ ษา ............การศึกษาบณั ฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาประถมศกึ ษา.....................
ช่ือสถานที่ปฏิบตั งิ าน ............. โรงเรยี นวดั ห้วยพระ สพป.นศ.1 นครศรีธรรมราช...................................
ทอ่ี ยู่ของสถานศึกษาทป่ี ฏิบัตงิ าน ....... โรงเรยี นวดั ห้วยพระ หมู่ที่ 5 ต.นาพรุ อ. พระพรหม จ.นครศรธี รรมราช
ปฏบิ ัติการสอนในกล่มุ สาระวิชา .......... ทกุ กลุ่มสาระ................................................................................
ระดบั ชัน้ ที่สอน .........ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 และ 6...............................................................................

1. แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
1.1 ประวตั ิความเป็นมา
ท้องทีอ่ าเภอพระพรหมเดมิ เป็นสว่ นหนงึ่ ของอาเภอเมืองนครศรธี รรมราช กระทรวงมหาดไทยได้
ประกาศเมือ่ ปี พ.ศ. 2537 แบ่งพื้นท่ีการปกครองออกมาตั้งเป็น กง่ิ อาเภอพระพรหม และต่อมาใน
พ.ศ. 2540 ไดม้ ีพระราชกฤษฎกี ายกฐานะขึ้นเป็น อาเภอพระพรหม
1.2 ลักษณะ สภาพสิง่ แวดลอ้ มและบริบททีเ่ กย่ี วข้อง
อาเภอแพระพรหมมีลักษณะเป็นท่ีลุ่ม ทุ่งนา มีนา้ ขัง ในฤดูฝน ทางกายภาพของดิน มากกวา่ 50%
ของพ้ืนท่ีในตาบลนาพรุ เปน็ ลกั ษณะดนิ เหนียวอุ้มน้า มีน้าขงั ในฤดูฝน ทางกายภาพของป่าไม้ เป็นปา่
ไม้ผสม และป่าพรุ
1.3 การมีสว่ นร่วมของชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนในอาเภอ มีการจัดต้งั ศนู ย์การเรยี นรูฝ้ ึกอาชีพกับคนในชมุ ชนศนู ยเ์ รียนรูแ้ ละ
ขบั เคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บ้านท่าชา้ ง (เลยี บ) หมู่ท่ี 5 ตาบลช้างซา้ ย อาเภอ
พระพรหม จงั หวัดนครศรีธรรมราช ตัง้ อยูภ่ ายในบรเิ วณวัดเลียบ ประกอบด้วยตัวอาคาร และสื่อ

ความรใู้ นเรอ่ื งปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นแหลง่ รวบรวมองคค์ วามร้แู ละศึกษาเรยี นรขู้ องคน
ภายในชมุ ชนบ้านท่าช้าง (เลยี บ) ทม่ี อี ยูใ่ นพน้ื ที่ ซึ่งในพน้ื ทห่ี มบู่ า้ นทา่ ชา้ ง (เลยี บ)

1.4 จดุ เดน่

ศนู ย์การเรียนรู้และขบั เคลอ่ื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บ้านท่าช้าง (เลียบ) เปน็ ศนู ย์
การเรียนรู้ครบวงจรสาหรับคนในชมุ ชน ฝึกอาชพี และประสบการณก์ ารทาเกษตรร้แู บบใหมต่ ามปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สรา้ งงานสรา้ งอาชพี เป็นชมุ ชนท่ีเขม้ แขง็ ทง้ั นย้ี งั เปน็ สถานทีฝ่ ึกประสบการณท์ ักษะ
ชวี ิตใหแ้ กเ่ ด็กนกั เรยี นได้เข้ามาทัศนศกึ ษา

ศนู ยเ์ รียนรูแ้ ละขบั เคลอ่ื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บา้ นท่าช้าง (เลียบ) มีแหลง่ จุด
เรียนรู้จานวน 14 จดุ ประกอบดว้ ย

1.จดุ เรียนรกู้ ารทาปลาดุกรา้ และผักปลอดสารพิษ

2.จดุ เรียนรู้การทาเกษตรธาตุ 4

3.จดุ เรียนรู้การเลี้ยงหอยขม ปูนา ปลาซิว

4.จดุ เรยี นรกู้ ารเลยี้ งกบในบอ่ ซเี มนต์

5.จดุ เรยี นรกู้ ารเลย้ี งปลาและสตั วป์ ีก

6.จดุ เรียนรู้การตเี หล็ก

7.จุดเรยี นรู้การทาจักสานไม้ไผ่ จานวน 2 จุด

8.จดุ เรียนร้กู ารเล้ยี งปลาในบอ่ พลาสติก

9.จุดเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงระดับครัวเรอื น จานวน 2 จุด

10.จุดเรียนร้กู ารเพาะเหด็ นางฟา้

11.จุดเรยี นรู้การปลูกสละอนิ โด

12.จุดเรียนรู้การทาไมน้ วดเพอื่ สขุ ภาพ

ศนู ย์การเรยี นรู้และขบั เคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บา้ นทา่ ช้าง (เลยี บ)

จดุ เรียนร้กู ารทาปลาดุกร้า และผกั ปลอดสารพิษ
จดุ เรยี นร้กู ารเลยี้ งกบในบ่อซีเมนต์

จุดเรียนรูก้ ารเพาะเห็ดนางฟา้
จดุ เรยี นรู้การปลูกสละอนิ โด

3.การจดั การเรียนรู้ในแหล่งการเรยี นรู้ ท่าชา้ ง (เลยี บ)

3.1 ออกแบบการเรียนรู้
3.11 ชือ่ รายวิชา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้
วิชาการงานอาชีพ
3.12 ระดับชนั้
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6
3.13 กจิ กรรมการเรียนร/ู้ การจดั การเรยี นรู้
ครูสามารถจดั การเรียนการสอนโดยใช้แหล่งการเรยี นร้ใู นชุมชนมาประยกุ ตใ์ ช้กับรายวิชาที่
สอนอยู่ และประยุกต์ให้เข้ากบั โครงการประจาปีของโรงเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ทสี่ ามารถนามาใช้
กับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6 ได้รว่ มกันคือวชิ าการงานอาขีพ ตามตวั ชีวัดที่มีความ
สอดคล้องกันคอื ตวั ชว้ี ดั เรื่องการทาเกษตร จัดกจิ กรมการเรยี นรเู้ ชงิ ปฏบิ ตั โิ ดยจัดเป็นกจิ กรรม
ทศั นศึกษาแหลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชน ให้นักเรียนเรียนรแู้ ละปฏิบัติด้วยตนเอง ศกึ ษาหลกั การ วิธี และ
แนวทาง จากนั้นหลังกจิ กรรม ครผู ้สู อนสามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้จากการทศั นศึกษาในครั้งน้มี าจัดทา
โครงงาน เช่นโครงงานการเพาะเห็ดนางฟา้ ในปล่องปูนซเี มนท์ เป็นตน้

3.2ผลประโยชน์ทีส่ ถานศกึ ษาไดร้ ับ
ประโยชนท์ ี่สถานศึกษาจะไดร้ บั คอื ความรู้ทไี่ ด้จากการทัศนศึกษาแหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน นาความ

รทู ไ่ี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรมในคร้ังนี้มาปรับ ประยกุ ต์ใชก้ บั สถานศึกษา เช่น โครงการแปลงผกั เกษตร
ปลอดสารพษิ โครงการเพาะเหด็ นางฟา้ จากปล่องปูนซเี มนท์ เปน็ ตน้ นอกจากนน้ั ผลผลิตทไ่ี ดจ้ าก
โครงการกย็ งั สามารถส้รางรายได้ใหแ้ กน่ กั เรยี น ถ่ายทอดไปยังครอบครัว สู่ชมุ ชน ถอื เป็นการจัดการ
เรยี นรู้ท่ยี ง่ั ยนื ต่อไป

3.3ประโยชน์ที่ชมุ ชนจะได้รับ
ประโยชน์ท่ีชมุ ชนจะได้รับคอื การพฒั นาชุมชน พัฒนาคน พฒั นาอาชีพ ส่งเสรมิ การประกอบ

อาชีพท่มี น่ั คง มีทกั ษะในการประกอบอาชีพสามารถเลี้ยงชีพ เลีย้ งครอบนครวั ของตนได้

3.4อัตลกั ษณข์ องครู ทีส่ อดคลอ้ งกับการพัฒนาท้องถ่นิ
อตั ลักษณ์ความสารถท่ีครูจะเขา้ ไปเปน็ ส่นหนงึ่ ในการพฒั นาชมุ ชนของตน ด้วยความรู้

ความสามารถท่คี รมู ี เรยี นรู้ถ่ายทอดจากแหลง่ เรยี นรู้ในชุมชนสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้
สอดคลอ้ งกับบริบทของชุมชน โรงเรียน นักเรยี น และตวั ของครูเอง ก็ล้วนเป็นส่วนหน่ึงในการสรา้ ง

เสริมชุมชนให้แขง็ แรง ประชาสมั พันธ์กิจกรรมชมุ ชน เผยแพร่ข่าวสารความเปน็ อัตลักษณข์ องชมุ ชนสู่
ภายนอก จดั การเรยี นรู้ในหอ้ งเรียนเสมือนจริงเพอื่ เตรียมความพร้อมให้นักเรียนเปน็ สอ่ื กลางในการ
เชอ่ื มต่อความตอ่ ระหวา่ งความร้แู ละชมุ ชน


Click to View FlipBook Version