หน่วยท่ี 1
ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับการบญั ชี
ผงั การเรยี นรู้ ความหมายและวัตถุประสงค์ของการ
บญั ชี
ความรู ้ ประโยชน์ของข้อมลู ทางบัญชี
เบื้องตน้
เก่ยี วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของการบญั ชี
การบัญชี
หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องกบั การบญั ชี
รู ปแบบองค์กรธุ รกิจ
การเขียนตวั เลขตามหลกั บัญชี
ความหมายของการบญั ชี ( Definition of Accounting )
1. การจดบนั ทึกรายการค้า ( Recording ) รวมรวม จด
บันทกึ ในสมุดบนั ทกึ รายการ
2. การจําแนกหมวดหมู่ ( Classifying ) จดั ประเภท ตาม
หลักการบญั ชี ออกเป็นหมวดหมู่
3. การสรุปผล ( Summarizing ) การจัดทํางบการเงนิ ต่าง
ๆ
4. การตคี วามหมาย ( Interpreting ) ประกอบการ
ตดั สินใจของผทู้ ่ีเก่ียวข้อง
วตั ถุประสงค์ของการบญั ชี ( Purpose of Accounting )
1. เพื่อบนั ทกึ รายการค้าทเ่ี กดิ ข้ึน
2. เพื่อให้เจา้ ของกจิ การทราบฐานะการเงนิ ณ วนั ใดวนั หน่ึ ง
3. เพ่ือป้องกนั การทจุ รติ
4. เพื่อเป็นขอ้ มูลในการตัดสินใจของเจา้ ของกิจการ
5. เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการให้สินเชอื่
6. ขอ้ บังคับของกฏหมาย
7. ประกอบการคํานวณภาษีเงนิ ได้
ประโยชน์ ของข้อมูลทางบัญชี
ประโยชน์ ภายในกิจการ
1. ควบคุมดแู ลสินทรพั ย์ของกจิ การ
2. ทราบผลการดําเนิ นงาน
3. กําหนดนโยบายวางแผนการทาํ งาน
ประโยชน์ ภายนอกกิจการ
1. ตดั สินใจของนั กลงทนุ
2. การให้เครดิตจากสถาบันการเงนิ
3. คํานวณภาษีเงนิ ได้
4. นํ าเสนอตอ่ หน่ วยงานภาครฐั
ประวตั คิ วามเป็นมาของการบญั ชี
ระบบบญั ชคี ู่เกิดข้ึนในประเทศ อติ าลี โดย ลกู า ปาซโิ อลิ ( Luca Pacioli ) ในปี ค.
ศ. 1494 สําหรบั ในประเทศไทย เรม่ิ ตงั้ แต่สมัยกรุงศรอี ยธุ ยา (สมัยสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช) บัญชเี ล่มแรกท่จี ดั ทาํ คือ บญั ชเี งนิ สด หลังจากนั้นได้บรรจุรายวิชา
บัญชเี ป็นสาขา 1 ใน 8 อยา่ งของชนั้ ประโยค 2 ในสมยั รชั กาลท่ี 5 และไดจ้ ัดตงั้
โรงเรยี นพณิชยการข้นึ 2 แห่ง คือวัดสามพระยาและวัดเจ้าฟ้า โดยมกี ารใชส้ มดุ บัญชี 3
เลม่ ได้แก่ สมดุ บญั ชเี งนิ สด สมดุ รายวัน และสมดุ บัญชแี ยกประเภท ตอ่ มา ในวนั ท่ี
22 ตุลาคม 2481 ไดจ้ ดั ตัง้ คณพณิชยศาสตรแ์ ละการบัญชขี ้นึ ท่จี ุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยผทู้ ่เี ผยแพรค่ วามรูไ้ ดแ้ ก่ พระยาไชยยศ
สมบตั ิ และ หลวงดาํ รอิ ศิ รานวุ รรต
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพบญั ชี
● สภาวิชาชีพบญั ชี ( Federation of Accounting Professions ) จดั ตงั้ ข้นึ ตาม
พระราชบญั ญัตวิ ชิ าชพี บัญชี 2547 ทาํ หน้ าท่ีดแู ลเก่ียวกบั นั กบัญชี เชน่ การ
อบรม การกําหนดมาตรฐาน การรบั รองหลักสูตรการฝึก การออกใบ
ประกอบวชิ าชพี ฯลฯ
● กรมสรรพากร ( The Revenue Department ) เป็นส่วนราชการระดับกรม
สังกดั กระทรวงการคลงั จัดเกบ็ ภาษีจากฐานรายไดแ้ ละฐานการบรโิ ภค
● กรมพัฒนาธุรกจิ การค้า ( Department of Business Development ) อย่ใู น
สังกดั กระทรวงพาณิชย์ เป็นคลังขอ้ มลู ของธุรกจิ ดูแลรูปแบบของธุรกจิ
● หน่ายงานอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ กับสภาวิชาชพี ทงั้ ในและตา่ งประเทศ เชน่
ตลาดหลักทรพั ย์ กรมศุลกากร กรมสรรพสามติ ฯลฯ
กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกบั วิชาชีพบัญชี
● มาตรฐานการบญั ชี ( Accounting Standard ) คือ หลกั การบญั ชีและ
วิธกี ารปฏิบัตทิ างการบัญชีท่รี ับรองทัว่ ไป
● พระราชบญั ญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543
● พระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2547
รู ปแบบองค์กรธุ รกิจ
1. นิตบิ คุ คล 2. ไม่เป็นนิตบิ คุ คล
คือจดทะเบยี นตามกฎหมาย ได้แก่ คือไมต่ อ้ งจดทะเบยี นตามกฏหมาย
แต่อาจต้องจดทะเบยี นตาม
- ห้างหุ้นส่วนสามญั จดทะเบียนและ พระราชบญั ญตั ิทะเบียนพาณิชย์
ห้างหุ้นส่วนจาํ กัด ได้แก่
- บรษิ ัทจํากัดและ - กจิ การรา้ นค้าเจ้าของคนเดยี ว
บรษิ ัทมหาชนจํากดั - ห้างหุ้นส่วนสามญั
- องค์กรธุรกิจจดั ตงั้ หรอื จดทะเบยี น
ภายใตก้ ฎหมายเฉพาะ
การเขียนตวั เลขตามหลักบญั ชี
1. เขียนตัวเลขให้ชดั เจน อา่ นงา่ ย
2. ตัวเลขตงั้ แต่ 3 หลักข้นึ ไป ให้ใช้
เครอ่ื งหมาย จุลภาค ( , ) คัน่
3. ต้องเขียนเลขหลกั ให้ตรงกนั
4. เขียนตวั เลขให้ชดิ ขวา หากไม่มีเศษ
สตางค์ให้ใชเ้ ครอื่ งหมาย ( - )
5. เขยี นจํานวนเงนิ เป็นตวั อกั ษร
กํากับยอดรวมทกุ ครงั้
6. การแก้ไขตวั เลข ห้ามใชย้ างลบ
หรอื นายาลบคําผดิ แต่ให้ขดี ฆา่
และเขียนตัวเลขทถ่ี กู ตอ้ งพรอ้ มลง
ลายมือชอื่ กํากับ
เรว็ จงั … หน่วยท่ี 1 จบไปละ
เอาๆๆ ตอ่ หน่วย 2 เลยจ้า รอไร
บญั ชีไมย่ ากอย่างท่คี ิดเลย