1
วิ่ง วน เหวีย่ ง วาง ว่าง
2
พระพุทธเจา้ ทรงตรัส อยใู่ นสูตรหน่ึง พระองค์ ตรัส
ไวว้ า่ ลาภสักการะและชื่อเสียง เปรียบเสมือน ใบไม้ แลว้ ก็
กิ่งไม้ ใบไม้ ก่ิงไม้ มนั กไ็ ม่เท่ียง ลมพดั ลมเพ ไปตามลม
เดี๋ยวมนั กแ็ ก่ เดี๋ยวมนั กร็ ่วง แต่มนั ก็ เป็นส่วนหน่ึงของตน้ ไม้
ทุกคนตอ้ งมี สมั มาอาชีวะ ตอ้ งมีอาชีพ บงั เอิญ เราทาอาชีพที่
บริสุทธ์ิ สุจริต คนก็นบั ถือยกยอ่ ง หรือสรรเสริญ มนั ก็เหมือน
ใบไม้ กิ่งไม้
ถา้ ในทางโลก บอกวา่ เป็นผลพลอยได้ แตม่ นั ไมไ่ ดเ้ ป็น
เป้าหมายสูงสุด ของชีวติ เม่ือเขาสรรเสริญ เขานิยมเรา เขาก็
เกิดศรัทธา ถา้ เป็นไปในทางกุศล เราก็ใชศ้ รทั ธาตวั น้ี ช้ีทาง
ถูกตอ้ งใหเ้ ขา มนั เป็นผลพลอยได้ แต่มนั เปรียบเสมือนใบไม้
แลว้ ก็กิ่งไม้ ลมพดั ลมเพ ไมต่ ้งั มน่ั
ทีน้ี พระองคก์ เ็ ปรียบ ศีล ศีลน้ีเปรียบเสมือน สะเกด็ ไม้
ก็เป็นส่วนหน่ึงของตน้ ไม้ แต่เป็นแคส่ ะเกด็ มนั ก็ เลก็ เลก็
พระองคย์ กตวั อยา่ งอยา่ งน้ี เพอ่ื ใหเ้ ห็นความสาคญั มากนอ้ ยที่
แตกต่างกนั
สมาธิ เปรียบเสมือน เปลือกไม้ ก็เป็นส่วนหน่ึง ตน้ ไม้
ตอ้ งมีเปลือก กระพ้ตี อ้ งมีแก่น ไม่เช่นน้นั เป็นตน้ ไมท้ ่ีสมบรู ณ์
ไมไ่ ด้ มนั กต็ อ้ งอยดู่ ว้ ยกนั เป็นองคร์ วม จึงกลายเป็น ตน้ ไม้
3
ข้ึนมาสมบรู ณ์ สมาธิ กแ็ ค่เปรียบเสมือนเปลือกไม้ ยกตวั อยา่ ง
เขาปลกู ตน้ หอม มีคนขโมย เอาเปลือกมนั ออกหมด ตน้ ไม้
ตายม้ยั ก็ไมต่ าย เด๋ียวมนั ออกเปลือกใหม่ได้ แตว่ า่ มนั กม็ ี
ความสาคญั ระดบั หน่ึง สมาธิเปรียบเสมือน เปลือกไม้
ญาณทัศนะ หรือ ตวั ปัญญา พระองคเ์ ปรียบ เท่ากบั
กระพ้ีไม้ กระพ้ีก็คือวา่ อยใู่ นเปลือกอีกที ก่อนจะถึงแกนตน้ ไม้
บางคนมีญาณรู้ มีปัญญา แต่ถา้ ญาณแบบปัญญาทางโลก จบ
ดอกเตอร์ ก็คุยกนั ไมร่ ู้เรื่อง แลว้ เอาความสามารถ เราเองไป
เปรียบเทียบกบั คนอื่น อนั น้นั จริงแลว้ มนั เป็นแคค่ วามรู้ ไม่ใช่
ปัญญา แตป่ ัญญาทางศาสนา ในปัญญาญาณทศั นะ ทางจิตนี่
พระองค์ ก็เปรียบเหมือนกระพ้ไี ม้ ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของตน้ ไม้
แลว้ ตวั สุดทา้ ย พระองคต์ รัสชดั เจนวา่ วิมตุ ติ หรือ
นิพพาน เปรียบเสมือนแกน ของตน้ ไม้ สะทอ้ นใหเ้ ห็น ถึง
เป้าหมายสูงสุด ของพทุ ธศาสนิกชน กค็ ือวิ มตุ ติ คือ ความ
หลุดพน้ นนั่ คือ แกนของตน้ ไม้ เรียกไดว้ า่ เป็นส่วนท่ีสาคญั
ท่ีสุด แต่ตอนน้ี เราไมก่ ลา้ คิดถึงนิพพาน เราเขา้ ใจวา่ อยไู่ กล
มาก เราก็ไปฝึกสติ เจริญสมาธิ
ที่พอ่ ครูพดู มาหา้ ขอ้ ไมม่ ีคาวา่ สติ สติไมใ่ ช่พระเอก สติ
ยงั ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของตน้ ไมน้ ้ีดว้ ยเพียงแต่วา่ สติเป็นเครื่องมือ
4
ในการเดินทางของจิต ท่ีสาคญั อยา่ งหน่ึง เป็นเคร่ืองมือหน่ึง
ใน มรรคมีองคแ์ ปด แต่ไม่ใช่พระเอก พระพทุ ธเจา้ ตรัสไวว้ า่
สัมมาปฏิบตั ิ ของมนุษยท์ ุกคน พระองคเ์ ปรียบเสมือน เอา
ตน้ ไม้ มายกเป็นตวั อยา่ ง วา่ อะไรสาคญั ก่อนหลงั แตท่ ้งั หมดน้ี
คือ รวมกนั ก็เป็นตน้ ไมข้ ้ึนมา แต่ตวั สาคญั ท่สี ุด ก็คือตวั แกน
ตน้ ไม้ ก็คือวิมตุ ติ เป้าหมายสูงสุด คือ ความหลดุ พน้ ทกุ วนั น้ี
เราเอาการเจริญสติ เอาการฝึกสมาธิ เป็นเป้าหมายแค่น้นั เอง
กาลงั ไม่ถงึ
จะทาใหถ้ งึ วิมตุ ติไดอ้ ยา่ งไร? พระองคย์ ง่ิ ใหญ่ มากช้ี
ทางใหเ้ รา แลว้ กบ็ อกวธิ ีดว้ ย พระองคไ์ ปคน้ พบความจริง ของ
ธรรมชาติ อนั น้นั ยง่ิ ใหญ่แลว้ แตย่ งั ไมย่ งิ่ ใหญ่ เทา่ กบั พระองค์
รู้วธิ ีแกด้ ว้ ย อนั น้ียง่ิ ใหญ่มาก ก็เชื่อมไปอยหู่ ลกั อริยสัจ๔
อริยสัจ๔ ทกุ ข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค เป็นความจริงที่
ยงิ่ ใหญส่ ่ีประการ ที่พระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้ มีอยแู่ ค่สี่ขอ้ น้ี ส่วน
แตกแขนงไปเป็นธรรมะ ปลีกยอ่ ยน้นั อนั น้นั กเ็ ป็นเร่ือง ของ
ปลีกยอ่ ยที่ ช้ีแจงเร่ืองรายละเอียดเฉยๆ ถา้ เราไปติดบ่วงเร่ือง
ปลีกยอ่ ย ไปแยกแขนงปฏิบตั ิ กาลงั มนั เลยไมถ่ ึง
อริยสจั ๔ พระพุทธเจา้ กต็ รัส ใหเ้ รารู้วา่ อะไรคือตวั ทุกข์
อะไรคือเหตแุ ห่งทกุ ข์ เหตทุ ่ีทาใหเ้ ราทุกขค์ ืออะไร ก็คือ ตวั
5
ตณั หา คือ ตวั อยาก นิโรธก็คือนิพพาน คือความดบั ทกุ ข์ แลว้
อนั สุดทา้ ยน้ี ถา้ ในแงก่ ารปฏิบตั ิก็สาคญั ท่ีสุด เพราะสามส่ีขอ้
น้นั พระองคพ์ ูดใหเ้ ราฟัง ใหเ้ ราเขา้ ใจวา่ อะไรคือทุกข์ อะไร
คือเหตแุ ห่งทุกข์ อะไรคือความดบั ทกุ ข์ พดู ใหเ้ รารู้เฉยๆ ก็เป็น
ส่วนหน่ึงของธรรมะ ตวั สุดทา้ ยคือ มรรค ทางไปสู่การพน้
ทุกข์ กต็ อ้ งลงมือปฏิบตั ิ
มรรคมอี งค์๘ คือ เห็นชอบ ดาริชอบ วาจาชอบ อาชีพ
ชอบ การกระทาชอบ ความเพียรชอบ สติชอบ อนั น้ีเป็นมรรค
ภายนอก เป็นพฤติกรรม ท่ีเราตอ้ งทาบ่อยๆ
ส่วนมรรคภายใน เรียกวา่ มรรคจิต อนั น้ีพระพทุ ธเจา้ ก็
ช้ีทาง ช้ีวิธีใหเ้ ราเขา้ ไป ขา้ งในเจริญมรรคจิต โดยใชเ้ คร่ืองมือ
พระองคก์ ็บอก เครื่องมือเราดว้ ย วิธีจะเขา้ ไปขา้ งใน วิธีเจริญ
มรรคจิตตอ้ งใชอ้ ะไร โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ
ไม่ใช่แคเ่ จริญสติ ฝึกสมาธิ มนั ก็ไดส้ มาธิ มนั ก็ไดส้ ติ
มนั กไ็ มไ่ ปไหน ท่ีผา่ นมา เราไปแยกส่วน แยกยอ่ ย แลว้ ก็ไปติด
บ่วง ขอ้ ปลีกยอ่ ยตรงน้นั ไมใ่ ช่มนั ไม่ดี ไมใ่ ช่ไม่สาคญั ทกุ
อยา่ งสาคญั หมด ไมม่ แี มแ้ ต่หน่ึงอยา่ ง ท่ีไม่เช่ือมโยงสาหรับ
ชีวติ เรา มนั เชื่อมโยงกนั ไปหมด เพยี งแต่วา่ ถา้ จะไปอ่านคา
สอนพระพทุ ธเจา้ ตอ้ งดูท้งั หมด ดูท้งั หมดกช็ ่าง บางทีอา่ นจน
6
จบดอกเตอร์แลว้ กช็ ่าง อ่านเร่ืองน้ีดี อา่ นเรื่องโน่นเรื่องน้ี แตถ่ า้
จิตเรามนั ทะลุปลอ้ ง มนั แตกฉานแลว้ มนั จะเขา้ ใจท้งั หมด ไม่
ตอ้ งไปจา อนั น้นั เป็นแคภ่ าษา
ทกุ วนั น้ีเราเรียนรู้วชิ าทางโลก เรียกวา่ วชิ าความรู้
ความรู้เราเกิดข้ึน จากเราเรียนวชิ าตา่ งๆ เราก็เกิดความรู้ แลว้
ส่วนมาก เป็นความรู้ท่ไี ปลอกเลียนแบบเขามา ความรู้เกิดจาก
วิชาท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน ประสบการณ์มนุษยส์ ร้างข้ึน เราเรียกวา่
ความรู้ วชิ าความรู้
แตป่ ัญญาเกิดจาก ญาณปัญญา ปัญญาตอ้ งเกิดจาก การรู้
แจง้ ของจิต ไม่ไดเ้ กิดจากการนึกคิด หรือการท่องจา หรือการ
เลียนแบบ น่ีตอ้ งแยกแยะใหไ้ ด้ อะไรคือความรู้ อะไรคือ
ปัญญา พอ่ ครูพูดใหฟ้ ัง เรื่องสมั มาปฏิบตั ิ หลกั ใหญๆ่
พระพทุ ธเจา้ ช้ีไวแ้ คน่ ้ี
เรามีสมั มาอาชีวะ ถา้ เราทาเป็น สมั มาอาชีวะจริงๆ มี
อาชีพที่ดี เรากไ็ ดล้ าภสกั การะ ตวั น้ีลาภสกั การะ บางทีก็เกิด
จากไปปลน้ ฆ่าเขามา ไปโกงเขากม็ ี แลว้ กเ็ กิดสรรเสริญ เกิด
ช่ือเสียง เพราะทุกวนั น้ี เราแยกไม่ออกวา่ คนมีชื่อเสียงตอ้ ง
เป็นแบบไหน คนโบราณคนมีชื่อเสียง มีคนสรรเสริญเยนิ ยอ
ตอ้ งเป็นคนดี คนทาดี แตย่ คุ น้ีแยกไม่ออก รวยกค็ ือดี ชนะก็
7
คือดี มนั ก็เลยสับสนไปหมด เอาเป็นวา่ ถา้ ไดถ้ ึงแค่น้นั ก็เป็น
แค่ใบไม้ กบั กิ่งไมเ้ ท่าน้นั เอง
แมก้ ระทงั่ ศีล พระองคพ์ ดู ก็เปรียบเสมือน สะเก็ดไม้
เป็นส่วนเลก็ ๆของตน้ ไม้ ศีลไม่ใช่ไม่มีความสาคญั สาคญั แต่
เทียบเท่ากบั สะเก็ดไม้ เพราะศีลวนิ ยั ที่เราสร้างข้ึนมา ช่วงหลงั
จะเป็นศีลหา้ ศีลแปด ศีลสิบ ศีลปาฏิโมกข์ เป็นมนุษยส์ ร้างข้ึน
เพื่อเป็นตวั เตือนสติเรา กากบั ชีวิตเรา เป็นการเตือนสติเราเพือ่
เป็นกติกา ในการอยรู่ ่วมกนั มนั เป็นแค่วินยั แต่มนั ก็มี
ความสาคญั ถา้ เป็นตน้ ไม้ ก็เทียบเท่ากบั สะเก็ดไม้ทีน้ี มีแค่ศีล
กไ็ มพ่ อ เห็นม้ยั มีศีล สมาธิ ปัญญา เรากต็ อ้ งมีสมาธิดว้ ย
สมาธิ มีสองระดบั หน่ึงฝึ กสมาธิ เราเรียกว่า ระดบั
สมถกรรมฐาน เป็ นช่วงท่ีฝึ ก ให้มีกาลงั สมาธิมากข้ึน สมาธิ
ส่วนหน่ึง ท่ีเป็ น วิปัสสนาน้ัน ตอ้ งใช้สมาธิ เป็ นช่วงที่เรา
เจริ ญมรรคจิต เราต้องใช้มัน ยิ่งใช้ ก็ยิ่งชานาญ
แต่ สมถกรรมฐาน เป็นช่วงท่ีเราฝึกเฉยๆ
เหมือนเราเป็นนกั มวย เราก็ชกกระสอบทราย เราขยนั
เรามีขนั ติ เรามีวิริยะ เราก็ได้ มีความแข็งแรงระดับหน่ึง มี
ทักษะระดับหน่ึง แต่ถ้าเรา ไม่เคยข้ึนเวทีเลย เราก็ไม่เกิด
ปัญญา ไม่เกิดทกั ษะเพ่มิ เติม เพราะวา่ กระสอบทรายมนั ชกเรา
8
คืนไม่ได้ พอเราข้ึนเวที คู่ต่อสู้เขาไม่ไดบ้ อกระวงั นะ ฉันจะ
ชกขวาแลว้ เขาชกมาเลย ตอนน้ันเราตอ้ งใช้สติ ใช้สมาธิ
หลบหลีกมนั ใชป้ ัญญาท่ีมีอยู่ สู้กบั อารมณ์ คู่ต่อสู้น้นั ก็คือ
ธรรมในธรรม คือ ธรรมมารมณ์นน่ั เอง
ธรรมในธรรม นนั่ เป็น สติปัฏฐาน๔ คือตวั สุดทา้ ย แต่
ถา้ เราเขา้ ไป ในจิตใจจิตได้ เราเสพธรรมในธรรมได้ นั่นคือ
เราข้ึนเวที เราข้ึนเวที กระแสมรรคแลว้ เขาเรียกว่า เขา้ กระแส
แลว้ น่ีคือ มรรคจิต
เรียงลาดบั นะ วา่ สมาธิ สติ ก็สาคญั แตไ่ ม่ใช่เป็น
พระเอก เราฝึก เพือ่ ใหม้ นั มีสมาธิ ใหม้ นั มีสติ เราฝึกระดบั แรก
เป็นการปลุกสติ สมาธิใหม้ นั ต่ืนข้ึน
อนั ดบั ท่ีสอง เจริญวปิ ัสสนา ตอ้ งใชส้ ติ สมาธิ เดินทาง
เหมือนเราหลงป่ า เรามีหนา้ ท่ีเดินออกจากป่ า ใหเ้ ร็วท่ีสุด
ไม่ใช่เป็นเวลาฝึก วชิ าใดใดท้งั น้นั เวลาเดินตอ้ งใชส้ มาธิ ถา้
ไม่ใชส้ มาธิ ก็ขดั ขาตวั เองลม้ ถา้ ไมม่ ีสติก็ตกเหว ตกบ่อ ชน
ตน้ ไม้ ตอ้ งใชป้ ัญญา เจออปุ สรรคตอ้ งแกไ้ ข นน่ั คือ มรรคจิต
ตอ้ งใชม้ นั ยงิ่ ใช้ กย็ งิ่ ชานาญ แต่ไม่ใช่เป้าหมาย วา่ ทาใหม้ ีสติ
มีสมาธิ สุดทา้ ย ก็ไมเ่ ดินทางเลย แบบน้นั กต็ ายเปล่า มนั
ไม่ใช่มรรค
9
มรรค ผล นิพพาน ไม่ใช่ สติ ผล นิพพาน ไมใ่ ช่ สมาธิ
ผล นิพพาน พระพทุ ธเจา้ ไม่ไดพ้ ูดอยา่ งน้นั กใ็ หเ้ ราเรียบเรียง
สมถกรรมฐาน มนั แยกไมอ่ อก ทีแรกเขาบอกวา่ การ
เจริญภาวนา คือ สมถะวิปัสสนา สมถะก็เกิด ส่วนมากเกิดจาก
ฐานกาย เทวดาทาไมไ่ ด้ เพราะไมม่ ีกาย เราก็ใชฐ้ านตรงน้ี
แตถ่ า้ ไมม่ ีฐานกาย สตปิ ัฏฐาน๔ น่ีกเ็ กิดข้ึนไม่ได้ กาย
เวทนา จิต ธรรม แต่ถา้ ลาพงั ฐานกาย มนั จะมีแค่สองฐาน คือ
ฐานกาย กบั ฐานเวทนา เวทนาเกิดข้ึนท่ีใจ ใจเป็นศนู ยก์ ลาง
ของอายตนะ ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ทกุ วนั น้ี สมถกรรมฐาน
ก็อยแู่ คต่ รงน้ี ฐานกาย ฐานเวทนา เวทนาสูงสุด ของสมถกรรม
ฐานกค็ ือฌาน๔ สุดทา้ ย วติ ก วจิ ารณ์ ปิ ติ สุข เอกัคคตารมณ์
ตอ้ งมีอารมณ์เดียว คือ สงบนิ่ง ตวั น้ีแหละ เป็นที่ต้งั แห่งการ
เจริญวปิ ัสสนา
ถา้ จิตใจ ไม่นิ่งแลว้ มนั เจริญไมไ่ ด้ ถา้ มนั ยงั คิดอยู่ มนั
ยงั กระเพอ่ื มอยู่ วปิ ัสสนาเกิดข้ึนไม่ได้ เหมือนน้ามนั นิ่ง ฝ่ นุ
ละอองเมด็ เลก็ นิดเดียว ร่วงลงมาเราก็เห็น เราก็สัมผสั ได้
ใบไมร้ ่วงลงมา เราก็สมั ผสั ได้ โดยไมต่ อ้ งทาอะไรเลย แคน่ ิ่ง
นน่ั คือเอกคั คตารมณ์ ถา้ ไม่ถึงข้นั เอกคั คตารมณ์น่ี เราก็เจริญ
10
วิปัสสนาไมไ่ ด้ ส่วนมาก เป็นวปิ ัสสนึก นงั่ เพง่ โน่น เพง่ น่ี
พจิ ารณาคดิ เอาเอง คาดคะเนเอาเอง เป็นจินตนาการ
วิปัสสนาจริงจริง ตอ้ งปราศจาก การกระทาใดใดท้งั สิ้น
คือเลิกคิด เลิกพดู เลิกมีกายกรรม คือ จิตมนั สงบน่ิง เป็น
เอกคั คตารมณ์ ยงั มีอารมณ์ปิ ติ ยงั มีอารมณ์สุขอยู่ มนั ยงั มีอยู่
ตวั น้นั เจริญวปิ ัสสนาไมช่ ดั เจน
ก็ใหล้ าดบั สมถะเป็นบาทฐานเบ้อื งตน้ ในการเป็นตวั
ค้าจุน ใหเ้ กิดวปิ ัสสนา ไม่ใช่เรื่องไมด่ ี แตต่ อนน้ี เราไปติด
บ่วง สติ สมาธิ เรากเ็ ลย ไปติดบ่วงสมถกรรมฐาน กี่ปี ก่ีปี
กไ็ มไ่ ปไหน เหมือนสปริง เราก็ไปกดมนั ไว้ กดมนั ไว้ กดไว้
เม่ือเรามีพลงั สมาธิ กดมนั ไว้ เราก็ระวงั สารวมระวงั เหมือน
เรากดมนั อยู่ พอมีลูกโตๆชนเขา้ มา สปริงมนั กเ็ ดง้ ผางเลย เห็น
ม้ยั อนั น้นั คือ ปลายเหตุ
มนั แคส่ มถะ ทาใหเ้ ราเกิดความสงบชวั่ ครู่ แต่มนั ไม่
ถาวร วิปัสสนาทาให้ เกิดปัญญา เมื่อมีปัญญาแลว้ มนั ก็จะรู้วา่
ตน้ เหตุ ที่ทาใหเ้ ราไมส่ งบน้นั คืออะไร ก็จะกาจดั ตวั น้นั ออก
เอาเช้ือที่ทาใหเ้ ราไม่สงบ ออกมา ตอนน้นั สงบถาวร เป็น
ปัสสทั ธิสัมโพชฌงค์ สงบน่ิง ตามธรรมชาตขิ องมนั
11
สมถะ เป็น บาทฐาน เป็นกาลงั ที่เก้ือหนุนใหเ้ กิด
วปิ ัสสนา ทนี ้ีวิปัสสนา เขาแบง่ เป็นสองหลกั ใหญๆ่
วิปัสสนาแบบหน่ึงคือ ทางลดั มงุ่ ไปสู่อาสวกั ขยญาณ
ฝ่ ายเดียวเพื่อพน้ ทุกข์ ทางลดั ทางตรง ส่วน วิปัสสนาแบบ
พิสดาร อนั น้นั ส่วนมาก ก็ไปอาศยั ฐานสมถะ ฝึกนานๆมนั จะ
เกิดอภิญญาญาณตา่ งๆ อนั น้นั อยทู่ ่ีจริตเรา ฝึกมาหลายชาติ ไม่
เหมือนกนั แตต่ วั น้ี มนั ตอ้ งใชเ้ วลายาวนานข้ึน
ไมใ่ ช่เร่ืองถูก หรือเรื่องผดิ มนั เป็นทางสองแพร่ง แต่
สุดทา้ ย อยา่ เลิกเดิน มนั ก็ถึงเหมือนกนั แตใ่ นแงพ่ ่อครูนะ
พ่อครูบอก บางทีตายก่อน ท่ีเราระลึกชาติไดด้ ว้ ย ก็เป็นเร่ือง
อภิญญาอยา่ งหน่ึง บพุ เพนิวาสานุสติญาณ
บางทีเราหูทิพย์ บางทีเราตาทพิ ย์ เรามีญาณทศั นะ
เหล่าน้ี มนั เป็นบารมีเก่า แตถ่ า้ มาเจอพอ่ ครู เหว่ยี งทิง้ เล้ียวเขา้
สู่สายทางลดั ตรงๆ เพราะเราไมม่ ีเวลาแลว้ แตไ่ ม่ใช่วา่ มนั ถกู
มนั ผดิ แตว่ า่ เขาแยกใหเ้ ห็นวา่ มนั มีสองแนวใหญๆ่
ส่วนสมถกรรมฐาน พระองคก์ ็ยกตวั อยา่ ง สี่สิบ
กรรมฐาน คือ อารมณ์ในการฝึกสมถกรรมฐานน้นั สี่สิบ
กรรมฐาน หรือใบไมก้ ามือเดียวน่ี เป็นแคต่ วั อยา่ งบางตอน แต่
แค่น้ีก็เหลือเฟือแลว้ เอามาแค่ใบเดียว ปฏิบตั ิจริงจงั ก็ไปได้
12
บางทา่ นไม่เคยรู้ กใ็ หม้ นั แตกฉานเลยวา่ มนั เป็นยงั ไง แลว้
เกี่ยวอะไรกบั ท่ีเราทาอย.ู่ .บอกวธิ ีพอ่ ครู บางคนบอก ไมใ่ ช่วธิ ี
เพราะวธิ ีพอ่ ครูไมม่ ีวธิ ี ไม่เคยบงั คบั ใ หท้ าอยา่ งไรเลย ทุกคน
ดาเนินเอง
ส่ีสิบกรรมฐาน เริ่มจาก กสิณสิบ เขาเพง่ กสิณ เพง่ แสง
ไฟ เพง่ น้า เพ่งอะไรเนี่ย พวกที่ฝึกกสิณ เอาอะไรกช็ ่างเป็นฐาน
ท่ีต้งั แห่งการเพง่ เพื่อใหจ้ ิตมนั จดจ่อ เกิดพลงั จิตข้ึนมา พวกน้ี
จะเขา้ ไปในฌาน แลว้ เกิดอภิญญาตา่ งๆเหมือนกนั
อสุภะสิบ คือเพ่งอสุภะ เพง่ ซากศพ ทา่ โนน้ ทา่ น้ี จริงๆ
แลว้ มีแสนๆทา่ พระองคย์ กตวั อยา่ ง แค่สิบท่า ใหม้ นั เกิดสังเวช
แลว้ กท็ ่ีเราฝึกๆกนั ในเมืองไทยก็มี อนุสติสิบ อนุสติสิบ
ตวั น้ีสาคญั มาก พ่อครูจะลงรายละเอียด อีกทีตรงน้ี เพราะวา่
สังคมไทย เราอิงตวั น้ีมาก แตม่ นั ก็เป็นส่วนหน่ึง ของ
สมถกรรมฐานเทา่ น้นั เอง
แลว้ กม็ ี พรหมวิหารส่ี พอ่ ครู เคยเอามาฉายใหด้ ู ฉือจ้ี
ท่ีใตห้ วนั เขาเอาพรหมวิหาร๔ เป็นฐานท่ีต้งั แห่งการฝึกของ
เขา ไมใ่ ช่ไปรู้เฉยๆ เมตตา กรุณา มทุ ิตา อุเบกขา เขาทาเลย
เขาปฏิบตั ิจนเป็นวิถี ตวั น้นั กพ็ ฒั นาไปสู่วปิ ัสสนาได้
13
อาหาเรปฏิกลู สัญญาหนึ่ง เราพจิ ารณาอาหาร วา่ เป็นสิ่ง
ปฏิกลู ไมใ่ ช่พจิ ารณา วา่ มนั แซบ หรือมนั ไมแ่ ซบ อร่อย
หรือไม่อร่อย น่ีเขาก็เอาอาหารนี่ เป็นท่ีต้งั แห่งการกาหนด
พิจารณา เพ่อื ใหจ้ ิต เกิดความ จางคลายยดึ มนั่ ถือมนั่ กบั ความ
อร่อย
แลว้ ก็ ธาตุ มาตรฐานหน่ึง กค็ ือวา่ เอาธาตุในตวั เราเป็น
ฐานท่ีต้งั แห่งการเพ่งพจิ ารณา เป็นอบุ าย ทาใหจ้ ิตเราจดจ่อเทา่
น้นั เอง
สมถะ คือ ทาใหม้ นั เกิดความสงบ เม่ือเราจดจ่อ ยา่ งใด
อยา่ งหน่ึง เรากล็ ืมความคิด เราก็วางความคิด มนั ก็วา่ งชว่ั คราว
มนั กเ็ กิดความสงบ เม่ือวาง แลว้ มนั ก็วา่ ง มนั กเ็ กิด ความสงบ
ตวั สุดทา้ ยน้ี คือ เราพจิ ารณาเรื่อง อรูปฌานส่ี ทกุ คน
ชอบฝึกฌานตา่ งๆนาๆ ถา้ เราติดพวกน้ี มนั จะเกิดอภิญญาแลว้
เราจะไปหลงมนั เป็นผวู้ ิเศษ แตอ่ ยา่ งนอ้ ย เราก็ไดส้ ะสมพลงั
แต่เราจะเสียเวลามากข้ึน อนั น้ีปฏิบตั ิแบบอาศยั ฐานสมถกรรม
ฐาน กา้ วไปสู่วิปัสสนาแบบพิสดาร มนั เช่ือมโยงกนั อยู่
แต่ถา้ ถามจิตพอ่ ครูแลว้ ไมม่ ีเรื่องพวกน้ี แตพ่ อ่ ครูไม่
ปฏิเสธเร่ืองน้ี เร่ืองน้ีมนั มีอยแู่ ลว้ เพราะจิตเดิม เราฝึกมาหลาย
ชาติแลว้ มนั เป็นอดีตบารมีของเรา แต่มนั เกิดข้ึนแลว้ พ่อครู
14
บอกวา่ เหว่ียงทิง้ ไม่ใช่เหวีย่ งส่ิงน้นั ทิง้ ไมใ่ ช่รงั เกียจมนั ไมใ่ ช่
ผลกั ไสไล่ส่ง แต่ก็ไม่ไปติดมนั เหว่ียงความยดึ มนั่ ถือมนั่ ที่เรา
จะไปหลงมนั ทงิ้ เดี๋ยวเราจะกลายเป็นผยู้ ง่ิ ใหญ่ แต่เราจะไม่
กลาย เป็นคนพน้ ทุกข์ เราจะติดอยตู่ รงน้นั อีกหลายชาติ ก็
ช้ีใหเ้ ห็น สมถกรรมฐาน พระพทุ ธเจา้ ยกตวั อยา่ งไว้ ส่ีสิบกอง
กรรมฐาน
ตอนน้ีลงรายละเอียด อนุสติสิบ เพราะบา้ นเมืองเรามี
แต่เจริญสติ ขอ้ แรกคือ พุทธานุสติ ไม่ใช่พุทโธ พุทธานุสติ
ไมใ่ ช่ตามลมหายใจเขา้ ออก คือ การระลึกถึงคณุ พระพุทธเจา้
เป็นการเตือนสติ ทาใหเ้ ราเกิดจบั ศรัทธาต้งั มนั่ ธรรมมานสุ ติ
ระลึกถึงคุณ ของพระธรรม สังฆานสุ ติ ระลึกถึงคุณ ของ
พระสงฆ์ เป็นการเตือนสติเรา ใหเ้ ราศรัทธาต้งั มนั่ กบั ทางเดิน
ไม่ใช่พุทโธ ที่เป็นทฤษฎีท่ีหลวงป่ ูมนั่ เราเอาข้ึนมาเป็น
อบุ าย จริงๆแลว้ มนั อยใู่ นหมวดของอานาปานสติ คือ ตาม
ลมหายใจเขา้ ออก ในพระไตรปิ ฎกไมม่ ีคาวา่ พทุ โธ ไมม่ ีคาวา่
ยบุ หนอ พองหนอ แตเ่ นื่องจากวา่ สงั คมเรายอมรับแลว้ เราก็
คิดวา่ เป็นคาสอนพระพุทธเจา้ แตพ่ ่อครูไมไ่ ดบ้ อกวา่ ผดิ
ไม่ไดผ้ ิด มนั ก็เป็นอุบายวธิ ี เป็นเทคนิคอยา่ งหน่ึง แต่เราไป
15
เขา้ ใจวา่ คาสอนพระพทุ ธเจา้ ตอ้ งเป็นอยา่ งน้ี ถา้ เป็นอยา่ งอื่น
ไม่ใช่ พอ่ ครูลาดบั ใหด้ ู ถา้ คาวา่ พระพทุ ธวจนะจริงๆ พระองค์
ตรัสอะไรไวบ้ า้ ง พ่อครูจะเช่ือมโยงให้
สมั มาปฏิบตั ิ อนุสติสิบ ท่ีกลา่ วแลว้ คือ พทุ ธานุสสติ
ธรรมมานุสสติ สังฆานุสสติ คือระลึกถึงคุณ พระพุทธ พระ
ธรรม พระสงฆ์ ยดึ พระพุทธเจา้ เป็นสรณะ เพอื่ เตือนสติเรา
อนุสติ คือ เตือนสติ ใหเ้ ราเกิดศรัทธา สร้างศรัทธาเราต้งั มนั่
แลว้ อนั ท่ีสี่น้ีคือ สีลานุสสติ เอาศีลมาเตือนสติตวั เอง
บ่อยๆ เราจะได้ ไม่ตอ้ งสร้างกรรม เป็นการเตือนสติดว้ ยศีล
อนั ตอ่ ไป คือ จาคานุสสติ ใหร้ ะลึกถึง คิดวา่ จะทาจาคะ
จะสลดั ออก จะทากุศล ไมไ่ ดค้ ิดเรื่องเป็นกุศล จาคะ คือสลดั
ออก คือ ขดั เกลาความโลภ ความตระหนี่เราออกไป เป็นการ
เตือนสติอยา่ งหน่ึง
แต่ตอนน้ี เราไปสอนวา่ ทาบุญ แลว้ ตอ้ งจาไว้ ตอ้ งคิดถงึ
บญุ ที่เราสร้างมาตลอด เราเขา้ ใจคาน้ีผดิ เราตอ้ งทาบอ่ ยๆ และ
ไมต่ อ้ งไปจามนั ถา้ จาได้ หมายถงึ วา่ เราทาบญุ ตามบญุ เพือ่
สร้างอนาคต ไมใ่ ช่ทาบญุ เพ่อื จาคะ เพอื่ สลดั ความโลภ ความ
ตระหน่ีออก มนั เป็นการเขา้ ใจผดิ
16
อนั ต่อไป เทวตานสุ สติ เทวดาคือ เหมอื นสวรรคน์ นั่
แหละ ก็เหมือนเป็นตวั กระตนุ้ เราวา่ เราสร้างสิ่งบวก อยา่ ไป
สร้างสิ่งลบ บางทีเรามีเทวดา อยใู่ นใจเรา ดีกวา่ มีอสุรกายก็
เป็นการเตือนสติอยา่ งหน่ึง
ทีน้ีท่ีเราฝึกตอนเชา้ ทกุ วนั คือขอ้ ต่อไปคือ มรณานุสสติ
คิดถึงความตายบอ่ ยๆ ในฐานะเป็นคน ไม่ประมาท คือ เราตาย
แน่แน่ เราทาอะไร เราคิดวา่ เราจะไมต่ าย สร้างอะไรไวเ้ ยอะๆ
แลว้ กไ็ ปใหค้ นรุ่นหลงั น่ีเขากต็ อ้ งไปแบกรับภาระอีก นี่คือเรา
ประมาท เราตอ้ งเอามรณานุสติ มาเตือนสติเราบ่อยๆ วา่ อยา่
ประมาท เราเตรียมตวั ตายหรือยงั
แลว้ ขอ้ ตอ่ ไป กายคตานุสสติ กายยาคตานุสตเิ ขาใหเ้ รา
เตือนสติวา่ ใหเ้ ราดพู จิ ารณาร่างกายเราตลอด แตก่ ส็ ร้างอุบาย
วา่ เขา้ ไปดูอสุภะขา้ งใน อนั น้ีกค็ ือ อยใู่ นหมวดของกายในกาย
กายนอกกาย ก็ใหเ้ ราพจิ ารณา ขน ผม เลบ็ หนงั ฟัน อนั น้ีคือ
กายขา้ งนอก ส่วนกายขา้ งในน้นั ให้ เราไปพิจารณาเรื่องอสุภะ
ขา้ งใน น้าเหลือง เลือด กระดูก เส้นเอน็ อะไรพวกน้ี เพอื่ อะไร
เพอื่ สร้าง ใหม้ นั เกิดสงั เวชข้ึนมา ใหม้ นั เกิดเวทนาข้ึนมา ก็เป็น
อบุ ายวิธี แต่มนั เป็นส่วนหน่ึงของอนุสติสิบ อยใู่ นหมวดของ
17
สมถกรรมฐาน มนั ยงั ไม่ใช่วิปัสสนา มนั เป็นวปิ ัสสนึก
เราไม่ไดเ้ ห็น ตบั ไตไสพ้ งุ จริงๆหรอก เราจินตนาการ
ข้ึนมา แรกๆก็ไดผ้ ลอยู่ แรกๆ เราจินตนาการ เรากเ็ กิดสังเวช ที
น้ีจินตนาการ ทุกวนั ๆน่ี มนั ก็ตายดา้ น มนั ไมม่ ีประโยชนอ์ ะไร
แตม่ นั เป็นข้นั ตอน ในการเดินทาง เรากไ็ ปตดิ อยตู่ รงน้นั ก่ีปี ก็
ตรงน้นั แลว้ มนั จะกา้ วไปไหน
ตอ่ มา อานาปานานุสสติ โดยใชล้ มหายใจ มาเป็น
เคร่ืองมือ ในการเจริญอนุสติ เพ่อื รวบรวมพลงั อยา่ งหน่ึง เพอ่ื
กา้ วไปสู่วปิ ัสสนา อานาปานสติ มนั ชดั เจน คือวา่ จาก
สมถกรรมฐาน พฒั นาไปสู่วปิ ัสสนาได้ เหมือนลมหายใจ
เขา้ ออก เรียกวา่ อานา คืออากาศ เราตอ้ งพฒั นาอานา ให้
กลายเป็น ปานะข้ึนมา เหมือนคนจีนเขาฝึกไทเก๊ก เขาฝึกชี่กง
นนั่ แหละ ทาใหม้ นั เกิดลมปราณข้ึนมา
ใครสร้างลมปราณ จิตเราตอ้ งสร้าง ใหจ้ ิตเกิดลมปราณ
เมื่อเขาเกิดลมปราณ เขาเกิดแรงเหวยี่ งแลว้ เขากจ็ ะเกิดพลงั
อิสระ จากแรงดึงดูดของอารมณ์ ท่ีใจกบั ความคิด เหมอื น
รถยนต์ เราสตาร์ทเครื่องมนั ก็ตดิ พลงั งานทกุ อยา่ ง ตอ้ งหมุน
โลกหมนุ รอบตวั เอง หมุนรอบดวงอาทิตย์ เคร่ืองยนตท์ ุกอยา่ ง
มนั ตอ้ งหมุน ทีน้ี เราสร้างแรงหมนุ ตรงน้ี ใหก้ บั จิตเรา โดยใช้
18
หลกั อานาปานสติ แตเ่ ม่ือติดเครื่องไดแ้ ลว้ เราเปิ ดแอร์ได้ เปิ ด
วทิ ยไุ ด้ เราใส่เกียร์ มนั ดบั เลย เพราะพลงั ไม่พอ
พระพทุ ธเจา้ ถึงตรัสเรื่อง ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร เป็น
สูตรแรก โดยอาศยั ฐาน อานาปานสติ แต่ตอ้ งเร่งเครื่อง เร่งสติ
หมนุ กงลอ้ ของธรรมจกั ร นี่คือ ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร ที่
พระองคแ์ สดง เมื่อเรา เร่งเครื่อง เราก็ใส่เกียร์เขา้ ไปไดเ้ ลย ถา้
พลงั เหวยี่ งมนั ไมพ่ อ พลงั หมนุ มนั ไมพ่ อ มนั สูแ้ รงดึงดูดของ
อายตนะไมไ่ ด้ โดยเฉพาะไอต้ วั ใจ น่ีคือขบวนการของมนั
ตลอดชีวติ ทาไมเราไมร่ ู้เร่ืองวา่ มีแบบน้ี เรามีพลงั
อยา่ งหน่ึง เราไมเ่ คยรู้มนั เลย เพราะเราไมฟ่ ังพระพุทธเจา้ เรา
มวั แตไ่ ปฟัง ไอนส์ ไตล์ คน้ พบพลงั ตา่ งๆ เพอ่ื เอามาทา
ประโยชน์ เอามาฆา่ กนั เอามาทาลายลา้ งโลก แตถ่ า้ เราฟัง
พระพุทธเจา้ แลว้ เราดาเนิน ตามท่ีพระองคช์ ้ีทางให้ ทุกคน
สามารถสัมผสั ตรงน้ีได้ เด็กๆก็ทาได้ มนั ไมใ่ ช่เร่ืองยากอะไร
แต่ที่ยาก เพราะเรา ไปติดบว่ งอุบายวิธี ทีละข้นั ทีละ
ข้นั ถา้ เราเขา้ ใจ หลกั คาสอนพระพุทธเจา้ ท้งั หมดเลย แลว้ กท็ ่ี
พระองคเ์ ปล่งออกมา ไมม่ ีผดิ นะ อนั น้ีคือ อานาปานสติ ก็เป็น
หน่ึงใน อนุสติสิบ เป็นสติเลก็ ท่ีอยใู่ น ส่ีสิบกองกรรมฐาน
19
เหมือนกนั เป็นสมถกรรมฐาน แตส่ ามารถพฒั นา ไปสู่
วปิ ัสสนากรรมฐานได้
วิปัสสนาจริงๆ ตอ้ งเขา้ ไปในจิตในจิต อยใู่ นฐานจิต
ฐานธรรม ธรรมในท่ีน้ี คือธรรมในธรรม คือธรรมมารมณ์
เป็นอารมณ์ ท่ีติดอยใู่ นจิตใตส้ านึก มาในรูปกรรมดี กรรมชว่ั
เป็นเวทนาในอดีต ท่ีถกู บนั ทึกเป็นสญั ญาไว้ ไม่ตอ้ งไปสร้าง
เวทนานง่ั สิบชวั่ โมง ยสี่ ิบชวั่ โมง ทรมานสงั ขาร ใหเ้ กิดเวทนา
ไมต่ อ้ งอยขู่ า้ งในเยอะแยะเลย มนั จะเกิดข้ึนมา ทีละโปรแกรม
แลว้ ก็มาสอบอารมณ์ จิตปัจจุบนั วา่ ทนั ม้ยั
ทีน้ีตวั สุดทา้ ย กค็ ือ อปุ สมานุสสติ ก็คือ ระลึกถึงคุณของ
พระนิพพาน วา่ เป็นความสุขอยา่ งยงิ่ ไม่มีอะไรที่ยง่ิ ใหญก่ วา่ น้ี
ถา้ พทุ ธศาสนิกชนคนใด ปฏิเสธพระนิพพาน คนน้นั ไม่เขา้ ใจ
คาสอนพระพุทธเจา้ อยใู่ นน้ีหมด ทีน้ีเขาแยก เป็นหมวด เป็น
หมู่ เป็นสูตรน้นั สูตรน้ี อนั น้นั เป็นเรื่องวชิ าการ แต่เวลาเขา้ ไป
ในจิตแลว้ มนั อยดู่ ว้ ยกนั ท้งั หมด อยทู่ ่ีวา่ เวลาไหน จิตมนั จะเอา
ตวั ไหนมาใช้ ไมต่ อ้ งไปต้งั ใจเรียน ไม่ตอ้ งฝึก
ภาษาองั กฤษบอก “Don’t have to learn, Don’t have
to practice, Just do it” ไมต่ อ้ งฝึก ไม่ตอ้ งเรียน คือปฏิบตั ิเลย
20
ปฏิบตั ิเลย กเ็ ขา้ ไปในจิตเลย เม่ือเราเขา้ ไปในจิตไดแ้ ลว้
อาจารยเ์ ราจริงๆ คือจิตเดิมเรา เขาจะต่ืนข้ึนมาสอนเรา สอน
ไม่ใช่ดว้ ยผา่ นภาษา ไม่มีภาษาแบบมนุษย์ เขาสอนใหเ้ ราไป
สัมผสั อารมณ์น้นั ไปสมั ผสั จริงจริง แลว้ ก็เห็น ความเกิดดบั
ของมนั อารมณ์ดีเดี๋ยวก็เกิด เดี๋ยวก็ดบั อารมณ์ไม่ดีเดี๋ยวกเ็ กิด ก็
ดบั เรากเ็ ขา้ ไป สมั ผสั ตวั น้นั บ่อยๆ
เราก็เขา้ ถึง กฎพระไตรลกั ษณ์ คือ ลกั ษณะสามประการ
ของธรรมชาติ อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา อนิจจงั คือความไมเ่ ท่ียง
มนั เปล่ียนแปลงตลอด ทุกขงั ไม่ได้ แปลวา่ ทุกข์ ในนยั ยะซ่ึง
ตรงกนั ขา้ มกบั สุข ทกุ ขงั ตวั น้ี ไมใ่ ช่ทุกขแ์ บบน้นั อนั น้นั เป็น
ทกุ ขข์ องอารมณ์ ที่เราไมส่ ุข เรากเ็ ลยทกุ ข์ ทุกขงั ในที่น้ี คือ
ดารงอยไู่ ดย้ าก เพราะอะไร เพราะมนั ไม่เที่ยง
ตน้ ไมอ้ ยไู่ ดล้ า้ นปี ม้ยั ไม่ได้ เพราะมนั ทกุ ขงั มนั ดารงอยู่
ไดย้ าก นี่คือกฎพระไตรลกั ษณ์ เพราะอะไร เพราะมนั เป็น
อนตั ตา พ่อครูไมช่ อบ คาวา่ มนั ไม่มีตวั ตนนะ มนั ยงั ไมช่ ดั ถา้
เราใชภ้ าษาพดู มนั พูดไม่ได้ คาวา่ อนตั ตาก็คืออะไร…อยา่ ไป
แปลมนั
แต่ทีน้ีภาษาเรา จะเปลง่ ออกมา ใหม้ นั ใกลเ้ คยี งที่สุด ก็
คือวา่ มนั ไมใ่ ช่ตวั ตน ท่ีแน่นอน มนั มีอยู่ แตม่ นั เกิดข้ึน มนั
21
ต้งั อยู่ แต่มนั ก็สลาย เพราะมนั ไม่เที่ยง เพราะอะไร เพราะมนั
เป็นทุกขงั เพราะมนั ดารงอยไู่ ดย้ าก ทกุ ขงั ในที่น้ีไมใ่ ช่เราทกุ ข์
เพราะเราอกหกั ผิดหวงั ไม่ใช่ทุกขอ์ ยา่ งน้ี
ที่มนั เกิดข้ึนเขาเรียก suffering ภาษาองั กฤษบอก ทุกข์
แบบน้นั เพราะวา่ เราทกุ ขใ์ จ เราเสียใจ เราเจบ็ เราก็ทุกข์ ทุกข์
น้ีมนั เกิดข้ึน จากเราไมร่ ู้ความจริง ตามธรรมชาติวา่ ทุกอยา่ ง
เป็นอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา เราไม่ยอมรับ ความเปล่ียนแปลง
พอมนั เปลี่ยนแปลง เราเลยทุกข์ อนั น้ีทุกขห์ ยาบๆ
ถา้ เราเขา้ ถึงกฎพระไตรลกั ษณ์จริงๆ มนั ไม่ใช่ทุกขก์ บั
สุขแบบน้นั เราจะเขา้ ถึงกฎแห่งความจริง สามประการของ
ธรรมชาติวา่ มนั ดารงอยไู่ ดย้ าก ขนั ธห์ า้ ในตวั เรา ไม่ใช่วา่ มนั
ไม่มี มนั มีอยู่ มนั อยลู่ า้ นปี ไดม้ ้ยั ไม่ได้ มนั กเ็ ป็นของชว่ั คราว นี่
แหละ เจตนาท่ีเราฝึกปฏิบตั ิจิต จะเป็นแนวไหนกช็ ่าง อบุ าย
ไหนก็ช่าง เทคนิคไหนกช็ ่าง วิปัสสนาแบบโลดโผน แบบ
สายตรงอะไรกช็ ่าง เพื่อใหจ้ ิต เขา้ ถึงกฎพระไตรลกั ษณ์ คือ
ลกั ษณะสามประการ ของธรรมชาติ ซ่ึงอีกกี่ลา้ นปี ใครก็
เปล่ียนตวั น้ีไมไ่ ด้
ไมใ่ ช่ส่ิงที่ พระพุทธเจา้ คิดข้ึนมาเอง เป็นส่ิงทพ่ี ระองค์
ตรัสรู้ พระองคเ์ ขา้ ไปสมั ผสั ตรงน้ี แลว้ พระองค์ ก็มาบอกกลา่ ว
22
เรา กลายเป็นภาษาน่ีคือ พทุ ธวจนะ สิ่งที่พระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้น้นั
คือความจริง ความจริงน้นั พดู ดว้ ยภาษาไม่ได้ แต่ส่ิงท่ีพระองค์
มาบอกกลา่ วเรา กลายเป็นภาษา จะเป็นภาษาบาลี สันสกฤต
หรือ อินเดียโบราณก็ช่าง ภาษา มนั หยาบเกินไป ท่ีจะอธิบาย
สิ่งน้นั
กระแสโลก มนั เปลี่ยน สิ่งเร้าใจมากข้ึน กิเลสกพ็ ฒั นา
ไปตามเทคโนโลยี มนั ข่ีจรวด เรามวั แตไ่ ปข่ีคอชา้ ง ถือเง้ียว ถอื
งา้ ว ฟันดาบ มนั ไมท่ นั มวั แตอ่ นุรักษ์ อา้ งวา่ เป็นของเก่า เป็น
ของดี ไม่ใช่มนั ไม่ดีนะ พระพทุ ธเจา้ ยงั บอกเองวา่ อยา่ เพง่ิ เชื่อ
ที่ทาตามๆกนั มา ไมใ่ ช่มนั ไม่ดี พระพุทธเจา้ ไมไ่ ดบ้ อกมนั ไม่
ดี แตม่ นั ไมท่ นั สมยั เพราะกิเลสมนั ขี่จรวด แลว้ คุณมวั แต่
ตว้ มเต้ียม แลว้ คุณอนุรักษไ์ ม่อยู่ เม่ือพวกรุ่นเราตายหมดแลว้
รุ่นใหมเ่ ขาไมเ่ อาแลว้ มนั กส็ ูญพนั ธุไ์ ง เราไมม่ ีปัญญา เราไม่
กลา้ ที่จะเปล่ียน
พระพุทธเจา้ บอกเองวา่ เป็นไปตามเหตุ และปัจจยั
พระองคย์ ง่ิ ใหญ่มาก พระองคร์ ู้วา่ ทกุ อยา่ งมนั เปลี่ยนแปลง แต่
ถา้ เราไมย่ อมเปลี่ยน เรายดึ มนั่ ถือมนั่ อนุรักษท์ ี่ครูบาอาจารย์
รุ่นตอ่ รุ่นบอกวา่ ตอ้ งเอาแบบน้ี ตอ้ งแบบน้ี แลว้ คุณจะวิ่งไล่
กิเลสมนั ทนั หรือ มนั ร้อยกิโลเมตรต่อชวั่ โมง มนั ไมท่ นั น่ี
23
แหละพระพุทธเจา้ ถึงบอก อยา่ เพิง่ เชื่อที่ทาตามตามกนั มา เป็น
ศาสนาเดียวท่ีบอกวา่ อยา่ เพิ่งเชื่อ คนที่พดู เป็นครูบาอาจารย์
ทา่ นไม่กลวั วา่ ใครจะหนีออกจากศาสนาท่าน ทา่ น
ตอ้ งการใหเ้ กิดปัญญา มนั เป็นทางๆเดียวที่เราจะพน้ ทุกข์ ถา้
ศรัทธาแบบหลงงมงาย มนั ไมไ่ ดช้ ่วยอะไร มนั เหมือนช่วย
ระดบั หน่ึง เรามีที่เกาะ แต่เราจะไมม่ ีวนั เขม้ แขง็ เหมือนเดก็ นี่
เกาะพอ่ แมไ่ ปไหน กข็ อสตางคห์ น่อย แลว้ เมื่อไหร่มนั จะโต
พระพทุ ธเจา้ บอกอตั ตาหิ อตั ตาโน นาโถ ตนแลยอ่ มเป็นที่พ่งึ
แห่งตน
เอาเป็นวา่ วิมุตติ หรือ นิพพาน คือแก่น เป็นเป้าหมาย
สูงสุดของเรา ทีน้ีเครื่องมือท่ีจะไปสู่ตรงน้นั ไม่ใช่ไปเสียเวลา
อยแู่ ค่ สติ หรือ สมาธิ ตอ้ ง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ รวม
พลงั กนั กลายเป็น มคั คสมงั คี เราจะถึงมีพลงั ฟันฝ่า กระแส
กรรมก็ดี กิเลส ตณั หา อปุ าทานกด็ ี เฉพาะสติ มนั เอาไม่อยู่
เฉพาะสมาธิ มนั เอาไมอ่ ยู่
มคั คสมงั คี ตอ้ งรวมท้งั โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ
เริ่มจาก ขอ้ ท่ีหน่ึงคือ สติปัฏฐาน๔ อนั น้ีเทวดาทาไมไ่ ด้ เทวดา
ไมม่ ีฐานกาย แลว้ กส็ ติปัฏฐาน๔ ตอ้ งอาศยั อนุสติส่วนหน่ึง
โดยเฉพาะอานาปานสติ
24
พระพทุ ธเจา้ ตรัสไวว้ า่ ดูก่อนภิกษทุ ้งั หลาย อานาปาน
สติ อนั บคุ คลเจริญทาใหม้ ากแลว้ ยอ่ มทาสตปิ ัฏฐานท้งั ๔ ให้
บริบรู ณ์ ตอนน้ีเราบริบรู ณ์ม้ยั ซา้ ย ขวา หน่ึง สอง เราอยใู่ นฐาน
กาย เป็นอิริยาบถของกาย เราแยกส่วนมีผเู้ พง่ กบั ส่ิงท่ีถูกเห็น
มนั ยงั ไมบ่ ริบรู ณ์ มนั เป็นอนุสติ
สติปัฏฐานท้งั ๔ อนั บคุ คลเจริญทาใหม้ ากแลว้ ยอ่ มทา
โพชฌงคท์ ้งั ๗ ใหบ้ ริบรู ณ์ ถา้ เราไม่เขา้ ไปสู่จิตในจิต แลว้ ไม่
รวมใหม้ นั เป็น มหาสตปิ ัฏฐาน เราจะไมเ่ กิด มหาสติ คือ มีสติ
ใหญ่ เราจะไม่สามารถ มีกาลงั ไประลึก รู้บารมีในอดีตเรา
โดยเฉพาะเรื่องโพชฌงค์ โพชฌงคอ์ ยใู่ นเวบ็ ไซดเ์ ราน้นั ถา้ เรา
ไมม่ ีกาลงั พอ เราก็สู้ไอแ้ รงดึงดดู ของความคิด กบั อารมณ์
อยากที่ใจไมไ่ ด้ เราก็เขา้ ไปในจิตไม่ได้
แต่เมื่อเรา เขา้ ไปในจิตได้ โพชฌงคท์ ้งั ๗ มนั กแ็ สดงตวั
ที่เราเตน้ รา เราราไป รามา เราวิ่งไปวง่ิ มา ถา้ ไม่มีสติ เราก็ชน
กนั ตายแลว้ เรามีสติสมั โพชฌงค์ เรากาลงั เจริญโพชฌงค์ เมอ่ื
โพชฌงคท์ ้งั ๗ อนั บคุ คลเจริญทาใหม้ ากแลว้ ยอ่ มทาวชิ ชา
ไมใ่ ช่วิชาแบบทางโลก วชิ าความรู้ วชิ ชาตวั น้ี คือ ตวั ปัญญา
เมื่อเกิดปัญญาแลว้ มนั กจ็ างคลาย ความยดึ มนั่ ถือมน่ั
มนั ก็แกท้ ่ีตน้ เหตุ ของมนั วา่ ตน้ เหตุ คือเรามอี ตั ตา มนั ก็ระเบิด
25
อตั ตาตวั น้นั ทงิ้ เขา้ ไปสู่สุญญตา วา่ งจากอตั ตา วิมตุ ติก็สมบูรณ์
น่ีคือ อานาปานสติสูตรเขาพูดชดั เจน แตถ่ า้ อยอู่ านาปานสติแค่
วา่ ลมหายใจเขา้ ออก เขา้ ออกกร็ ู้ ยาวกร็ ู้ ก็ไดแ้ ค่ ความสงบ
ชว่ั ครู่ แมก้ ระทงั่ หมุน มนั เริ่มหมุน แลว้ เกิดลมปราณข้ึน เราก็
อยกู่ บั ลมปราณน้นั เหมือนคนจีน เขาฝึกลมปราณ ถา้ เราไมไ่ ป
ต่อ เรากไ็ ดแ้ ค่เจริญอนุสติ เป็นอานาปานสติเป็นอนุสติ ยงั
พฒั นาไปสู่มหาสติไมไ่ ด้
ที่เราเกิดลมปราณ เพราะตอ้ งการรวมสี่ คือ กาย เวทนา
จิต ธรรม รวมเป็นหน่ึงเดียวกนั สติปัฏฐานท้งั ๔ สมบรู ณ์ นี่คือ
มหาสติปัฏฐาน เราถึงจะระลึกชาติได้ บางทีไม่ตอ้ งระลึกชาติ
แตม่ นั สามารถ ดึงอดีตบารมีเก่า เรามาตอ่ ยอดได้ มนั ชดั เจนอยู่
ในน้ี มนั ใช่อุปาทานหรือเปล่า บอกใช่แลว้ อปุ าทาน อยา่ เพง่ิ
หนี มาช่วยกนั แกอ้ ุปาทานใหเ้ ขา
เรากาลงั เอาอปุ าทานออก ไมใ่ ช่ไปสร้าง อุบายใหม่
เหมือนตอนเราปวดหวั กไ็ ปกินยาพารา ไปกดมนั ไว้ พอฤทธ์ิ
ยาหมดกป็ วดอีก เราตอ้ งไปแกท้ ่ี ตน้ เหตุ ตวั อยากคิดนน่ั แหละ
ทาให้ สร้างมโนกรรมบอ่ ยๆ ก็ทาใหป้ วดหวั เราเหวย่ี งตวั
อยากทิง้ มนั กไ็ ม่มีเหตุ ตอ้ งคิดอีก กไ็ มต่ อ้ งสร้างมโนกรรม ก็
ไมต่ อ้ ง ไปปวดหวั อีก แตถ่ า้ มนั ไม่เกิดปัญญา มนั ก็วาง
26
ความคิดไมไ่ ด้ เพราะวา่ มนั ยงั มีความอยาก ถา้ เราไม่มีความ
อยาก เราไม่มีเหตผุ ล ตอ้ งคิด
ถามวา่ ทาร์ซาน มนั คิดอยากไดร้ ถเบน็ ซม์ ้ยั ไม่ เอาไป
ทาไมไมร่ ู้ เพราะมนั ไมม่ ีความรู้ผดิ มนั กเ็ ลยไม่ตอ้ งทกุ ข์ ทกุ
วนั น้ีท่ีเราทุกข์ ไม่ใช่เรา อวชิ ชา ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ เรา เราเป็นคน
ไมร่ ู้ เป็นคนโง่
อวชิ ชา คือ ความรู้ผิด ไม่ใช่ความไมร่ ู้ มนั รู้ผดิ มนั ถึงคิด
รู้ผิด ทาใหม้ ีความอยาก ทาร์ซานไมม่ ีอวชิ ชา มนั ก็ไปคิดทาไม
เม่ืออวิชชาไม่มี สังขารกไ็ มเ่ กิด มนั กไ็ ม่ ตอ้ งคิดปรุงแตง่ อยาก
ไดร้ ถเบน็ ซ์ วิญญาณกไ็ ม่ตอ้ งเกิด ท่ีจะหาวิธีไปเอารถเบน็ ซ์มา
เพราะมนั ไม่มีอวชิ ชา แต่ทาร์ซานกไ็ มไ่ ดม้ ีโอกาส เจอวชิ ชา
ดว้ ย มนั ไม่รู้วิชชาพน้ ทกุ ข์ เรามาเจอแลว้ ถา้ ยงั ไมร่ ีบใชโ้ อกาส
น้ีมงุ่ มน่ั อีก บญุ มีแตก่ รรมบงั เป็นเร่ืองของนานาจิตตงั เราคิด
วา่ มนั ไมส่ าคญั
ทาไมพอ่ ครูบอก ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ ปริยตั ิ พระพทุ ธเจา้ ไม่มี
พระไตรปิ ฎกอา่ น พระองคเ์ ริ่มจากปฏิบตั ิ ลองผิดลองถูกอยู่
หกพรรษา เม่ือตรัสรู้ธรรมเขา้ สู่ปฏิเวธ ก็เอาสิ่งทพ่ี ระองคร์ ู้
พระองคเ์ ห็น มาบอกกลา่ วเท่าทพี่ ูดได้ ถา้ เราระลึกชาติไม่ได้
เราก็ไม่เชื่อ เช่ือบา้ งเชื่อตามที่เขาบอกเรา พระพุทธเจา้ ถงึ บอก
27
วา่ อยา่ เพ่งิ เช่ือท่ีเขาพดู พดู กนั มา ทาไมไมท่ าตามพระพทุ ธเจา้
พระพุทธเจา้ ไมอ่ า่ นพระไตรปิ ฎกเลย พระองคถ์ ึงบรรลธุ รรม
เพราะท่ีเราอา่ น มนั ถึงไม่บรรลุ เพราะเสียเวลามาตีความ มา
แปลวา่ มนั คือวา่ อะไร เอาขยะมาเพ่ิมอีก แตไ่ มใ่ ช่เป็นส่ิงไมด่ ี
พระไตรปิ ฎก เหมือนลายแทงเหมือนแผนที่ เม่ือเราปฏิบตั ิแลว้
ถึงเวลาหน่ึง มนั ไปไม่เป็น หรือมนั เจออารมณ์หน่ึงเราไมร่ ู้วา่
มนั เรียกวา่ อยา่ งไร เรากไ็ ปเปิ ด … อ๋อ….มนั เป็นแคช่ ่ือสมมติ
พ่อครู เห็นความตกต่า เส่ือมโทรมของสังคม เพราะ
พวกเราไมร่ ะวงั ไม่ต้งั มนั่ จริง ทุกคนกง็ ่าย ที่จะถูกครอบงา ไม่
บริสุทธ์ิ มีอามิสตลอด ทาอะไรแฝง ดว้ ยอามิสท้งั หมด เรา
หลอกคนอ่ืนได้ เราหลอกจิตเราไม่ไดห้ รอก มนั ชกั คะเยอ่ กนั
อยอู่ ยา่ งน้ี มนั จะไปไดย้ งั ไง กช็ ้ีใหด้ ูแลว้ วา่ สิ่งที่พระพุทธเจา้
เปล่งออกมาน้นั ใหเ้ ขา้ ถึงก่อนดีม้ยั แลว้ คอ่ ยไปดูวา่ พระองค์
เปล่งอะไร ไม่ตอ้ งไปแปล แตต่ อนน้ีไปแปลตีความ เสียเวลา
แลว้ ไมใ่ ช่พระพุทธเจา้ องคเ์ ดียวนะ
พระพทุ ธเจา้ ท้งั หลาย ท่ีบนั ทึกในพระไตรปิ ฎก เจา้ ชาย
สิทธตั ถะเป็นองคท์ ่ียส่ี ิบแปด อีกยส่ี ิบเจด็ พระองคใ์ นก่อนหนา้
น้ี ก็ไม่มีพระไตรปิ ฎกอ่าน ทาไมท่านเหลา่ น้นั บรรลธุ รรมได้
และไมม่ ีพระสงฆอ์ งคแ์ รกดว้ ย ตอนน้ีถึงเวลา ถา้ ตอ้ งการเปลง่
28
วาจาก็ตอ้ งพดู ส่ิงท่ีมนั เป็นจริง แตท่ ่ีน้ีใครแยกออก วา่ มนั จริง
มนั ไม่จริง อยทู่ ี่ปัญญา ระดบั ปัญญาไม่เท่ากนั ในสมยั
พระพุทธเจา้ พระองคใ์ หศ้ ึกษาปฏิบตั ิ จนแตกฉานแลว้ จึงคอ่ ย
ดาริ ใหส้ าวกออกไปประกาศพรหมจรรย์ ช้ีทางพน้ ทุกขใ์ ห้
สตั วโ์ ลก
ไมเ่ คยเปลง่ วา่ ใหไ้ ปประกาศศาสนา แมแ้ ตห่ น่ึงคร้ัง
ประกาศพรหมจรรย์ ช้ีทางพน้ ทุกขใ์ หส้ ัตวโ์ ลกท้งั หมด ไม่ใช่
คนกลมุ่ ใดกลมุ่ หน่ึง เป็นทางเดียว ที่ไมต่ อ้ งทะเลาะกบั ใคร
ส่วนเขาจะนบั ถือศาสนาใด ประเพณีวฒั นธรรม กเ็ ป็นเรื่อง
ของเขา ไปเปลี่ยนชีวติ เขาทาไม
ความรู้ ท่ีผา่ นภาษาเป็นแค่ขยะ แต่ไมใ่ ช่ไม่มีประโยชน์
บางคนฟังคร้ังเดียวบรรลธุ รรมก็มี แต่ไมใ่ ช่ทางสายกลาง วา่
ทุกคนทาได้ พระพทุ ธเจา้ ช้ีทางสายกลางใหเ้ ราแลว้ ทุกคนเดิน
ได้ ส่วนชา้ หรือเร็ว อยทู่ ี่บารมีของแตล่ ะคน สะสมมาไม่
เท่ากนั กรรมที่สร้างมาก็ไม่เหมือนกนั
แตต่ อนน้ีเราเรียนรู้ วิชาการเป็นแพคเก็จ เป็นแพทเทิร์น
เป็นวิชาตายตวั เลย มนั ก็เลย ไม่ไปถึงไหน เร่ืองจิตวญิ ญาณ
ไม่ใช่อยา่ งน้นั มนั เป็นนานาจิตตงั คาน้ีก็มคี าแปลในตวั แลว้
แต่ละดวงจิตไมเ่ หมือนกนั แต่เราเอาความคิด เป็นแบบยดั เยยี ด
29
คนมาใหม่ใช่ม้ยั .. มาเป็นหุ่นยนตเ์ หมือนกนั หมด มาเรียนกอ
ไก่ขอไข่ เอ บี ซี ฌานหน่ึง ฌานสอง ฌานสาม ฌานสี่
พ่อครูวา่ พดู ถึงยคุ น้ี แตล่ ะยคุ ไมเ่ หมือนกนั ถา้ ยคุ
โบราณทาอยา่ งน้นั บางทีบรรลุธรรมไดเ้ หมือนกนั เพราะ
กิเลสมนั ยงั ไมแ่ รง สิ่งปรุงแต่งยงั ไมเ่ ยอะมาก แตถ่ า้ ยคุ น้ีถา้ ทา
อยา่ งน้นั พอ่ ครูบอกวา่ ตายก่อน พระพุทธเจา้ รู้อยา่ งไร
พระองคเ์ ห็น พระองคถ์ ึงบอกวา่ เป็นไป ตามเหตแุ ละปัจจยั แต่
ตอนน้ีเรา ไม่ทาตามเหตุและปัจจยั เราไมม่ องวา่ เหตปุ ัจจยั มนั
เปลี่ยนแปลง เรายดึ มน่ั ถือมนั่ กบั ความเช่ือของตวั เอง อนุรักษ์
ของเก่ามนั ดี ของเกา่ ดีแน่ๆถา้ เป็นหลกั คาสอนพระพุทธเจา้ แต่
เทคนิคอบุ ายวิธี ตอ้ งปรับเปล่ียน ไปตามเหตุและปัจจยั
เราทาตาม พระพทุ ธเจา้ หรือเปลา่ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธให้
เขา้ ถึงก่อน มีความตอ้ งการรู้วา่ สภาวะน้นั อารมณน์ ้นั เขา
สมมติเรียกวา่ อะไร เราค่อยไปเปิ ดอ่าน อา่ นกไ็ ด้ ไม่อ่านกไ็ ม่
เป็นไร สาคญั คือ วิมตุ ติ ส่ีหา้ ขอ้ พดู มา ก็ไมม่ ีบอกวา่ ตอ้ งเพิม่
ความรู้อะไรเลย และทกุ ขอ้ ท้งั หมด รวมอยใู่ น ศีล สมาธิ
ปัญญา
ทาน ศีล ภาวนา เพ่อื อะไร เพื่อลด ละ เลิก พระองค์
ไม่ไดบ้ อกใหเ้ ราเพิม่ แมแ้ ตห่ น่ึงอยา่ ง อินทรีย๕์ พละ๕ มีอยู่
30
แลว้ เตม็ เป่ี ยม อินทรีย๕์ พละ๕ มนั เพ่มิ ข้ึน เพราะเราลด เราเอา
แค่กิเลสออก ลด ละ เลิก มนั กจ็ ะเพ่มิ ไม่ใช่เราสร้างมนั ข้ึน
มานะ มนั เกิดจาก เราเอาออก
การทาทานเหมือนกนั ทาน ศีล ภาวนา ทานเกิดจากเรา
เอากิเลส ความโลภ ความตระหน่ีออก บุญคือเบา บาปคือหนกั
เรายกภเู ขาออก มนั ก็เกิดตวั บุญแลว้ เห็นม้ยั บญุ ตวั น้ีมนั เกิด
จากเราเอาออก ไม่ใช่เราไปเพิ่มอะไรเขา้ มา ไมใ่ ช่เพม่ิ ความรู้
ปัญญาเกิดจากการ เห็นแจง้ ของจิต เกิดจากเราเอา อวชิ ชาออก
ไม่ใช่ไปเพ่มิ ความรู้ อนั น้นั ไปเพมิ่ ขยะ เพม่ิ อุปาทานเขา้ มา
ใหมอ่ ีก
ธมั มวจิ ยะในโพชฌงค๗์ เราปฏิบตั ิไป ปฏิบตั ิมา เรา
ทาท่าโนน้ ท่าน้ี เรารู้วา่ มนั ยกอยา่ งน้ี มนั กดกระดูกตรงน้ี เราก็
เบา เราก็วา่ ง เราก็ อ๋อ… มนั วจิ ยั ธรรม โดยไม่ตอ้ งผา่ นการ
นึกการคิด ธมั มวิจยะ คือ เขาวิจยั ธรรม วจิ ยั ความจริงท่ีมนั
เกิดข้ึนในอารมณ์น้นั โดยไมผ่ า่ นความคิด
เกิดจากประสบการณ์จริงๆ เดี๋ยวมนั ทกุ ข์ มนั ทกุ ขก์ ็
ทุกข์ ทุกข…์ เด๋ียวมนั ก็หายไป เห็นม้ยั มนั ไมผ่ า่ นความคิด มนั
ไปผา่ น จากการสมั ผสั จริงวา่ ทุกขก์ ็ไม่จีรังยงั่ ยนื ไม่เที่ยง ที่เรา
31
มีอารมณ์ทกุ ข์ มนั กค็ ือทุกขงั มนั ดารงอยไู่ ดย้ าก มนั กเ็ กิดข้ึน
ต้งั อยู่ สลาย เพราะมนั กเ็ ป็นอนตั ตา นน่ั แหละ ธมั มวิจยะ
วิจยั ธรรม โดยไมผ่ า่ นการนึกการคิด มนั เกิดปัญญาโดย
ไม่ตอ้ งเพ่ิมความรู้ พระองคไ์ ม่ไดส้ อนใหเ้ ราเพ่มิ อะไร แมแ้ ต่
หน่ึงอยา่ ง บุญเกิดจากอะไร จากเอาออก แตต่ อนน้ีเอาเงินไป
ซ้ือบุญกนั ไปสะสมบุญกนั มนั ไม่ใช่บญุ มนั เป็นแค่กิริยาใน
การทาบุญ แตจ่ ิตไมเ่ ป็นกศุ ลเลย ยง่ิ นานกย็ งิ่ หนกั บญุ คือจาคะ
คือสลดั ออก บญุ มนั เกิดจากเราเอาออก ไมใ่ ช่เรามาเพิ่มอะไร
เลย มนั ก็เบา นน่ั แหละคือบุญ
32
ท่ีมา : เร่ือง สมถะกรรมฐาน และ วปิ ัสสนากรรมฐาน
บรรยาย โดย พ่อครูบญั ชา ต้งั วงษ์ไชย
ศูนย์พลาญข่อย 3 มิถนุ ายน 2557