1
2
สารบญั
อิสรภาพของจิต 3
จิตเห็นจิต อยา่ งแจ่มแจง้ 5
จิตสอนจิต คือ ไตรลกั ษณ์ ใช่หรือไม่ 5
อุปาทาน 7
อุปาทานถกู เพกิ ถอน คือ นิพพาน ใช่หรือไม่ 10
การปฏิบตั ิช่วยอะไรได้ 12
อะไรคือ การปฏิบตั ิธรรม 13
3
อิสรภาพของจิต
เวลาที่เราเข้าจิตในจิต เรากไ็ ปเรียนรู้บารมเี ก่า ที่เราเคยฝึ กมา
ในอดีตชาติ หรือว่า เป็นร่างทรง แล้วมนั แตกต่างกนั อย่างไร
การต่อยอดคืออะไร มนั ต้องไปรื้อฟื้น ฝึ กฝนเรียนต่อวิชา ที่เรา
เคยฝึ กมา หรือ เพียงแค่ไปรู้ว่าเราเคยฝึ กวิชาเหล่านมี้ า
เป็นคาถาม ซ่ึงเกิดมาจากความเคยชินวา่ เราทาอะไร
ตอ้ งมีการกระทา การกาหนด การส่งั การ คือกิเลสความเคยชิน
คนในยคุ น้ีเป็นอยา่ งน้ี เมื่อเราเขา้ ไปจิตในจิตแลว้ เป็นเร่ือง
ของอิสรภาพของจิต ใหจ้ ิตเคา้ ดาเนินเอง โดยไมต่ อ้ งวา่ จะทา
อยา่ งไร ตอ้ งเป็นอยา่ งไร ตอ้ งไปเรียนตอ่ หรือเปล่า ไม่ตอ้ งคิด
อะไรเลย จิตปัจจุบนั นอบนอ้ มถอ่ มตน เรียนรู้กบั จิตเดิมเรา
ในอดีต สมมติวา่ ในอดีต เราฝึกวิชาน้นั มนั ก็มาตอ่ ยอด สักพกั
หน่ึง เคา้ กเ็ ปลี่ยนอยา่ งอื่น จนถงึ เวลาหน่ึง เคา้ คิดวา่ มนั มีวชิ า
หลกั ที่เป็นวชิ า ท่ีเด่นที่สุด มีกาลงั มากท่ีสุด เคา้ ก็ใหจ้ ิตปัจจุบนั
ใชเ้ ทคนิคตรงน้นั ดาเนิน
เหมือนเราออกกาลงั กาย เราเลอื กว่ิงตอนเชา้ ต่นื มาเราก็
ว่ิง ไมใ่ ช่ติด ไม่ติด มนั เป็นอุบายวิธี ที่ทาใหเ้ ราแขง็ แรง ทีน้ี
4
ใครรู้วา่ เราตอ้ งทาอยา่ งไร จิตเดิมเรารู้ จิตปัจจุบนั หรือวา่
สมองปัจจุบนั อยา่ ไปคิดหาวธิ ี วา่ จะตอ่ ยอด หรือไมต่ อ่ ยอด
จะเป็นยงั ไง เราไม่รู้จริง แตส่ ิ่งที่รู้จริง คือจิตเดิมเรา เคา้ รู้เองวา่
ควรจะทาอยา่ งไร ไม่ใช่อดีต เราฝึกนง่ั ฌานมานาน ก็ไปติด
เป็นอนุสัย บางคร้งั เรามา ก็ไปตดิ ในฌาน มนั ก็ไปทาตามความ
เคยชินตรงน้นั แตถ่ า้ เรารู้วา่ มนั ติดแลว้ เราตอ้ งอยา่ ติด ติด
อะไรกค็ ือหลง ติดดีกค็ ือหลงดี หลงอะไร ก็คือ โลภ โกรธ
หลง คือ ทกุ ข์ อยา่ พยายามคิดวา่ จะทาอยา่ งไร อยา่ ใชส้ มอง
โง่ ๆ ของเราไปสงั่ จิตเดด็ ขาด
เราเรียนรู้วิชา เคา้ บอกเราวา่ ทาอยา่ งน้ี เรากไ็ ปจามา เรา
กไ็ ปทาตาม เราก็ส่งั การวา่ เราตอ้ งทาแบบน้ี ไม่ตอ้ งใชค้ วามคิด
แบบน้ี ฝึกจิตเร่ิมแรก ฝึกสมถะกรรมฐาน แน่นอนเรามีการ
สั่งการ มีการฝึก แตช่ ่วงเขา้ ไปสู่วิปัสสนา เขา้ ไปในจิตแลว้
ไม่ตอ้ งทาอะไร จิตเดิมเคา้ รู้เองวา่ เคา้ จะทาอะไร เคา้ ทาอะไร
เรากร็ ู้ เคา้ เปล่ียนเรากร็ ู้ เคา้ ทาอะไร เราก็รู้เทา่ น้นั เอง อยา่ ไป
หลงติดมนั
5
เม่ือจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งแล้ว มนั จะทาหน้าที่ เป็นอัตโนมตั ิ
ใช่ไหม
ก็ตอ้ งแจ่มแจง้ ไมใ่ ช่จิตเห็นจิตเฉย ๆ จิตเห็นจิตคือ
มรรค เขา้ ไปอยกู่ ระแสเทา่ น้นั เอง ถา้ เราเห็น ภาษาองั กฤษ
บอก exactly เห็นอยา่ งแจ่มแจง้ กระจ่างแลว้ วา่ ทกุ อยา่ งเป็น
อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา อะไรก็ไมใ่ ช่ เราก็จางคลาย ความยดึ มน่ั
ถือมนั่ ในกายภาพ ในอตั ตาตวั ตน เขา้ ไปสู่ สุญญตา กว็ า่ งจาก
อตั ตา เวลาที่เหลือของเรา มนั ทาเพราะทา เป็นอตั โนมตั ิ
เป็นตามธรรมชาติ เมอ่ื มีสติ เห็นความเกิดดบั เรากส็ กั วา่ รู้
สักวา่ เห็น
จิตสอนจิต คือ ไตรลกั ษณ์ ใช่หรือไม่
ถา้ ตอบตรงๆ เราพยายามอยากรู้ภาษา ถา้ จิตสอนจิต คือ
ไตรลกั ษณ์ ใช่หรือไม่ ตอบวา่ ไมใ่ ช่ ยงั ไม่ใช่ จิตเห็นจิตเป็น
แค่มรรค ส่วนเราเจริญมรรคแลว้ เราเขา้ ไปถึงไตรลกั ษณ์
หรือเปล่า ถา้ เราเขา้ ไปถึงไตรลกั ษณ์ เขา้ ไปถงึ กฎสามประการ
6
ของธรรมชาติแลว้ วา่ มนั เป็นอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา นนั่ คือผล
ของการเจริญมรรค เราจะเกิดปัญญาวา่ ทุกอยา่ งมนั เป็น
อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา มนั คืออะไร พอเราเขา้ ไปเห็น อารมณ์
ดี๊ดี กาลงั มีความสุข มนั ก็หายไป ความทกุ ขก์ ็เกิดข้ึน นน่ั แหละ
เราเห็นไตรลกั ษณแ์ ลว้ ความดีกไ็ มเ่ ท่ียง เกิดแลว้ ก็ดบั อารมณ์
ไม่ดีก็ไมเ่ ท่ียง มนั เกิดดบั
เราเห็นมนั บอ่ ย ๆ สมั ผสั บอ่ ย ๆ เราก็เขา้ ใจวา่ ทกุ อยา่ ง
ไมเ่ ท่ียง มนั เกิดข้ึน ต้งั อยู่ สลาย เป็นอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา
กฎพระไตรลกั ษณ์ คือ ลกั ษณะสามประการ ของธรรมชาติ
อีกก่ีลา้ นปี ใครกล็ ม้ ไมไ่ ด้ มนั ไมใ่ ช่ทฤษฎี ที่พระพทุ ธเจา้
ต้งั ข้ึนมา มนั เป็นความจริง ทพ่ี ระพุทธเจา้ ไปตรัสรู้ ความจริง
ซ่ึงมีอยแู่ ลว้ ตามธรรมชาติ ถา้ จิตเขา้ ถงึ ตรงน้นั แลว้ กย็ อมรับ
โดยดุษฎีวา่ ทกุ อยา่ งมนั ไมเ่ ท่ียง แมก้ ระทง่ั ตวั เรา ก็ไม่ใช่
ของเรา ไอเ้ จา้ ตวั ฉนั ฉนั เห็นคนแก่ทุกขม์ าก เธอหา้ มแก่ เธอ
หา้ มเจบ็ ดว้ ย คนเจบ็ ร้องโอย ๆ ฉนั ไมต่ อ้ งการเจบ็ ฉนั เห็นคน
ตาย ร้องไหก้ นั วนุ่ เลย ฉนั ไม่อยากตาย ไอต้ วั ฉัน เธอตอ้ งฟัง
ฉนั หา้ มแก่ หา้ มเจบ็ หา้ มตาย มนั เช่ือเราไหม มนั ไมเ่ ช่ือเรา
7
มนั ไม่ไดฟ้ ังเรา มนั ไม่ใช่ของเรา นน่ั แหละคาวา่ อนิจจงั ทกุ ขงั
อนตั ตา คือ กฎพระไตรลกั ษณ์
จิตสอนจิต คือ ทาใหเ้ รา เหน็ ไตรลกั ษณ์ แตม่ นั ไม่ใช่
ไตรลกั ษณ์ สอนใหเ้ ราไปเห็นไตรลกั ษณ์ ภาษาน่ีตอ้ งระวงั
ถา้ เราตอบอยา่ งน้ี แลว้ ก็เอาไปพดู กนั ตอ่ แลว้ คนจอ้ งจบั ผิดก็
มีอยู่ จริงๆความรู้เหล่าน้ี รู้กไ็ ด้ ไม่รู้กไ็ ม่เป็นไร มนั เป็นภาษา
วิชาการทางพทุ ธศาสนา
อปุ าทาน คือ อะไร
อยากรู้วา่ มนั คืออะไร พยายามแสวงหาความรู้ เอาภาษา
มาคุยกนั จริง ๆ แลว้ มนั เป็นแคค่ วามรู้เฉย ๆ มนั ไมใ่ ช่ความ
จริง ภาษาเป็นแค่ความรู้ แตก่ ร็ ู้ไวเ้ ป็นขอ้ สงั เขป
อปุ าทาน คือ ความยดึ มน่ั ความถือมน่ั ความยดึ ติด
อปุ าทาน หมายถงึ ความยดึ มน่ั ถือมนั่ ที่ผดิ ดว้ ยอานาจกิเลส
โดยนึก หรือเขา้ ใจเอาเอง วา่ เป็นอยา่ งน้นั เป็นอยา่ งน้ี หรือการ
นึกเอาเอง เขา้ ใจเอาเอง แลว้ ยดึ มน่ั ถือมนั่ วา่ ตอ้ งเป็นอยา่ งน้นั
8
ตอ้ งเป็นอยา่ งน้ี อปุ าทานจดั เป็นผล ของตณั หาอยา่ งหน่ึง ท่ี
เป็นเหตุ ทาใหเ้ กิดความเสียหาย เศร้าหมอง เช่น หากยดึ มน่ั ใน
กามตณั หา ก็จะทาใหร้ ิษยา หึงหวง หากยดึ มนั่ ในความคิดเห็น
กจ็ ะทาใหม้ ีทิฐิมานะสูง และหวั ด้ือ ด้ือร้ัน หากยดึ มนั่ ในธรรม
เนียม ก็จะทาใหง้ มงาย เช่ืองา่ ย หากยดึ มน่ั ในตวั เอง กจ็ ะทาให้
ทะนงตวั เยอ่ หยงิ่ จองหอง ถือเราถือเคา้
สรุป อปุ าทาน คือ ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ ในตณั หาน้นั ๆ
อยา่ งแรง ถอนความรู้สึกไดย้ าก จนติดอยใู่ นสนั ดาน อุปาทาน
ในทางวชิ าการ แยกเป็นสี่ประการ โดยเฉพาะภาษาบาลี รู้กไ็ ด้
ไมร่ ู้ก็ไมเ่ ป็นไร รู้ก็รู้ แลว้ ก็วาง อยา่ ไปฝังเป็นสัญญา เป็นขยะ
แลว้ ก็ไปนง่ั เหวี่ยงทงิ้ รู้เพอื่ รู้แนวทาง
ขอ้ ที่หน่ึง กามปุ าทาน ความยดึ ถือ หรือยดึ เหน่ียว เอา
กามคุณมาเป็นอารมณ์ ไดแ้ ก่ อารมณ์ท้งั ๖ คือ ความยนิ ดี
พอใจ ติดใจใน รูป เสียง กล่ิน รส สมั ผสั และธรรมารมณ์
ธรรมารมณ์ก็คืออารมณ์ รูปสมั ผสั ดว้ ยตา เสียงสัมผสั ดว้ ยหู
กล่ินสัมผสั ดว้ ยจมกู รสสัมผสั ดว้ ยลิ้น ผสั สะกส็ ัมผสั ดว้ ยกาย
9
เยน็ ร้อน ออ่ น แขง็ แลว้ กม็ ารู้อารมณ์ทใ่ี จ อนั น้ีเรียกวา่
อายตนะท้งั ๖
ข้อที่สอง ทิฏฐุปาทาน การยึดม่ันถือม่ัน ในความ
คิดเห็น ผิดไปจากสภาวธรรม ซ่ึงเป็นความเป็นจริง คนที่มีทิฐิ
มานะ กม็ ีอปุ าทานเรื่องน้ี
ขอ้ ที่สาม สีลพั พตั ตปุ าทาน การยดึ ถือเอาศลี วตั ร ขอ้
ปฏิบตั ิผดิ ไปจากสภาวธรรม แห่งความเป็นจริง ในทางพทุ ธ
ศาสนา ก็คือวา่ เราไปหลงเขา้ ใจศีลวตั ร ปฏิบตั ิตา่ งๆ ผดิ จาก
ความเป็นจริง กท็ าใหเ้ กิดอปุ าทาน
ขอ้ ที่ส่ี อตั ตวาทุปาทาน การยึดถือ เอาตัวตน คนเรา
สัตว์ ว่ามีอยู่ เป็ นอยู่ ดงั น้ีเป็ นตน้ ซ่ึงตามหลกั สภาวธรรมแลว้
ไม่มีตวั ตน คนเรา สัตว์ หรือแมแ้ ต่วตั ถุส่ิงของ เพราะทุกสิ่ง
ทกุ อยา่ งเป็นอนตั ตาท้งั สิ้น ตามธรรมดาคนเรา มกั ยดึ ถือเอาว่า
ร่างกาย และจิตใจ เป็นตวั เราอยตู่ ลอดเวลา ดว้ ยเหตุน้ีอตั ตวา
ทุปาทาน จึงเป็ นอุปาทานอนั ดบั แรก ๆ ที่มีอยู่เป็ นประจา ใน
สันดานของมนุษย์ เพราะเราเกิดมา เราก็อย่กู บั ตวั เองแลว้
เริ่มจากมีตัวกูของกู ก็สร้างอุปาทานตัวน้ีมา อันน้ีเรียกว่า
10
อตั ตา คนจีนเคา้ มีคาหน่ึง สือ เจียน ฉาง จ่ิว เป้ี ยน จ้ือ หยาง
เมื่อเวลาผา่ นไปเน่ินนาน ก็กลายเป็นธรรมชาติของเรา เราอยู่
กับร่างกายน้ี จนเคยชิน เราก็คิดว่า นี่ตัวเรา เป็ นของเรา
กลายเป็นอตั ตาข้ึนมา
เม่ืออปุ าทานถกู เพิกถอน คือนิพพานใช่หรือไม่
ตอบว่า ไม่ใช่ นิพพาน ไม่ได้เป็ นอะไร อุปาทาน เป็ น
แค่ปลายเหตุ กิเลสทาให้เกิดตณั หา ตณั หาทาให้เกิดอุปาทาน
อุปาทานทาให้เกิดทุกข์ ถา้ เราดบั อุปาทานได้ มนั ก็ไม่ทุกข์
ชวั่ คราว แต่ถา้ กิเลสตณั หามนั ยงั อยู่ เราไม่ทุกข์ แต่เรายงั ไม่
พน้ ทุกข์ ยงั ไมใ่ ช่นิพพาน
นิพพานคืออะไร นิพพานไมใ่ ช่อะไรท้งั น้นั พดู วา่ เป็น
อะไรก็ไม่ได้ แตเ่ คา้ ใชค้ าวา่ นิพพานโดยลกั ษณะ โดยลกั ษณะ
ที่มีอยู่ สามประการ คือ
อนิมิตตะนิพพาน คือ นิพพานที่ดบั รูปนาม ไม่มีนิมิต
เคร่ืองหมายใดๆ
11
อัปปณิหิตะนิพพาน คอื นิพพานดบั รูปนาม ไมม่ ี ราคะ
โทสะ โมหะ เหลืออยอู่ กี
สุญญตะนิพพาน คือ นิพพานดบั รูปนาม วา่ งจาก ราคะ
โทสะ โมหะ สูญสิ้นจากกิเลส อาสวะ และขนั ธ์๕ ไม่มีอะไร
เหลืออยเู่ ลย
นิพพาน โดยลกั ษณะมสี ามระดบั แตท่ ่ีเหมือนกนั ถา้ ถึง
ข้นั นิพพาน คือดบั ทกุ ขแ์ ลว้ ไม่ทกุ ขอ์ ีกต่อไป เพียงแตว่ า่ ความ
บริสุทธ์ิของนิพพาน มีสามระดบั เคา้ ใชค้ าวา่ ลกั ษณะของ
นิพพาน ส่วนธาตุแทข้ องนิพพาน ใชค้ าวา่ ธาตุแท้ มอี ยสู่ อง
ประเภท
หน่ึง สอปุ าทิเสสนิพพานธาตุ คือนิพพานที่ยงั มีอุปาทิ
คือ มีขนั ธ์๕ เหลืออยู่ หมายถึง พระอรหนั ตท์ ี่ยงั มีชีวติ อยู่ แลว้
ไดล้ ะกิเลสอาสวะ ไปหมดสิ้นแลว้ ไม่มีอะไรเหลืออยู่
สอง อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ไดแ้ ก่ พระอรหนั ตท์ ี่เขา้
สู่ปรินิพพาน คือดบั ขนั ธแ์ ลว้
ภาพยนตร์พระพุทธเจา้ ตอนท่ีพระองคด์ บั ขนั ธ์ เขา้ สู่
ปรินิพพานแลว้ คือ พระอรหนั ตท์ ่ียงั อยู่ ยงั มขี นั ธ์๕ ยงั ไมล่ ะ
12
สงั ขาร อนั ที่สอง คือ พระอรหนั ตท์ ี่ละขนั ธ์๕ ไปแลว้ เขา้ ไปสู่
ปรินิพพาน
การปฏิบัติท่ีผ่านมา จะช่วยอะไรได้บ้าง
ถา้ ปฏิบตั ิอยใู่ น ทาน ศลี ภาวนา เราไดเ้ พิ่มอนิ ทรียพ์ ละ
เรา ทาใหก้ าลงั ของจิตมากข้ึน ถา้ เกิดชาตนิ ้ียงั ไมถ่ ึงฝ่ัง ที่เราฝึก
มาท้งั หมด มนั ไม่ไดส้ ูญไปไหน กาลงั ตวั น้นั มนั ส่งผลถึง
อนาคตชาติ ไมต่ อ้ งห่วง ไม่ตอ้ งไปคิด วา่ อยากจะทาเพอ่ื อะไร
อยากจะทาใหม้ นั สาเร็จไวๆ อยา่ คิดแบบ คา้ กาไรเกินควรนะ
เราหลงป่ า ส่ิงท่ีเราตอ้ งทา คือหาทางเดินออกจากป่ า สถาน
เดียว กลางคืนกน็ อน ต่ืนเชา้ มาก็เดินอีก ข้ีเกียจก็เดิน ขยนั ก็
เดิน เบ่อื กเ็ ดิน ไม่เบ่ือก็เดิน หรือวา่ ข้ีเกียจเดิน นง่ั เฉยๆ รอให้
เสือมนั มากินเรา เดิน มนั จะถึงเมื่อไหร่ช่างมนั
พ่อครูถึงบอกวา่ อยา่ ผลดั วนั ประกนั พรุ่ง ตอนน้ีเราถูก
ทางโลกเรา ดึงวา่ ตอ้ งเกษียณก่อนถึงคอ่ ยปฏิบตั ิ แต่ในทางจิต
วญิ ญาณแลว้ ถา้ เรารู้ เราเกษียณต้งั แต่วนั น้ีเลยก็ได้ เกษียณจาก
13
ความทุกข์ เกษียณจากความยดึ มน่ั ถือมน่ั เกษียณจากความ
โลภ ความโกรธ ความหลง คาวา่ เกษียณ ตรงน้ีคือวา่ ไมใ่ ช่วา่
ฉนั นง่ั เฉยๆ กินแลว้ กน็ อนเฉยๆ เราทางาน เรากท็ าไป แตว่ า่
จิตเราเกษียณ จากความยดึ มนั่ ถือมน่ั ตลอดชีวิตน้ีเราเกษียณ
ไม่ลงเลย คาวา่ เกษียณของจิต ไม่ใช่เรื่องอายุ ถา้ ใครวางได้
เดี๋ยวน้ี เกษียณเด๋ียวน้ี วางไดพ้ รุ่งน้ี เกษียณพรุ่งน้ี เกษียณแลว้
เวลาท่ีเหลือเราเป็นอิสรภาพ แต่ตอนน้ีทางโลกเคา้ สอนวา่ อยา่
เพิง่ คิดเร่ืองปฏิบตั ิธรรมอะไร รอเกษียณก่อน
อะไรคือการปฏิบัติธรรม
ตอบงา่ ย ๆ สาหรับพอ่ ครู การปฏิบตั ิธรรม คือ การ
กระทาตามธรรมชาติ แต่ธรรมชาติมีหลายระดบั ระดบั เปรต
อสุรกาย ระดบั สัตวเ์ ดรัจฉาน ระดบั คนที่เราเรียกวา่ มนุษย์
ระดบั เทพเทวดา หรือพรหม ระดบั อริยะเจา้ ระดบั อริยะเจา้ ก็
แบ่งเป็นหลายระดบั คือ สี่คู่ แปดบุรุษ ท่ีวา่ สงฆค์ วรแก่
สกั การะและบชู า พอ่ ครูลาดบั ใหฟ้ ัง ต้งั แตส่ ัตวน์ รก เปรต
14
อสุรกาย สตั วเ์ ดรัจฉาน มนุษย์ แลว้ กเ็ ทวดา พรหม แลว้ กพ็ ระ
อริยะ แตล่ ะระดบั เคา้ แบ่งเป็นหลาย ๆ ข้นั ใชค้ าวา่ Level
ระดบั เทวดามีหลายข้นั อณุ หภูมิของความสุขแตกตา่ งกนั
สตั วน์ รกกม็ ีหลายข้นั อณุ หภมู ิของความทุกขห์ ลายข้นั อนั น้ี
คือคร่าว ๆ แตท่ ีน้ีมนั แบง่ เป็นส่วนใหญ่ ๆ คือ สามโลกธาตุ
คือ นรกสมบตั ิ มนุษยส์ มบตั ิ สวรรคส์ มบตั ิ แลว้ ก็สุดทา้ ย
นิพพานสมบตั ิ อนั น้ีไม่ไดน้ บั อยใู่ นโลกธรรมท้งั สามอยา่ ง ใน
โลกธรรมมีสาม ส่วนนิพพานสมบตั ิ หลดุ ออกจากตรงน้ีแลว้
เราอยใู่ นสามโลกธาตุน้ี มีมนุษยส์ มบตั ิเท่าน้นั ท่ีจะกา้ ว
กระโดดได้ เราเป็นสัตวป์ ระเสริฐ ชนิดเดียวเทา่ น้นั ส่วนระดบั
อ่ืน ๆ ไปจ่ายหน้ีกรรม เทวดากต็ อ้ งรับกรรมดี ตามกระแส
กรรมดี พวกนรกสมบตั ิก็ตอ้ งรับ กรรมชวั่ ตามกระแสกรรม
ส่วนมนุษยส์ มบตั ิ เราเปล่ียนได้ พอ่ ครูพดู บรรยายเร่ืองผเี ส้ือ
ก่อนจะเป็นผเี ส้ือ มนั เป็นหนอนตวั ออ่ น เคลอ่ื นไหวไมไ่ ด้ กิน
แลว้ ก็นอน พอมนั โตข้ึน มนั เป็นหนอนผีเส้ือ มนั เคล่ือนยา้ ย
ไดแ้ ลว้ กลายเป็นสตั วเ์ ล้ือยคลาน ถา้ มนั เอาตวั รอด มนั พฒั นา
ไปเรื่อย ๆ มนั กลายเป็นผีเส้ือ มนั พฒั นาแบบกา้ วกระโดด จาก
15
สตั วเ์ ล้ือยคลาน กลายเป็นสตั วป์ ี ก บินบนอากาศได้ อนั น้ีคือ
ในแง่ผเี ส้ือ ในแง่พฒั นาการทางดา้ นกาย แต่ในแง่จิตวญิ ญาณ
แลว้ มนั กา้ วกระโดดไม่ได้
มนุษยเ์ รา ในแง่จิตวิญญาณ เราจากเกิดมาเป็นมนุษย์
เราสามารถพฒั นาไปสู่เทวดา ไปสู่เป็นพรหมได้ พรหมวิหาร
คือ ที่อยขู่ องมนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐ แลว้ กพ็ ฒั นาไปสู่อริยะบคุ คล
ได้ มนุษย์ เป็นสตั วช์ นิดเดียวเทา่ น้นั ที่เราพฒั นาแบบกา้ ว
กระโดดได้ เม่ือเราเกิดมา เป็นมนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐแลว้ ถา้ เรา
ละเลย พอ่ ครูใชค้ าวา่ เสียดายชาติเกิด ทกุ วนั น้ีเรากราบไหว้
พระอรหนั ต์ พระพทุ ธเจา้ เรากราบไหวร้ ่างกายขา้ งนอก เป็น
เจา้ ชายสิทธตั ถะ กเ็ ป็นมนุษย์ แตข่ า้ งในกลายเป็นพระพุทธเจา้
เป็นอริยะ มนุษยพ์ ฒั นาอยา่ งน้นั ได้ เป็นสัตวป์ ระเสริฐชนิด
เดียวเทา่ น้นั ที่ทาอยา่ งน้นั ได้
ส่ิงท่ีเราเหนือกวา่ สตั วเ์ ดรัจฉาน มีอยา่ งเดียวก็คือ เรา
พฒั นาจิตวิญญาณ แบบกา้ วกระโดดได้ สตั วเ์ ดรัจฉาน เคา้ ก็มี
กาย แต่เคา้ เป็นจิตระดบั ต่า เคา้ เกิดมาในร่างของสตั ว์ เคา้ คิดที่
16
จะเจริญวปิ ัสสนา เคา้ เจริญมรรคไม่เป็น เคา้ จ่ายหน้ีกรรมอยา่ ง
เดียว เคา้ เดินไปตาม ขบวนกระแสกรรม
แตม่ นุษยเ์ รา พฒั นาจากมนุษย์ ใหก้ ลายเป็นพรหม เป็น
เทพ เป็นพระอริยะได้ พระอริยะที่เราเรียก สี่คู่ แปดบุรุษ เป็น
สงฆค์ วรแก่สกั การะและบชู า อนั แรกก็คือ โสดาปัตติมรรค
คือจิตเห็นจิตคือมรรค ถา้ เราเขา้ ไปในจิตแลว้ จิตเคา้ ดาเนินเอง
เราเขา้ ไปสู่กระแสมรรคแลว้ ข้นั ต่าสุด ถา้ ในทางวชิ าการจิต
วิญญาณ ไม่มีนรกอีกแลว้ สูงสุดอีกแคเ่ จด็ ชาติ เราเขา้ ไปสู่
กระแสพระอริยะ พระอริยะสงฆข์ ้นั เร่ิมตน้ คือโสดาปัตติมรรค
เหมือนเราเรียนปริญญาตรี เรากาลงั เรียนอยู่ เราเป็นนิสิต
ปริญญาตรี เรียกวา่ โสดาปัตติมรรค เมื่อเราจบปริญญาตรี เรา
ก็ได้ เป็นนกั ศึกษาปริญญาตรี คือ โสดาปัตติผล เราเรียน
ปริญญาโทตอ่ ช่วงเรียนปริญญาโท เรียกวา่ สกิทาคามีมรรค
เป็นทางเดิน ของนกั ศกึ ษาปริญญาโท เมื่อเราจบปริญญาโท
แลว้ ก็เป็น สกิทาคามีผล อนั น้ีคูท่ ่ีสอง เราไมพ่ อใจ เราเรียน
ปริญญาเอกตอ่ ช่วงท่ีเรียนปริญญาเอก เปรียบเสมือนวา่ เป็น
อนาคามีมรรค ทางเดินของนกั ศึกษาปริญญาเอก เมื่อเราจบ
17
ปริญญาเอกแลว้ เป็นดอกเตอร์แลว้ เรากเ็ ป็น อนาคามีผล นี่คูท่ ่ี
สาม ตอนน้ีเคา้ ไม่พอใจ แคจ่ บดอกเตอร์ไม่พอ ตอ้ งวจิ ยั เป็น
ศาสตราจารย์ ช่วงที่เราดาเนินอยู่ เรียกวา่ อรหตั มรรค ทางเดิน
ของพระอรหนั ต์ เมื่อเราทาสาเร็จแลว้ เราไดเ้ ป็นศาสตราจารย์
เรียกวา่ อรหตั ผล นี่เรียกวา่ สี่คู่ แปดบุรุษ เป็นสงฆค์ วรแก่
สกั การะและบชู า มนั หมายถึง สภาวธรรมของจิต ไม่เกี่ยวกบั
เครื่องแตง่ กาย ไมเ่ ก่ียวกบั ทรงผม ไม่เกี่ยวกบั อาชีพ
ฝอ ไจ้ หลิง ซาน พระอยใู่ นภูเขาจิต ทกุ อยา่ งจบอยทู่ ี่จิต
18
ท่ีมา : เรื่อง อุปาทาน
บรรยาย โดย พ่อครูบญั ชา ต้งั วงษ์ไชย
ศูนย์พลาญข่อย 6 กนั ยายน 2558