The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumarin0618, 2022-07-06 10:12:53

3. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

3. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

1

พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (2 ฉบับ)

ตรา พ.ร.บ. นีข้ นึ้ ไวโ้ ดยคำแนะนำและความยนิ ยอมของ รฐั สภา

ฉบบั ที่ 1 ใหไ้ ว้ 27 ก.ย. ประกาศ 14 พ.ย. 2539 บงั คับใช้ 14 พ.ค. 2540 (พ้น 180 วนั ถัดจากวนั ประกาศ)

ผรู้ ับสนองราชโองการ นายบรรหาร ศิลปะอาชา

เหตผุ ลในการประกาศใช้ การดำเนนิ งานทางปกครองยังไม่มหี ลกั เกณฑแ์ ละขน้ั ตอนทเี่ หมาะสม จึงกำหนดหลักเกณฑแ์ ละขั้นตอนต่างๆ

เพื่อให้การดำเนินงานถกู ต้องตามกฎหมาย มีประสิทธิภาพในการใชก้ ฎหมายรกั ษาประโยชนส์ าธารณะได้ อำนวยความเป็นธรรมแกป่ ระชาชน
และป้องกันการทุจริตและประพฤติไมช่ อบทางราชการ

ฉบับท่ี 2 ใหไ้ ว้ 29 ธ.ค. ประกาศ 30 ธ.ค. บงั คับใช้ 31 ธ.ค. 2557

ผู้รบั สนองราชโองการ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา

เหตผุ ลในการประกาศใช้ เปน็ การสมควรแกไ้ ขเพ่มิ เติมกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครองเพอ่ื กำหนดหลักเกณฑ์ในการจดั ทำคำสง่ั
ทางปกครองให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาประโยชน์สาธารณะและอำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน อีกทั้งยังเป็นการป้องกันการทุจริต

และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ

ฉบบั ท่ี 3 ให้ไว้ 24 พ.ค. ประกาศ 27 พ.ค. บังคบั ใช้ 28 พ.ค. 2562

ผ้รู ับสนองราชโองการ พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา
เหตุผลในการประกาศใช้ ปัจจุบันบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองยัง

ไม่มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ โดยเฉพาะการกำหนดให้ชำระเงิน ซึ่งนำวิธีการยึด อายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง่ มาบงั คบั ใช้โดยอนุโลมจงึ ไม่มีรายละเอียดวิธกี ารปฏบิ ัติและระยะเวลาในการบงั คับใช้ทางการปกครองชดั เจน

ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมต่อผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางการปกครอง ประกอบกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐส่วนใหญ่ไม่
เชี่ยวชาญในการยึด อายัด การขายทอดตลาดทรัพย์สิน และไม่มีบทบัญญัติที่ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในการสืบหาทรัพย์สินและมอบหมายให้
หนอ่ ยงานอืน่ หรือเอกชนดำเนนิ การแทนได้

ส่งผลให้ไม่สามารถบังคับตามคำสั่งทางปกครองทีก่ ำหนดให้ชำระเงินไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และรฐั ตอ้ งสูญเสียรายได้ในท่ีสุด จึงต้อง
ปรบั ปรุงหลกั เกณฑ์ในการบังคบั ทางปกครองให้ชัดเจน มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรมยิ่งขน้ึ

นายกรฐั มนตรรี กั ษาการ

มี 5 หมวด 87 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล 2

หมวด 1 คณะกรรมการวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง
หมวด 2 คำสงั่ ทางปกครอง
หมวด 2/1 การบงั คับทางปกครอง
หมวด 3 ระยะเวลาและอายคุ วาม
หมวด 4 การแจง้
หมวด 5 คณะกรรมการทม่ี อี ำนาจดำเนนิ การพจิ ารณาทางปกครอง
บทเฉพาะกาล

มาตรา 3 วิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครองตามกฎหมายตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ำหนดในพระราชบญั ญัติน้ี
เว้นแต่ ในกรณีทีก่ ฎหมายใดกำหนดวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครองเรือ่ งใดไวโ้ ดยเฉพาะและมีหลักเกณฑท์ ี่ประกันความเป็นธรรมหรือมี

มาตรฐานในการปฏบิ ตั ริ าชการไมต่ ่ำกวา่ หลกั เกณฑ์ทกี่ ำหนดในพระราชบัญญัตินี้ เช่น ก.พ. หรอื ขา้ ราชการครู

มาตรา 4 พระราชบัญญัตนิ ้ี ไม่ให้ใช้บังคบั แก่...

(1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
(2) องคก์ รทใ่ี ช้อำนาจตามรฐั ธรรมนญู โดยเฉพาะ
(3) การพจิ ารณาของนายกรฐั มนตรีหรอื รฐั มนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง
(4) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจ้าหนา้ ทใี่ นกระบวนการพจิ ารณาคดี การบงั คบั คดี และการวางทรัพย์
(5) การพิจารณาวนิ จิ ฉยั เรอื่ งรอ้ งทกุ ขแ์ ละการสง่ั การตามกฎหมายวา่ ด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
(6) การดำเนนิ งานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
(7) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้องกัน และรักษาความ

มัน่ คงของราชอาณาจกั รจากภัยคกุ คามทัง้ ภายนอกและภายในประเทศ

(8) การดำเนนิ งานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(9) การดำเนนิ กิจการขององค์การทางศาสนา

การยกเว้นไม่ให้นำบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับแก่การดำเนินกิจการใดหรือกับหน่วยงานใดนอกจากที่กำหนดไว้
ใหต้ ราเปน็ พ.ร.ฎ. ตามขอ้ เสนอของคณะกรรมการวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

3

มาตรา 5 (นิยามศพั ทใ์ น พ.ร.บ. ฉบบั น้)ี การเตรยี มการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดใหม้ ี คำส่ังทางปกครอง หรอื กฎ
รวมถงึ การดำเนินการใดๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
วิธปี ฏิบัติราชการทางปกครอง

การพิจารณาทางปกครอง การเตรยี มการและการดำเนนิ การของเจ้าหนา้ ท่ีเพอ่ื จัดใหม้ ี คำส่งั ทางปกครอง

คำสัง่ ทางปกครอง (1) การใชอ้ ำนาจตามกฎหมายของเจา้ หน้าที่ทมี่ ผี ลเปน็ การ สรา้ งนติ สิ มั พนั ธ์ ขนึ้ ระหวา่ ง

บุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อ
สถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลไม่ว่าจะเป็นการถาวร หรือชั่วคราว เช่น การส่ัง

การ การอนุญาต การอนมุ ัติ การวนิ ิจฉยั อทุ ธรณ์ การรบั รอง และการรับจดทะเบียน

แตไ่ ม่หมายความมรวมถึงการออกกฎ
(2) การอ่นื ท่ีกำหนดในกฎกระทรวง เชน่ การออกคำส่งั การเลื่อนเงินเดอื น

กฎ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอ้ บญั ญัตทิ อ้ งถนิ่ ระเบียบขอ้ บงั คบั

ไมม่ ี พ.ร.บ. และ พ.ร.ก. หรือบทบัญญัติอ่นื ท่ีมผี ลบงั คับ เป็นการทัว่ ไป โดยไม่มงุ่ หมายให้ใชบ้ ังคบั แกก่ รณใี ด
หรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ

คณะกรรมการวนิ ิจฉัยขอ้ พิพาท คณะกรรมการทจี่ ัดตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายท่ีมกี ารจัดองคก์ รและวิธีพิจารณาสำหรับการ

วินจิ ฉยั ช้ขี าดสทิ ธแิ ละหน้าท่ีตามกฎหมาย

เจ้าหน้าที่ บุคคล คณะบคุ คล หรือ นิตบิ คุ คล ซึง่ ใช้อำนาจหรือไดร้ ับมอบใหใ้ ช้อำนาจทางปกครองของ

รฐั ในการดำเนนิ การอย่างหนงึ่ อยา่ งใดตามกฎหมาย ไมว่ า่ จะเปน็ การจดั ตั้งขน้ึ ในระบบราชการ

รฐั วิสาหกิจ หรอื กิจการอื่นของรฐั หรือไม่กต็ าม

ค่กู รณี (1) ผยู้ ื่นคำขอ หรือ ผ้คู ดั คา้ นคำขอ
(2) ผู้อยู่ในบังคับหรืออย่ใู นบังคับของคำส่งั ทางปกครอง และ
(3) ผู้ซึง่ ไดเ้ ขา้ มาในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง

เนื่องจากสิทธิของผนู้ ้ันจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคำสัง่ ทางปกครอง

4

-------------------หมวด 1 คณะกรรมการวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง-------------------

มาตรา 7 ใหม้ ีคณะกรรมการคณะหนง่ึ เรียกวา่ คณะกรรมการวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ประกอบด้วย

1. ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ 1 คน

ให้ คณะรัฐมนตรี แตง่ ตั้งประธานกรรมการ 1 คน
1 คน
2. ปลัดสำนกั นายกรัฐมนตรี กรรมการ 1 คน
1 คน
3. ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ 1 คน
ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน
4. เลขาธิการคณะรฐั มนตรี กรรมการ แตไ่ มเ่ กนิ 9 คน

5. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น กรรมการ 1 คน

6. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ

7. ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ

ให้ คณะรฐั มนตรี แตง่ ตัง้ ผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากผูซ้ ่งึ มคี วามเช่ยี วชาญในทาง

นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหารราชการแผน่ ดนิ

แตผ่ ้นู น้ั ตอ้ งไมเ่ ป็นผู้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง

8. เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี าแต่งตัง้ ข้าราชการในสำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าเปน็ กรรมการและ

เลขาและผู้ชว่ ยเลขา เลขานกุ าร

มาตรา 8 ให้กรรมการซ่ึงคณะรัฐมนตรแี ตง่ ต้ัง (ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ) มี วาระดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี

กรรมการซึ่งพน้ จากตำแหน่งอาจได้รบั แต่งตงั้ อีกได้

ในกรณที ่ีกรรมการพ้นจากตำแหนง่ ตามวาระ แต่ยังไม่ไดแ้ ต่งต้งั กรรมการใหมใ่ หก้ รรมการน้ันปฏิบัติหนา้ ท่ีไปก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้ง
กรรมการใหม่

มาตรา 10 ให้ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทำหน้าทีเ่ ปน็ สำนกั งานเลขานกุ าร ของคณะกรรมการวิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง

รับผิดชอบงานธุรการ งานประชมุ การศกึ ษาหาข้อมูลและกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธปี ฏิบัติราชการทาง

ปกครอง

5

มาตรา 11 คณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ัติราชการทางปกครองมีอำนาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) สอดสอ่ งดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนนิ งานของเจา้ หนา้ ทใ่ี นการปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญัตนิ ี้
(2) ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ตามที่บุคคลดังกล่าวร้องขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ท่ี

คณะกรรมการวธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครองกำหนด
(3) มหี นังสอื เรยี กให้เจา้ หน้าทีห่ รอื บุคคลอ่ืนใดมาชแ้ี จงหรอื แสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้
(4) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรอื ประกาศตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
(5) จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีเสนอคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม

อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองให้เป็นไปโดยมีความเป็นธรรมและมี
ประสทิ ธิภาพย่งิ ขึน้
(6) เรื่องอื่นตามทค่ี ณะรัฐมนตรีหรือนายกรฐั มนตรมี อบหมาย

---------------------------หมวด 2 คำส่งั ทางปกครอง--------------------------
สว่ นที่ 1 เจ้าหนา้ ท.่ี .................................................................................................................................................................

มาตรา 12 คำสงั่ ทางปกครอง จะต้องกระทำโดยเจา้ หนา้ ท่ซี ง่ึ มีอำนาจหนา้ ทใ่ี นเร่อื งน้ัน

มาตรา 13 เจา้ หนา้ ที่ดังตอ่ ไปน้จี ะทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้

(1) เป็น คกู่ รณเี อง

(2) เป็น คู่หม้นั หรอื คูส่ มรส ของคู่กรณี

(3) เปน็ ญาติ ของค่กู รณี คอื เป็นบุพการีหรอื ผู้สืบสันดานไม่ว่าช้ันใดๆ หรือเป็นพนี่ อ้ งหรือลูกพี่ลูกน้องนับ

ได้เพียง ภายในสามชั้น หรอื เป็นญาตเิ กี่ยวพันทางแต่งงานนบั ได้เพยี งสองช้นั

(4) เปน็ หรอื เคยเปน็ ผแู้ ทนโดยชอบธรรม หรอื ผ้พู ทิ กั ษ์ หรอื ผแู้ ทน หรอื ตวั แทนของคู่กรณี

(5) เปน็ เจา้ หนี้ หรอื ลูกหนี้ หรอื เป็น นายจ้าง ของคู่กรณี Note : ไมม่ ลี ูกจา้ ง
(6) กรณีอื่นตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 14 เม่ือมกี รณีตามมาตรา 13 หรอื คกู่ รณีคัดค้านวา่ เจา้ หน้าที่ผูใ้ ดเป็นบุคคลตามมาตรา 13

ใหเ้ จา้ หนา้ ทีผ่ ้นู ั้นหยุดการพจิ ารณาเรอื่ งไว้ก่อนและแจง้ ใหผ้ บู้ ังคบั บัญชาเหนอื ตนขน้ึ ไปชนั้ หนึ่งทราบ เพือ่ ทผ่ี ู้บังคบั บัญชาดังกลา่ วจะได้
มคี ำสั่งตอ่ ไป

การย่นื คำคัดคา้ น การพิจารณาคำคัดคา้ น และการสั่งให้เจา้ หน้าท่ีอน่ื เข้าปฏิบตั ิหน้าทแ่ี ทนผทู้ ี่ถกู คัดค้านให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธกี ารทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

6

มาตรา 15 เม่อื มีกรณตี ามมาตรา 13 หรือคกู่ รณีคัดคา้ นว่ากรรมการในคณะกรรมการท่มี ีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีลกั ษณะดังกลา่ ว
ใหป้ ระธานกรรมการ เรียกประชมุ คณะกรรมการ เพ่อื พจิ ารณาเหตคุ ัดค้านนั้น

กรรมการผถู้ กู คัดคา้ น เมอื่ ไดช้ แ้ี จงขอ้ เทจ็ จรงิ และตอบขอ้ ซกั ถามแลว้ ตอ้ งออกจากทปี่ ระชุม

ถ้าคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผู้ถูกคัดค้านกรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากท่ปี ระชุม

ให้ถือว่าคณะกรรมการคณะนน้ั ประกอบด้วยกรรมการทกุ คนท่ไี มถ่ กู คัดคา้ น
ถา้ ทป่ี ระชมุ มีมติ ให้กรรมการผู้ถูกคัดค้านปฏิบตั ิหนา้ ทต่ี ่อไป ดว้ ย

คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกวา่ 2 ใน 3 ของกรรมการท่ีไมถ่ ูกคัดค้าน

มตดิ งั กลา่ วใหก้ ระทำโดย วธิ ลี งคะแนนลับและให้เปน็ ทส่ี ุด

การยื่นคำคัดค้านและการพจิ ารณาคำคัดค้านใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 16 ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทาง
ปกครองซง่ึ มสี ภาพรา้ ยแรงอันอาจทำให้ การพจิ ารณาทางปกครองไม่เปน็ กลาง

เจ้าหน้าท่หี รอื กรรมการผู้นนั้ จะทำการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนัน้ ไม่ได้ โดยใหด้ ำเนินการดงั น้ี

(1) ถา้ ผู้น้ันเห็นเองว่าตนมีกรณดี ังกลา่ ว ให้ผู้น้ันหยุดการพจิ ารณาเรอ่ื งไวก้ อ่ น และแจง้ ให้ผ้บู ังคับบัญชาเหนอื ตนขนึ้ ไปช้ันหนงึ่ หรือ
ประธานกรรมการทราบ แล้วแตก่ รณี

(2) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านว่าผู้นั้นมีเหตุดังกล่าว หากผู้นั้นเห็นว่าตนไม่มีเหตุตามที่คัดค้านนั้น ผู้นั้นจะทำการพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้
แตต่ อ้ งแจง้ ใหผ้ ูบ้ งั คับบญั ชาเหนอื ตนขนึ้ ไปชั้นหน่งึ หรอื ประธานกรรมการทราบ แล้วแต่กรณี

(3) ใหผ้ ู้บังคบั บญั ชาของผ้นู นั้ หรือคณะกรรมการทม่ี ีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งผูน้ ัน้ เป็นกรรมการอยู่มคี ำส่งั หรือมีมตโิ ดยไมช่ กั ช้า
แล้วแตก่ รณีว่าผู้น้ันมอี ำนาจในการพจิ ารณาทางปกครองในเร่อื งนน้ั หรอื ไม่

มาตรา 19 ถา้ ปรากฏภายหลงั ว่าเจ้าหนา้ ท่หี รือกรรมการในคณะกรรมการท่มี อี ำนาจพิจารณาทางปกครองใด

1. ขาดคณุ สมบตั ิ
2. มลี กั ษณะตอ้ งห้าม
3. การแตง่ ตง้ั ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย

เปน็ เหตุใหผ้ ูน้ น้ั ต้องพน้ จากตำแหนง่ การพน้ จากตำแหนง่ เช่นวา่ น้ไี ม่กระทบกระเทอื นถงึ การใดทผ่ี นู้ ั้นไดป้ ฏบิ ัตไิ ปตามอำนาจหนา้ ท่ี

7

มาตรา 20 ผู้บงั คับบัญชาเหนอื ตนขึน้ ไปชนั้ หนึ่ง ใหห้ มายความรวมถงึ ...

1. ผ้ซู ่งึ กฎหมายกำหนดให้มอี ำนาจกำกับหรอื ควบคุมดูแล สำหรบั กรณีของเจา้ หน้าทีท่ ีไ่ มม่ ผี ูบ้ ังคับบญั ชาโดยตรง
2. นายกรัฐมนตรี สำหรบั กรณีทเ่ี จ้าหนา้ ทีผ่ ู้น้ันเปน็ รฐั มนตรี

สว่ นท่ี 2 คกู่ รณ.ี ......................................................................................................................................................................

มาตรา 21 บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือ นิติบุคคล อาจเป็นคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครองได้ตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูก
กระทบกระเทอื น

มาตรา 22 ผมู้ ีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้ จะต้องเป็น...
(1) ผู้ซง่ึ บรรลุนติ ิภาวะ
(2) ผู้ซง่ึ มีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดให้มคี วามสามารถกระทำการในเรอ่ื งทกี่ ำหนดได้

แม้ผนู้ นั้ จะยังไม่บรรลนุ ิตภิ าวะหรือความสามารถถกู จำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

(3) นติ บิ ุคคล หรือ คณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผแู้ ทนหรอื ตัวแทน แลว้ แตก่ รณี
(4) ผู้ซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรี หรือผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้มี

ความสามารถกระทำการในเรอ่ื งทกี่ ำหนดได้
แม้ผู้นนั้ จะยงั ไมบ่ รรลุนิติภาวะหรือความสามารถถกู จำกดั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์

มาตรา 23 การพิจารณาทางปกครองทค่ี ู่กรณตี อ้ งมาปรากฏตัวต่อหน้าเจ้าหน้าท่ี

คูก่ รณี มีสทิ ธนิ ำทนายความ หรือ ที่ปรึกษา ของตนเขา้ มาในการพจิ ารณาทางปกครองได้

สามารถทำไดโ้ ดยไมต่ อ้ งขออนญุ าตกอ่ น
การใดท่ที นายความหรือทป่ี รึกษาไดท้ ำลงต่อหน้าคู่กรณีใหถ้ อื ว่าเป็นการกระทำของคกู่ รณี เวน้ แต่คู่กรณีจะได้คัดคา้ นเสยี ในขณะนัน้

8

มาตรา 24 ค่กู รณี อาจมหี นงั สอื แตง่ ตงั้ ใหบ้ คุ คลหนึง่ ซง่ึ บรรลุนิติภาวะกระทำการอยา่ งหน่งึ อยา่ งใดตามที่กำหนดแทนตนในกระบวนการ

พิจารณาทางปกครองใดๆ ได้

ในการนี้เจ้าหน้าที่จะดำเนินกระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพาะเมื่อเป็นเรื่องที่ผู้นั้นมีหน้าท่ี
โดยตรงที่จะต้องทำการน้นั ดว้ ยตนเองและต้องแจ้งใหผ้ ้ไู ดร้ บั การแตง่ ตัง้ ให้กระทำการแทนทราบด้วย

หากปรากฏว่าผู้ได้รับการแต่งตั้งให้กระทำการแทนไม่ทราบข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอหรือมีเหตุไม่ควรไว้วางใจใน
ความสามารถของบคุ คลดงั กลา่ วให้เจา้ หน้าท่ีแจ้งใหค้ ูก่ รณที ราบโดยไม่ชกั ช้า

ความเป็นผู้แทนไม่ถือวา่ ส้นิ สุดลง เพราะ 1. ความตายของคู่กรณี

2. ความสามารถหรือความเปน็ ผแู้ ทนของคกู่ รณเี ปลยี่ นแปลงไป

เว้นแต่ ผูส้ บื สิทธิตามกฎหมายของคู่กรณีหรือคู่กรณีจะถอนการแตง่ ต้งั ดังกลา่ ว

มาตรา 25 มกี าร ย่ืนคำขอทมี่ ผี ลู้ งชอ่ื รว่ มกนั เกนิ 50 คน หรือ มีคู่กรณเี กนิ 50 คน ย่ืนคำขอทีม่ ขี อ้ ความอยา่ งเดยี วกนั หรอื ทำนองเดียวกนั

ถ้าในคำขอมกี ารระบุให้บคุ คลใดเป็นตวั แทนหรอื มีข้อความเปน็ ปริยายให้เข้าใจได้เชน่ น้นั

ใหถ้ ือวา่ ผู้ที่ถกู ระบุช่อื ดงั กลา่ วเปน็ ตัวแทนร่วม ของคู่กรณีเหล่านั้น

ในกรณที ่ีมีคู่กรณีเกิน 50 คน ย่ืนคำขอให้มีคำสัง่ ทางปกครองในเรื่องเดยี วกนั โดยไมม่ กี ารกำหนดตัวแทนร่วม

ใหเ้ จา้ หน้าท่ีแต่งตงั้ บคุ คลทค่ี ู่กรณีฝ่ายข้างมากเห็นชอบเป็นตวั แทนร่วม

ตวั แทนร่วม ต้องเปน็ บคุ คลธรรมดา

คู่กรณีจะบอกเลกิ การใหต้ วั แทนรว่ มดำเนนิ การแทนตนเมอ่ื ใดกไ็ ด้ ตัวแทนร่วมจะบอกเลิกการเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้
แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ และดำเนินการใดๆ ใน แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบกับต้องแจ้งใ ห้
กระบวนการพจิ ารณาทางปกครองตอ่ ไปด้วยตนเอง คกู่ รณีทุกรายทราบด้วย

9

สว่ นท่ี 3 การพจิ ารณา............... ............................................................................................................................................

มาตรา 26 เอกสารทย่ี น่ื ต่อเจ้าหน้าที่ ใหท้ ำเปน็ ภาษาไทย

ถ้าเป็นเอกสารที่ทำขึ้นเป็นภาษาต่างประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำคำแปลเป็นภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกต้องมาให้ภายใน

ระยะเวลาที่เจ้าหนา้ ทก่ี ำหนด ในกรณีนใี้ หถ้ ือว่าเอกสารดังกล่าวไดย้ น่ื ต่อเจา้ หน้าท่ใี นวนั ทเี่ จา้ หน้าท่ีได้รบั คำแปลนนั้

เว้นแต่ เจ้าหน้าทีจ่ ะยอมรับเอกสารที่ทำขึน้ เป็นภาษาต่างประเทศ และถือว่าวนั ที่ไดย้ ื่นเอกสารฉบับที่ทำข้ึนเปน็
ภาษาต่างประเทศเปน็ วันท่เี จา้ หนา้ ท่ไี ดร้ บั เอกสารดังกลา่ ว

การรับรองความถูกต้องของคำแปลเป็นภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารที่ทำขึ้นเป็นภาษาต่างประเทศ ให้เป็นไปตามตาม
หลกั เกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 27 ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีแจ้งสทิ ธิและหนา้ ท่ีในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองให้คกู่ รณีทราบตามความจำเป็นแก่กรณี

เมอื่ มผี ู้ยน่ื คำขอเพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทม่ี คี ำสง่ั ทางการปกครอง ให้เจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั คำขอดำเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของคำขอและ

ความครบถว้ นของเอกสารทีม่ กี ฎหมายหรอื กฎกำหนดให้ต้องยื่นมาพร้อมกับคำขอ

หากคำขอไม่ถกู ต้อง ใหเ้ จา้ หน้าที่ แนะนำ ให้ผู้ย่ืนคำขอดำเนนิ การแก้ไขใหถ้ กู ต้อง

หากเอกสารไมค่ รบถว้ น ให้ แจ้งใหผ้ ยู้ นื่ คําขอทราบทนั ที หรอื ภายในไมเ่ กิน 7 วัน นบั แตว่ ันท่ีได้รับคําขอ

ให้เจา้ หน้าที่ 1. ทำเปน็ หนังสอื ลงลายมอื ชอ่ื ของผรู้ ับคําขอ
2. ระบุรายการเอกสารที่ไมถ่ กู ตอ้ งหรือยังไม่ครบถว้ น ใหผ้ ้ยู น่ื คําขอทราบ
3. บันทกึ การแจง้ ดงั กล่าวไวใ้ นกระบวนพจิ ารณาจัดทำคำสั่งทางปกครองน้นั ดว้ ย

เม่ือผู้ยน่ื คําขอไดแ้ กไ้ ขคาํ ขอหรอื จัดส่งเอกสารตามทร่ี ะบใุ นการแจ้งครบถ้วน

เจา้ หนา้ ทจ่ี ะปฏเิ สธไม่ดำเนนิ การตามคาํ ขอเพราะยงั ขาดเอกสารอกี ไม่ได้
เว้นแตม่ ีความจําเป็นเพอ่ื ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามกฎหมายหรือกฎและไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากผู้บังคับบญั ชาเหนอื ตนขน้ึ ไปช้นั หนึ่ง
ตามมาตรา 20 ในกรณีเช่นนั้นให้ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยพลัน หากเห็นว่าเป็นความ
บกพรอ่ งของเจ้าหน้าทใี่ ห้ดำเนนิ การทางวนิ ยั ตอ่ ไป

10

ผ้ยู ื่นคําขอต้องแก้ไขหรอื ส่งเอกสารเพ่ิมเติมตอ่ เจ้าหนา้ ที่ภายในเวลาท่ีกำหนดหรอื ภายในเวลาทีเ่ จา้ หน้าท่อี นญุ าตให้ขยายออกไป

เมื่อพ้นกําหนดเวลาดังกล่าวแล้ว หากผู้ยื่นคําขอไม่แก้ไขหรือส่งเอกสารเพิ่มเติมให้ครบถ้วนถือว่าผู้ยื่นคําขอไม่
ประสงค์ท่จี ะให้เจ้าหนา้ ท่ีดำเนนิ การตามคําขอ ใหเ้ จ้าหน้าท่ีสง่ เอกสารคนื ให้ผู้ย่นื คําขอ พร้อมทงั้ แจ้งสทิ ธิในการอทุ ธรณ์ให้ผยู้ ืน่ คําขอทราบ
และบันทกึ การดำเนินการดงั กล่าวไว้

มาตรา 28 ในการพิจารณาทางปกครองเจา้ หนา้ ท่ีอาจตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ ไดต้ ามความเหมาะสมในเรอ่ื งนัน้ ๆ
โดยไมต่ อ้ งผูกพนั อย่กู บั คำขอหรือพยานหลกั ฐานของคู่กรณี

มาตรา 29 เจ้าหนา้ ทีต่ ้อง พจิ ารณาพยานหลักฐาน ทตี่ นเห็นวา่ จำเปน็ ในการพิสูจน์ขอ้ เทจ็ จรงิ รวมถงึ การดำเนนิ การดังตอ่ ไปนี้

(1) แสวงหาพยานหลกั ฐานทุกอยา่ งท่ีเกย่ี วขอ้ ง
(2) รบั ฟงั พยานหลกั ฐาน คำช้ีแจง หรอื ความเห็นของคู่กรณหี รือของพยานบคุ คลหรือพยานผเู้ ช่ียวชาญท่ีคกู่ รณกี ล่าวอ้าง

เว้นแต่เจา้ หน้าทเ่ี ห็นวา่ เป็นการกลา่ วอา้ งทไ่ี ม่จำเปน็ ฟมุ่ เฟือยหรอื เพ่อื ประวงิ เวลา
(3) ขอขอ้ เทจ็ จริงหรือความเหน็ จากคู่กรณี พยานบคุ คล หรอื พยานผู้เชยี่ วชาญ
(4) ขอใหผ้ ู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง
(5) ออกไปตรวจสถานที่

คู่กรณี ตอ้ ง ให้ความร่วมมอื กบั เจ้าหน้าท่ใี นการพิสจู น์ข้อเท็จจริง และ แจ้งพยานหลักฐาน ทต่ี นทราบแก่เจ้าหน้าที่

พยานหรือพยานผู้เชี่ยวชาญที่เจ้าหน้าที่เรียกมาให้ถ้อยคำหรือทำความเห็น มีสิทธิได้รับค่าป่วยการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กำหนดในกฎกระทรวง

11

มาตรา 30 กรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ

มโี อกาสได้โต้แยง้ และแสดงพยานหลกั ฐานของตน

แต่ไมใ่ หน้ ำมาใชบ้ งั คับในกรณดี งั ต่อไปน้ี

(1) มคี วามจำเป็นรีบด่วน หากปลอ่ ยใหเ้ นิ่นช้าไปจะกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายอยา่ งร้ายแรงแก่ผหู้ นงึ่ ผใู้ ดหรือ
จะกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ

(2) มผี ลทำใหร้ ะยะเวลาทก่ี ฎหมายหรือกฎกำหนดไวใ้ นการทำคำส่งั ทางปกครองต้องลา่ ชา้ ออกไป
(3) เปน็ ข้อเท็จจรงิ ท่คี ู่กรณใี หไ้ ว้เองในคำขอ คำใหก้ าร หรอื คำแถลง
(4) โดยสภาพเหน็ ไดช้ ัดวา่ การใหโ้ อกาสดังกล่าวไม่อาจกระทำได้
(5) เปน็ มาตรการบงั คบั ทางปกครอง

(6) กรณอี ืน่ ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

หา้ มไมใ่ หเ้ จา้ หน้าท่ีให้โอกาส ถ้าจะกอ่ ใหเ้ กิดผลเสยี หายอย่างร้ายแรงตอ่ ประโยชนส์ าธารณะ

มาตรา 31 คูก่ รณมี สี ิทธิขอตรวจดูเอกสารทจ่ี ำเป็นต้องรู้ เพอื่ การโตแ้ ยง้ หรอื ชีแ้ จงหรอื ปอ้ งกันสิทธิของตนได้
แต่ถ้ายังไม่ไดท้ ำคำสัง่ ทางปกครองในเรือ่ งนั้น คกู่ รณีไมม่ ีสทิ ธิขอตรวจดเู อกสารต้นร่างคำวนิ จิ ฉัย

การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทำสำเนาเอกสารให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 32 เจา้ หน้าที่อาจไม่อนุญาตให้ตรวจดูเอกสารหรอื พยานหลักฐาน ถ้าเปน็ กรณที ่ีต้อง รกั ษาไว้เปน็ ความลับ

สว่ นท่ี 4 รปู แบบและผลของคำสงั่ ทางปกครอง....................................................................................................................

มาตรา 34 คำสง่ั ทางปกครอง อาจทำเปน็ 1. หนังสอื
2. วาจา
3. การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น แต่ต้องมีข้อความหรือความหมายที่ชัดเจน

เพียงพอที่จะเข้าใจได้ เชน่ ไฟจราจร

12

มาตรา 35 คำสง่ั ทางปกครองเปน็ คำส่ังด้วยวาจา
ถา้ ผูร้ บั คำสง่ั นัน้ รอ้ งขอโดยมเี หตุสมควร ภายใน 7 วัน นับแตว่ นั ท่มี ีคำส่งั ดงั กล่าว

เจา้ หนา้ ทผี่ ู้ออกคำส่ังต้องยนื ยันคำส่ังนั้นเปน็ หนังสือ

มาตรา 36 คำสง่ั ทางปกครองที่ ทำเป็นหนงั สอื อยา่ งน้อยตอ้ งระบุ

1. วัน เดอื น ปีทท่ี ำคำสัง่
2. ชอ่ื และตำแหนง่ ของเจา้ หนา้ ทผ่ี ทู้ ำคำสง่ั
3. ลายมอื ชื่อของเจา้ หน้าที่ผทู้ ำคำสั่งนั้น

มาตรา 37 คำส่งั ทางปกครองท่ี ทำเป็นหนังสอื และ การยนื ยนั คำสงั่ ทางปกครองเป็นหนงั สือ
ต้องจดั ใหม้ ีเหตผุ ลไว้อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย (1) ข้อเทจ็ จรงิ เป็นสาระสำคญั
(2) ข้อกฎหมายท่อี า้ งอิง
(3) ขอ้ พจิ ารณาและขอ้ สนบั สนนุ ในการใชด้ ลุ พนิ จิ

นายกรฐั มนตรีหรือผู้ซง่ึ นายกรฐั มนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกจิ จานุเบกษากำหนดใหค้ ำสั่งทางปกครองกรณใี ดต้องระบุเหตุผล
ไวใ้ นคำสงั่ น้ันเองหรอื ในเอกสารแนบท้ายคำส่ังน้นั กไ็ ด้

บทบัญญตั ิตามวรรคหนงึ่ ไม่ใช้บงั คบั กบั กรณดี ังต่อไปนี้
(1) เปน็ กรณีที่มีผลตรงตามคำขอและไม่กระทบสิทธิและหนา้ ที่ของบุคคลอน่ื
(2) เหตผุ ลนน้ั เป็นท่ีรูก้ นั อยู่แล้วโดยไมจ่ ำตอ้ งระบอุ กี
(3) เปน็ กรณีท่ีตอ้ งรกั ษาไว้เป็นความลับตามมาตรา 32
(4) เปน็ การออกคำส่ังทางปกครองดว้ ยวาจาหรือเป็นกรณเี รง่ ด่วน แต่ตอ้ งใหเ้ หตผุ ลเปน็ ลายลักษณ์อักษรในเวลาอัน

ควรหากผูอ้ ย่ใู นบังคับของคำสัง่ น้ันร้องขอ

มาตรา 38 บทบัญญัติตามมาตรา 36 และมาตรา 37 วรรคหนึ่งไม่ให้ใช้บังคับกับคำสั่งทางปกครองที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ตาม
หลกั เกณฑว์ ธิ ีการ และเงื่อนไขทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

13

มาตรา 39 การออกคำส่ังทางปกครอง เจา้ หน้าท่ีอาจกำหนดเง่ือนไขใดๆ ไดเ้ ท่าท่จี ำเปน็ เพือ่ ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ของกฎหมาย

เว้นแต่กฎหมายจะกำหนดขอ้ จำกัดดลุ พินิจเปน็ อยา่ งอ่นื

การกำหนดเง่อื นไขดงั กล่าว ให้หมายความรวมถึงการกำหนดเง่ือนไขในกรณีดังตอ่ ไปน้ี ตามความเหมาะสมแก่กรณีดว้ ย
(1) การกำหนดใหส้ ิทธิหรือภาระหนา้ ที่เรม่ิ มผี ลหรือส้นิ ผล ณ เวลาใดเวลาหนงึ่
(2) การกำหนดให้การเรม่ิ มผี ลหรือสิ้นผลของสทิ ธหิ รือภาระหน้าที่ต้องขน้ึ อย่กู บั เหตุการณใ์ นอนาคตที่ไม่แน่นอน
(3) ขอ้ สงวนสทิ ธิที่จะยกเลกิ คำสงั่ ทางปกครอง
(4) การกำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ตอ้ งกระทำหรอื งดเว้นกระทำหรือต้องมีภาระหน้าที่หรือยอมรับภาระหนา้ ท่ี หรือความ
รับผิดชอบบางประการ หรือการกำหนดขอ้ ความในการจัดใหม้ ี เปล่ยี นแปลง หรือเพมิ่ ขอ้ กำหนดดังกล่าว

มาตรา 39/1 การออกคำสง่ั ทางปกครอง เปน็ หนังสือ ในเร่ืองใดหากไมม่ กี ฎหมายหรอื กฎกำหนดระยะเวลาในการออกคำส่งั ทางปกครอง

ในเรื่องนั้นไว้เป็นประการอื่น ให้เจ้าหน้าที่ออกคำสั่งทางปกครองนั้นให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับคําขอและ
เอกสารถูกต้องครบถ้วน

ใหเ้ ปน็ หนา้ ท่ขี องผู้บังคบั บญั ชาช้ันเหนอื ขน้ึ ไปของเจา้ หนา้ ที่ ท่ีจะกำกบั ดูแลให้เจา้ หนา้ ทดี่ ำเนนิ การให้เปน็ ไปตามวรรคหน่ึง

มาตรา 40 คำสงั่ ทางปกครองท่อี าจ อุทธรณ์ หรอื โต้แยง้ ได้ ให้ระบุ 1. กรณีท่ีอาจอุทธรณห์ รือโตแ้ ย้ง

2. การย่นื คำอุทธรณ์หรอื คำโตแ้ ย้ง และ
3. ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณห์ รือการโตแ้ ยง้ ดงั กล่าวไวด้ ้วย

ในกรณี มกี ารฝา่ ฝนื บทบัญญตั ิตามวรรคหนึง่ ให้ระยะเวลาสำหรบั การอทุ ธรณห์ รอื การโต้แยง้ เปน็ ดังน้ี

1. ถ้าได้รบั การแจง้ หลกั เกณฑต์ ามวรรคหน่ึงใหม่ เรม่ิ นบั ใหม่ ตงั้ แต่วนั ทไี่ ดร้ บั แจง้

2. ถา้ ไมม่ กี ารแจง้ ใหม่ และระยะเวลาดงั กลา่ วสนั้ กวา่ 1 ปี ให้ ขยายเปน็ 1 ปี นับแต่วนั ท่ไี ด้รบั คำสั่งทางปกครอง

มาตรา 41 คำสั่งทางปกครอง ที่ ออกโดยการฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑ์ แต่คำสั่งทางปกครองนนั้ ยงั มีผลสมบรู ณ์ ดังนี้
(1) การออกคำสั่งทางปกครองโดยยังไมม่ ผี ูย้ ่นื คำขอ ในกรณที ่ีเจา้ หน้าท่จี ะดำเนนิ การเองไม่ไดน้ อกจากจะมผี ูย้ ่นื คำขอ

ต่อมาไดม้ กี ารยน่ื คำขอเชน่ นนั้ ในภายหลงั

(2) คำสงั่ ทางปกครองทต่ี อ้ งจัดใหม้ เี หตผุ ลตามมาตรา 37 วรรคหน่งึ

ต่อมามกี ารจัดใหม้ ีเหตุผลดังกลา่ วในภายหลงั

(3) รบั ฟังคู่กรณีท่จี ำเปน็ ต้องดำเนนิ การมาโดยไมส่ มบรู ณ์

ตอ่ มาไดม้ กี ารรับฟงั ใหส้ มบูรณใ์ นภายหลงั

14

(4) คำสั่งทางปกครองท่ีต้องใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีอน่ื ใหค้ วามเห็นชอบก่อน

ต่อมาเจา้ หนา้ ทนี่ ้ันได้ใหค้ วามเห็นชอบในภายหลัง

เมอ่ื ดำเนนิ การตามข้อ (1) (2) (3) หรือ (4) แลว้ และเจ้าหนา้ ท่ผี ู้มีคำสัง่ ทางปกครองประสงค์ใหผ้ ลเป็นไปตามคำสัง่ เดมิ
ให้เจา้ หนา้ ทีผ่ นู้ ้ันบันทึกขอ้ เทจ็ จริงและความประสงคข์ องตนไว้ในหรือแนบไวก้ บั คำสั่งเดิม
ต้องมหี นังสือแจง้ ความประสงค์ของตนให้คกู่ รณีทราบด้วย

กรณีตาม (2) (3) และ (4) จะต้องทำก่อนสิ้นสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ตามส่วนที่ 5 ของหมวดนี้ หรือตาม

กฎหมายเฉพาะว่าดว้ ยการนนั้ หรอื ถ้าเปน็ กรณีทีไ่ ม่ต้องมีการอทุ ธรณด์ ังกล่าวก็ตอ้ งกอ่ นมีการนำคำสั่งทางปกครองไปสกู่ ารพิจารณาของผู้มีอำนาจ
พจิ ารณาวินิจฉยั ความถกู ต้องของคำส่งั ทางปกครองนน้ั

มาตรา 42 คำส่ังทางปกครอง ใหม้ ีผลใชย้ ันตอ่ บคุ คลตัง้ แตข่ ณะทผ่ี ู้นนั้ ได้รับแจง้ เป็นตน้ ไป

คำส่งั ทางปกครองมผี ลตราบเท่าท่ียงั ไมม่ ีการเพกิ ถอน หรอื สิ้นผลลงโดยเงอื่ นเวลาหรือโดยเหตุอ่ืน

เมื่อคำสง่ั ทางปกครอง ส้นิ ผลลง ใหเ้ จ้าหนา้ ที่มีอำนาจเรยี กผู้ครอบครองเอกสารหรอื วตั ถอุ น่ื ใดทไ่ี ดจ้ ดั ทำขนึ้ เนอ่ื งในการมคี ำสั่ง
ทางปกครองดังกล่าวซงึ่ มขี อ้ ความหรือเครอื่ งหมายแสดงถึงการมอี ยู่ของคำสงั่ ทางปกครองนน้ั

1. ใหส้ ง่ คนื ส่ิงน้นั หรอื
2. ให้นำสิ่งของดังกล่าวอันเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้นั้นมาให้เจ้าหน้าที่จัดทำเครื่องหมายแสดงการสิ้นผลของคำสั่งทาง

ปกครองดงั กลา่ วได้

มาตรา 43 คำสัง่ ทางปกครองทม่ี ขี ้อผดิ พลาดเลก็ น้อยหรอื ผิดหลงเลก็ น้อยนนั้ เจ้าหน้าท่อี าจแกไ้ ขเพมิ่ เติมได้เสมอ

ในการแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองตามวรรคหนึ่งให้แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบตามควรแก่กรณี ในการนี้เจ้าหน้าที่อาจเรียกให้ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องจดั ส่งคำสั่งทางปกครอง เอกสาร หรอื วตั ถุอน่ื ใดทีไ่ ดจ้ ดั ทำขึน้ เนอ่ื งในการมคี ำส่งั ทางปกครองดังกลา่ วมาเพ่อื การแกไ้ ขเพิม่ เติมได้

15

สว่ นที่ 5 การอทุ ธรณค์ ำสงั่ ทางปกครอง.............................................................................................................................

มาตรา 44 คำสงั่ ทางปกครองทไี่ ม่ได้ออกโดยรฐั มนตรี และไม่มกี ฎหมายกำหนดขัน้ ตอนอุทธรณ์ภายในฝา่ ยปกครองไวเ้ ปน็ การเฉพาะ

ให้ค่กู รณียืน่ อุทธรณ์ ตอ่ เจา้ หน้าทผี่ ู้ทำคำสัง่ ทางปกครอง ภายใน 15 วนั นับแตว่ ันทต่ี นไดร้ ับแจง้

คำอทุ ธรณต์ อ้ งทำเปน็ หนังสือ โดยระบุ 1. ข้อโตแ้ ยง้ และข้อเทจ็ จรงิ หรือ
2. ข้อกฎหมายที่อ้างองิ ประกอบดว้ ย

การอุทธรณไ์ มเ่ ป็นเหตุให้ทเุ ลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง

เวน้ แต่จะมกี ารสงั่ ใหท้ เุ ลาการบังคับตามมาตรา 63/2 วรรคหนึ่ง

มาตรา 45 เจ้าหนา้ ที่พิจารณาคำอทุ ธรณ์และแจง้ ผูอ้ ทุ ธรณ์โดยไมช่ กั ชา้ แตต่ อ้ ง ไมเ่ กิน 30 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ดร้ บั อทุ ธรณ์

ถา้ เหน็ ดว้ ย กบั คำอทุ ธรณไ์ ม่วา่ ท้ังหมดหรือบางสว่ น ใหด้ ำเนนิ การเปลยี่ นแปลงคำสั่งทางปกครองตามความเห็นของตน

ภายในกำหนดเวลา

ถ้า ไมเ่ ห็นด้วย กบั คำอุทธรณ์ไม่ว่าทั้งหมดหรอื บางส่วน ใหเ้ รง่ รายงานความเหน็ พรอ้ มเหตุผลไปยงั ผู้มีอำนาจพิจารณาคำ

อุทธรณภ์ ายในกำหนดเวลา
ใหผ้ มู้ อี ำนาจพจิ ารณาคำอทุ ธรณ์พจิ ารณาใหแ้ ล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน นบั แต่วนั ท่ีตนไดร้ บั รายงาน
ถา้ มเี หตจุ ำเปน็ ไม่อาจพจิ ารณาใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาดังกลา่ ว ใหผ้ ูม้ ีอำนาจพิจารณาอทุ ธรณม์ ีหนงั สอื แจ้งให้
ผู้อทุ ธรณ์ทราบก่อนครบกำหนดเวลาดงั กลา่ ว

ในการนี้ให้ขยายระยะเวลาพจิ ารณาอุทธรณ์ออกไปได้ ไม่เกิน 30 วัน นับแต่วนั ทีค่ รบกำหนดเวลาดงั กลา่ ว
เจ้าหนา้ ท่ผี ู้ใดจะเปน็ ผ้มู ีอำนาจพจิ ารณาอุทธรณ์ใหเ้ ป็นไปตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัตมิ าตรานี้ไม่ใชก้ ับกรณที ่มี กี ฎหมายเฉพาะกำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่นื

มาตรา 46 การพิจารณาอุทธรณ์ให้เจ้าหน้าที่พิจารณาทบทวนคำสั่งทางปกครองได้ไม่ว่าจะเป็นปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย หรือความ

เหมาะสมของการทำคำส่งั ทางปกครอง และอาจมีคำส่ัง เพกิ ถอน คำส่ังทางปกครองเดิม หรอื เปลีย่ นแปลง คำส่ังน้ันไปในทางใด ท้ังน้ี ไม่ว่า
จะเปน็ การเพิม่ ภาระหรือลดภาระหรอื ใช้ดลุ พินิจแทนในเร่ืองความเหมาะสมของการทำคำส่ังทางปกครองหรอื มีขอ้ กำหนดเปน็ เงอื่ นไขอย่างไรกไ็ ด้

16

มาตรา 47 การใดทีก่ ฎหมายกำหนดใหอ้ ทุ ธรณต์ ่อเจ้าหน้าท่ีซง่ึ เป็นคณะกรรมการ
ขอบเขตการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ ให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้
สำหรับกระบวนการพจิ ารณาให้ปฏบิ ัติตามบทบัญญตั ิ หมวด 2 น้ี เท่าท่ไี มข่ ดั หรือแย้งกับกฎหมายดังกลา่ ว

มาตรา 48 คำส่ังทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่างๆ ไมว่ า่ จะจัดตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายหรอื ไม่
ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ทั้งปัญหาข้อเท็จจริงและ

ขอ้ กฎหมาย ภายใน 90 วนั นบั แต่วันท่ีไดร้ บั แจง้ คำส่ังน้ัน
แต่ถ้าคณะกรรมการดังกล่าวเป็นคณะกรรมการวินจิ ฉัยข้อพิพาท สทิ ธิการอทุ ธรณแ์ ละกำหนดเวลาอุทธรณใ์ ห้เป็นไปตามท่ีบัญญัติใน

กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา

สว่ นท่ี 6 การเพกิ ถอนคำสง่ั ทางปกครอง..............................................................................................................................

มาตรา 49 เจ้าหน้าที่หรือผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีอาจเพิกถอนคำสั่งทางปกครองได้ตามหลักเกณฑ์ใน มาตรา 51, 52, 53 ไม่ว่าจะพ้น
ข้นั ตอนการกำหนดใหอ้ ทุ ธรณ์หรอื ให้โต้แย้งตามกฎหมายนี้หรอื กฎหมายอืน่ มาแล้วหรือไม่

การเพิกถอนคำส่ังทางปกครองที่มีลักษณะเปน็ การให้ประโยชน์ตอ้ งกระทำ ภายใน 90 วนั นบั แต่ไดร้ ู้ถงึ เหตุที่จะให้เพิกถอนคำสั่ง
ทางปกครองน้ัน

เว้นแต่คำสั่งทางปกครองจะได้ทำขนึ้ เพราะ…

1. การแสดงข้อความเทจ็ หรือปกปิดความจรงิ ซง่ึ ควรบอกใหแ้ จง้ หรอื
2. การขม่ ขหู่ รอื การชกั จงู ใจ โดยการใหท้ รัพยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ื่นใดท่ีมชิ อบดว้ ยกฎหมาย

มาตรา 50 คำสั่งทางปกครองทไี่ ม่ชอบด้วยกฎหมาย อาจถูกเพกิ ถอนทั้งหมดหรอื บางส่วน โดยจะให้...

1. มีผลย้อนหลัง หรือ
2. ไมย่ อ้ นหลัง หรอื
3. มีผลไปในอนาคตถงึ ขณะใดขณะหนง่ึ ตามท่กี ำหนด

แต่ถา้ คำสง่ั นัน้ เปน็ คำส่งั ซ่ึงเปน็ การให้ประโยชน์แก่ผู้รบั การเพิกถอนต้องเปน็ ไปตามบทบญั ญัติมาตรา 51 และมาตรา 52

17

มาตรา 51 การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ซ่งึ เป็นการ 1. ให้เงนิ หรอื
2. ให้ทรัพย์สนิ หรอื
3. ใหป้ ระโยชนท์ อ่ี าจแบง่ แยกได้

ใหค้ ำนงึ ถึงความเชอ่ื โดยสจุ ริตของผ้รู ับประโยชน์ในความคงอย่ขู องคำส่งั ทางปกครองน้ันกับประโยชน์สาธารณะประกอบกัน
ความเชื่อโดยสุจริตจะได้รับความคุ้มครองต่อเมื่อผู้รับคำสั่งทางปกครองได้ใช้ประโยชน์จากคำสั่งทางปกครองไปแล้วหรือได้

ดำเนนิ การเกี่ยวกับทรัพยส์ ินไปแลว้ โดยไม่อาจแกไ้ ขเปล่ยี นแปลงได้หรอื การเปล่ียนแปลงจะทำให้ผู้นนั้ ต้องเสียหายเกินควรแกก่ รณี

ในกรณีดังต่อไปนี้ ผู้รบั คำสงั่ ทางปกครองจะอ้างความเชื่อโดยสุจรติ ไม่ได้
1. ผูน้ ้นั ไดแ้ สดงขอ้ ความเปน็ เทจ็ หรอื ปกปดิ ขอ้ ความจรงิ ซ่ึงควรบอกใหแ้ จ้งหรอื ข่มขหู่ รือชักจูงใจโดยการให้ทรัพยส์ ินหรือให้

ประโยชน์อน่ื ใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย

2. ผู้นน้ั ไดใ้ ห้ข้อความซ่ึงไมถ่ ูกตอ้ งหรอื ไม่ครบถ้วนในสาระสำคัญ
3. ผู้นั้นไดร้ ู้ถงึ ความไมช่ อบด้วยกฎหมายของคำส่งั ทางปกครองในขณะได้รบั คำสง่ั ทางปกครองหรอื การไมร่ ู้น้นั เป็นไปโดย

ความประมาทเลินเลอ่ อยา่ งร้ายแรง

ในกรณีที่ เพิกถอนโดยใหม้ ีผลย้อนหลงั
การคืนเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ที่ผู้รับคำสั่งทางปกครองได้ไป ให้นำ บทบัญญัติว่าด้วยลาภมิควรได้ ใน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับโดยอนุโลม โดยถ้าเมื่อใดผู้รับคำสั่งทางปกครองได้รู้ถึงความไม่ชอบ
ด้วยกฎหมายของคำส่งั ทางปกครองหรอื ควรไดร้ ู้เชน่ น้ัน
หากผ้นู ้นั ไม่ไดป้ ระมาทเลินเลอ่ อย่างรา้ ยแรง ใหถ้ อื ว่าผ้นู ั้นตกอย่ใู นฐานะไมส่ ุจริตตัง้ แตเ่ วลาน้ันเป็นต้นไป

ผู้น้นั ต้องรบั ผิด ในการคืนเงนิ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ที่ไดร้ บั ไป เตม็ จำนวน

มาตรา 52 คำสงั่ ทางปกครองทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมาย และไม่อย่ใู นบังคบั ของมาตรา 51 อาจถกู เพกิ ถอนทั้งหมดหรอื บางส่วนได้

ผู้ไดร้ ับผลกระทบจากการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองมีสิทธิได้รับ ค่าทดแทนความเสียหาย เนื่องจากความเชือ่ โดยสุจริตในความคงอยู่
ของคำส่ังทางปกครองได้ แต่ต้องร้องขอค่าทดแทน ภายใน 180 วัน นบั แต่ได้รบั แจ้งให้ทราบถึงการเพิกถอนนั้น

ค่าทดแทนความเสียหายตามมาตราน้จี ะต้องไม่สูงกวา่ ประโยชน์ท่ีผ้นู น้ั อาจได้รับหากคำสง่ั ทางปกครองดังกล่าวไมถ่ กู เพิกถอน

18

มาตรา 53 คำส่งั ทางปกครองทช่ี อบด้วยกฎหมาย ซง่ึ ไม่เปน็ การให้ประโยชน์แกผ่ ู้รบั คำส่งั ทางปกครองอาจถกู เพกิ ถอนท้งั หมดหรอื บางส่วน

โดยให้... 1. มีผลตงั้ แต่ขณะทเ่ี พกิ ถอน หรือ

2. มีผลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนงึ่ ตามท่ีกำหนด

เว้นแต่เป็นกรณีทต่ี ้องทำคำสั่งทางปกครองท่ีมเี นือ้ หาทำนองเดยี วกันนั้นอีก หรอื เป็นกรณีที่การเพิกถอน
ไมอ่ าจกระทำไดเ้ พราะเหตุอ่นื ทงั้ น้ี ให้คำนึงถึงประโยชนข์ องยคุ คลภายนอกประกอบดว้ ย

คำสัง่ ทางปกครองทชี่ อบด้วยกฎหมาย ซง่ึ เปน็ การใหป้ ระโยชน์แกผ่ รู้ บั คำส่ังทางปกครองอาจถกู เพกิ ถอนทั้งหมดหรอื บางส่วน

โดยให้... 1. มีผลต้งั แต่ขณะท่ีเพิกถอน หรือ

2. มผี ลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนงึ่ ตามทีก่ ำหนด

อาจถกู เพกิ ถอน เมื่อมีกรณดี งั ต่อไปน้ี
(1) มกี ฎหมายกำหนดใหเ้ พิกถอนได้หรอื มขี ้อสงวนสทิ ธใิ ห้เพิกถอนไดใ้ นคำส่ังทางปกครองน้นั เอง
(2) คำสัง่ ทางปกครองนนั้ มขี ้อกำหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องปฏิบัติ แต่ไมม่ ีการปฏิบตั ิภายในเวลาท่ีกำหนด
(3) ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เช่นนี้ในขณะทำคำสั่งทางปกครอง

แลว้ เจา้ หน้าท่ีคงจะไมท่ ำคำส่ังทางปกครองน้ัน และหากไมเ่ พกิ ถอนจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อประโยชนส์ าธารณะได้

(4) บทกฎหมายเปล่ยี นแปลงไป ซ่งึ หากมบี ทกฎหมายเช่นนใี้ นขณะทำคำส่ังทางปกครองแล้วเจ้าหน้าที่คงจะไม่ทำคำส่ัง

ทางปกครองนัน้ แต่การเพกิ ถอนในกรณนี ี้ให้กระทำได้เท่าท่ีผ้รู ับประโยชน์ยงั ไม่ไดใ้ ช้ประโยชนห์ รอื ยังไม่ได้รับประโยชน์ตามคำสั่งทางปกครอง
ดังกล่าวและหากไมเ่ พิกถอนจะก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะได้

(5) อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะหรือต่อประชาชนอันจำเปน็ ต้องป้องกันหรือขจดั เหตุ

ดังกล่าว

ถ้ามีการเพิกถอนคำส่ังทางปกครองเพราะเหตุตาม (3) (4) และ (5) ผู้ได้รบั ประโยชน์มีสิทธิได้รับ คา่ ทดแทนความเสียหาย
จากความเช่ือโดยสุจริตในความคงอยู่ของคำสง่ั ทางปกครองได้ และใหน้ ำมาตรา 52 มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม

19

คำส่ังทางปกครองทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย ซง่ึ เปน็ การใหเ้ งินหรอื ให้ทรพั ยส์ ินหรอื ให้ประโยชนท์ อ่ี าจแบง่ แยกได้ อาจถูกเพกิ ถอนทง้ั หมดหรอื

บางสว่ น โดยให.้ .. 1. มผี ลย้อนหลัง หรอื
2. ไม่มีผลยอ้ นหลัง หรอื
3. มีผลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนงึ่ ตามที่กำหนด

อาจถูกเพกิ ถอน เมอ่ื มีกรณีดงั ต่อไปน้ี
(1) ไมไ่ ด้ปฏบิ ัติหรอื ปฏิบัติล่าช้าในอันทจ่ี ะดำเนนิ การให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของคำสั่งทางปกครอง
(2) ผ้ไู ด้รบั ประโยชน์ไม่ได้ปฏิบตั ิหรอื ปฏิบัตลิ ่าช้าในอนั ทีจ่ ะดำเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามเงอื่ นไขของคำสั่งทาง ปกครอง

ท้งั นี้ ใหน้ ำความในมาตรา 51 มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม

ส่วนที่ 7 การขอใหพ้ จิ ารณาใหม่...........................................................................................................................................

มาตรา 54 เมื่อคู่กรณีมีคำขอเจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองที่พ้นกำหนดอุทธรณ์ตามส่วนที่ 5 ได้ในกรณี
ดังต่อไปน้ี

(1) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทำใหข้ ้อเท็จจรงิ ทีฟ่ งั เป็นยตุ ิแลว้ นน้ั เปลย่ี นแปลงไปในสาระสำคัญ
(2) คู่กรณีทแ่ี ทจ้ รงิ ไม่ได้เขา้ มาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือได้เขา้ มาในกระบวนการพิจารณาครงั้ กอ่ นแลว้ แต่

ถูกตัดโอกาสโดยไมเ่ ปน็ ธรรมในการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง

(3) เจ้าหน้าทไี่ มม่ อี ำนาจที่จะทำคำส่งั ทางปกครองในเรื่องน้ัน
(4) ถ้าคำสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายนั้น
เปลยี่ นแปลงไปในสาระสำคญั ในทางที่จะเปน็ ประโยชนแ์ ก่คกู่ รณี

การยื่นคำขอตาม (1) (2) หรือ (3) ให้กระทำได้เฉพาะเมื่อคูก่ รณีไม่อาจทราบถึงเหตนุ ั้นในการพจิ ารณาครัง้ ที่แล้วมาก่อนโดย

ไมใ่ ชค่ วามผิดของผนู้ น้ั
การยื่นคำขอใหพ้ จิ ารณาใหม่ ตอ้ งกระทำ ภายใน 90 วนั นับแตผ่ ้นู ้ันได้รู้ถึงเหตุซ่ึงอาจขอให้พิจารณาใหมไ่ ด้

สว่ นที่ 8 การบงั คับทางปกครอง (ยกเลิกมาตรา 55-63 ใน ฉบบั 3)

20

------------------------หมวด 2/1 การบงั คบั ทางปกครอง-------------------------

ส่วนท่ี 1 บททว่ั ไป....................................................................................................................................................................

มาตรา 63/1 การบงั คับทางปกครองไมใ่ ช้บังคับกับหนว่ ยงานของรฐั ดว้ ยกนั เวน้ แต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอืน่

มาตรา 63/2 เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งทางปกครองมีอำนาจที่จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให้เป็นไปตามคำสั่งของตนได้ตาม
บทบัญญตั ใิ นหมวดนี้

เว้นแต่ จะมีการส่งั ใหท้ เุ ลาการบงั คับไวก้ อ่ นโดย 1. เจา้ หน้าทผี่ ูท้ ำคำส่ังน้ันเอง
2. ผู้มีอำนาจพจิ ารณาคำอทุ ธรณ์
3. ผู้มีอำนาจพิจารณาวนิ จิ ฉยั ความถกู ตอ้ งของคำส่ังทางปกครองดงั กลา่ ว

เจา้ หนา้ ทต่ี ามวรรคหนงึ่ จะมอบอำนาจให้เจา้ หนา้ ทซ่ี งึ่ อยใู่ ต้บงั คบั บัญชาหรอื เจ้าหนา้ ทอี่ ื่นเป็นผู้ดำเนินการก็ได้ตามหลักเกณฑ์

และวิธีการท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
เจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใช้มาตรการบังคับทางปกครองเพียงเท่าที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของคำสั่งทาง

ปกครอง โดยกระทบกระเทือนผอู้ ยู่ในบงั คับของคำส่งั ทางปกครองนอ้ ยทีส่ ุด

มาตรา 63/3 ถา้ บทกฎหมายใดกำหนดมาตรการบังคับทางปกครองไว้โดยเฉพาะแล้ว หากเจ้าหนา้ ทเี่ หน็ ว่าการใช้มาตรการบังคับนั้นจะเกิดผล
นอ้ ยกวา่ มาตรการบังคบั ตามหมวดน้ี เจา้ หน้าที่จะใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามหมวดนแี้ ทนกไ็ ด้

มาตรา 63/4 ในการใชม้ าตรการบงั คบั ทางปกครองแก่ บคุ คล ใด หากบุคคลนน้ั ถงึ แก่ความ ตาย ให้ดำเนนิ การบังคบั ทางปกครองตอ่ ไปได้
ถ้าบุคคลนน้ั มีทายาทผรู้ บั มรดกหรือผูจ้ ัดการมรดก
ใหถ้ ือวา่ ทายาทผูร้ บั มรดก หรือ ผจู้ ัดการมรดก เปน็ ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบงั คับทางปกครองนน้ั

ถ้าผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตาย ให้แจ้งมาตรการบังคับทางปกครองไปยังทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดก
แล้วแต่กรณี โดยให้ระยะเวลาอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครองเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกได้รับแจ้ง

เมอ่ื ปรากฏวา่ … (1) ผอู้ ยู่ในบังคบั ของมาตรการบงั คับทางปกครองตายกอ่ นสน้ิ สดุ ระยะเวลาอทุ ธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง

และไม่ไดย้ นื่ อทุ ธรณ์การใชม้ าตรการบังคับทางปกครอง

(2) ผูอ้ ยใู่ นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองตายหลงั ส้ินสดุ ระยะเวลาอุทธรณ์การใชม้ าตรการบังคับทางปกครอง

และไมไ่ ด้ยื่นอุทธรณ์การใชม้ าตรการบงั คับทางปกครอง เนื่องจากมพี ฤติการณท์ จ่ี ำเปน็ ท่ีไมไ่ ดเ้ กิดจากความผดิ ของผู้นน้ั

21

ในกรณที เี่ ป็นการใช้มาตรการบงั คับทางปกครองแก่ นติ บิ ุคคล ใด

หากนิติบุคคลนัน้ สิ้นสภาพ โอนกจิ การ หรอื ควบรวมกิจการ ใหด้ ำเนนิ การบงั คับทางปกครองตอ่ ไปได้
ให้แจ้งมาตรการบังคบั ทางปกครองไปยัง… 1. ผชู้ ำระบัญชี หรือ

2. นิติบคุ คลทรี่ บั โอนกจิ การหรอื เกดิ จากการควบรวมกจิ การ แลว้ แตก่ รณี
ทั้งนี้ โดยไม่จำต้องออกคำสั่งทางปกครองใหม่แก่บุคคลหรือนิติบุคคลดังกล่าวอีก และให้นำหลักเกณฑ์เรื่องระยะเวลาใน
การอทุ ธรณต์ ามวรรคสองมาใช้บงั คับด้วยโดยอนุโลม

มาตรา 63/5 การอุทธรณก์ ารใชม้ าตรการบงั คับทางปกครอง ให้อทุ ธรณ์ ภายใน 15 วนั

ส่วนที่ 2 การบงั คบั ตามคำสงั่ ทางปกครองทก่ี ำหนดใหช้ ำระเงิน.......... .............................................................................

1. การบงั คบั โดยเจา้ หนา้ ทีข่ องหน่วยงานของรัฐ

มาตรา 63/7 เจา้ หน้าที่มคี ำส่ังทางปกครอง กำหนดให้ชำระเงนิ

ถา้ ถงึ กำหนดแลว้ ไมม่ ีการชำระโดยถกู ต้องครบถว้ น
ให้เจ้าหนา้ ที่ผู้ทำคำสงั่ ทางปกครอง มหี นังสือเตือน ใหผ้ ้นู นั้ ชำระภายในระยะเวลาทกี่ ำหนดแตต่ ้อง ไม่น้อยกวา่ 7 วนั
ถ้า ไมม่ กี ารปฏบิ ัตติ ามคำเตือน เจ้าหน้าท่ีมีอำนาจใชม้ าตรการบังคับทางปกครอง…
1. ยึด หรอื
2. อายดั ทรพั ย์สินของผนู้ น้ั และ
3. ขายทอดตลาดเพอ่ื ชำระเงนิ ใหค้ รบถว้ นได้

การใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้ง เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง เพื่อดำเนินการยึดหรืออายัดและขาย
ทอดตลาดทรพั ยส์ นิ ต่อไป

เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และการแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน
กฎกระทรวง

22

มาตรา 63/8 หนว่ ยงานของรฐั ทีอ่ อกคำสงั่ ใหช้ ำระเงนิ ต้องดำเนินการ

ยึด หรือ อายัดทรัพยส์ นิ ภายใน 10 ปี นับแตว่ ันทคี่ ำส่ังทางปกครองทกี่ ำหนดใหช้ ำระเงนิ เปน็ ทส่ี ดุ

คำสัง่ ทางปกครองทก่ี ำหนดให้ชำระเงินเปน็ ที่สดุ ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ไมม่ ีการอุทธรณ์คำสัง่ ต่อเจา้ หนา้ ที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์
(2) เจา้ หนา้ ที่ผู้มอี ำนาจพิจารณาอทุ ธรณ์มีคำวินิจฉยั ยกอุทธรณ์ และไมม่ ีการฟอ้ งคดตี ่อศาลภายในระยะเวลาการฟอ้ งคดี
(3) ศาลมีคำสั่งหรือคำพพิ ากษายกฟ้องหรือเพิกถอนคำส่งั บางสว่ น และคดถี ึงที่สุดแล้ว

หากหน่วยงานของรัฐทีอ่ อกคำสง่ั ให้ชำระเงนิ ไดย้ ดึ หรืออายดั ทรพั ย์สนิ แล้ว แตย่ งั ไมไ่ ดร้ บั ชำระเงนิ ครบถ้วน

ถา้ พน้ กำหนดระยะเวลา 10 ปี ตามวรรคหนึ่งจะยึดหรอื อายดั ทรัพยส์ นิ เพมิ่ เติมอกี ไมไ่ ด้

การขายทอดตลาด หรือ จำหนา่ ยโดยวธิ อี ืน่ ซ่ึงทรพั ยส์ ินของผ้อู ยู่ในบงั คับของมาตรการบงั คับทางปกครองท่ีถูกยดึ หรอื อายดั ไวภ้ ายใน
กำหนดเวลาตามวรรคหน่ึงเพ่อื ชำระเงิน รวมท้ังค่าธรรมเนียม คา่ ตอบแทน หรอื
ค่าใชจ้ ่ายอน่ื ในการบงั คบั ทางปกครอง ให้ทำได้แม้พน้ ระยะเวลา 10 ปี

มาตรา 63/9 มีการอทุ ธรณ์การใชม้ าตรการบงั คบั ทางปกครองและขอทุเลาการบังคบั ตามมาตรการดังกล่าว

1. เจ้าหน้าท่ีผอู้ อกคำส่งั ใชม้ าตรการบงั คับทางปกครอง อาจสั่งให้มีการทุเลาการบังคับทางปกครองไว้ก่อนก็ได้

2. ผมู้ อี ำนาจพจิ ารณาคำอทุ ธรณ์ โดยมอี ำนาจกำหนดเงอื่ นไขใหผ้ อู้ ยใู่ นบังคับของมาตรการ

บงั คบั ทางปกครองตอ้ งปฏิบตั ดิ ว้ ยกไ็ ด้

มาตรา 63/10 เพอื่ ประโยชนใ์ นการบังคับทางปกครองให้เจา้ หน้าทผี่ ู้ออกคำสงั่ ใชม้ าตรการบังคบั ทางปกครองมอี ำนาจ...
(1) มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรมที่ดิน

กรมการขนส่งทางบก กรมทรัพย์สินทางปัญญา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีหน้าทีค่ วบคุมทรัพย์สนิ ที่มีทะเบยี นเกี่ยวกับทรพั ย์สนิ ของผู้อยู่ใน
บงั คับของมาตรการบงั คบั ทางปกครอง

(2) มีหนังสือขอให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายระงับการจดทะเบียนหรือแก้ไข

เปลี่ยนแปลงทางทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน ของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองไว้เป็นการชั่วคราวเท่าที่จ ำเป็นเนื่องจากมี
เหตุขัดข้องที่ทำให้ไม่อาจยึดหรืออายัดทรัพย์สินได้ทันที และเมื่อเหตุขัดข้องสิ้นสุดลงให้แจ้งยกเลิกหนังสือดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑ์เกยี่ วกบั การระงับการจดทะเบยี นหรือแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงทางทะเบยี นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการน้นั

23

หน่วยงานตาม (1) ที่ให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครองในการดำเนินการตาม (1) ให้ถือว่าไม่เป็น
ความผดิ ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายวา่ ดว้ ยหลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอน่ื

ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ผู้นั้นมี
ความผดิ ฐานขดั คำสงั่ เจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 63/11 การสบื หาทรพั ย์สนิ ของผอู้ ยใู่ นบงั คับของมาตรการบงั คับทางปกครองหน่วยงานของรฐั ทอี่ อกคำสง่ั ใหช้ ำระเงนิ

อาจรอ้ งขอให้ สำนักงานอยั การสงู สุด หรือ หน่วยงานอนื่ ดำเนนิ การสบื หาทรพั ยส์ ินแทนได้ โดยให้หนว่ ยงานดงั กลา่ วมีอำนาจตาม
มาตรา 63/10 ด้วย

ถ้าหน่วยงานของรัฐทีอ่ อกคำสั่งให้ชำระเงนิ ไม่มเี จ้าหนา้ ทีใ่ นการดำเนนิ การสืบหาทรพั ย์สนิ และหากจำนวนเงินท่ีต้องชำระตาม
มาตรการบังคับทางปกครองนั้นมีมูลค่าตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป หรือตามมูลค่าที่กำหนดเพิ่มขึ้นโดยกฎกระทรวง หน่วยงานของรัฐอาจ

มอบหมายให้เอกชนสบื หาทรพั ย์สนิ แทนได้

ใหเ้ อกชนท่สี ืบพบทรัพย์สินได้ รับคา่ ตอบแทนไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 2.5 จากเงนิ หรือทรพั ย์สินทีไ่ ด้มาจากการยดึ อายดั หรอื ขายทอดตลาด
ทรัพย์สินทีส่ ืบพบได้ ทั้งนี้ จำนวนเงินค่าตอบแทนสูงสุดตอ้ งไม่เกนิ 1 ล้านบาท ต่อจำนวนเงินที่ต้องชำระตามคำสั่งทางปกครองในเร่ืองน้นั
หรือตามจำนวนทก่ี ำหนดเพ่มิ ขน้ึ โดยกฎกระทรวง

หลกั เกณฑ์และวธิ ีการคดั เลือกเอกชนที่สืบหาทรัพย์สนิ การกำหนดค่าตอบแทน และวิธีการจ่ายค่าตอบแทนตามวรรคสาม ให้เป็นไป
ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 63/12 ขน้ั ตอนและวิธีปฏบิ ตั ิเก่ียวกับการยดึ การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพยส์ ินใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
ถ้ากฎกระทรวงไมไ่ ดก้ ำหนดเร่อื งใดไว้ให้นำบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง่ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม
โดยให้ถือวา่

(1) เจา้ หนีต้ ามคำพิพากษา หมายถึง หนว่ ยงานของรฐั ทอ่ี อกคำส่ังให้ชำระเงิน
(2) ลูกหน้ตี ามคำพพิ ากษา หมายถึง ผู้อยู่ในบังคบั ของมาตรการบงั คับทางปกครอง
(3) อำนาจของศาลในส่วนทเ่ี กย่ี วกบั การบงั คบั คดี เป็นอำนาจของหวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั

ท้ังนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

(4) เจ้าพนักงานบังคับคดี หมายถงึ เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง

24

มาตรา 63/13 การโต้แย้ง หรือ การใช้สิทธิทางศาล เกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินโดยผู้อยู่ในบังคับของ
มาตรการบงั คับทางปกครอง รวมทั้งบคุ คลภายนอกผู้มสี ่วนไดเ้ สียเกย่ี วกบั ทรัพย์สินที่ถกู ยึดหรืออายัด

ให้เสนอตอ่ ศาล ดังต่อไปนี้
(1) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลเยาวชนและครอบครัว
หรือศาลชำนญั พิเศษอนื่ แลว้ แตก่ รณี ซ่ึงเปน็ ศาลท่มี เี ขตอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับคำส่ังทม่ี กี ารบังคบั

ทางปกครองน้ัน

(2) ศาลปกครอง สำหรบั กรณีอน่ื ที่ไม่อยู่ภายใตบ้ ังคับ (1)

มาตรา 63/14 กรณีที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาในคดีอื่นได้มีการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องอื่นใดของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการ

บังคบั ทางปกครองเพ่อื นำเงินมาชำระตามคำพิพากษา

ใหห้ น่วยงานของรฐั ท่อี อกคำส่งั ให้ชำระเงนิ มีสทิ ธิขอเข้าเฉลยี่ ได้เช่นเดียวกบั เจ้าหน้ีตามคำพพิ ากษา

2. การบังคับโดยเจ้าพนกั งานบังคบั คดี

มาตรา 63/15 ถ้ามีการบังคับให้ชำระเงินและคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหช้ ำระเงินเป็นท่ีสุดแล้ว หากหน่วยงานของรัฐที่ออกคำสัง่ ใหช้ ำระ
เงินประสงค์ให้เจา้ พนกั งานบังคบั คดใี นสงั กดั กรมบงั คบั คดีดำเนินการบังคบั ใหเ้ ปน็ ไปตามคำสั่งทางปกครองดังกล่าว

ใหย้ ่ืนคำขอฝา่ ยเดยี วตอ่ ศาลภายใน 10 ปนี บั แต่วันทคี่ ำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นท่ีสุด เพ่ือให้ศาลออกหมายบังคับคดี
เพื่อบังคับให้เป็นไปตามคำสั่งทางปกครองนั้น โดย ระบุจำนวนเงิน ที่ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองยัง ไม่ได้ชำระ ตามคำสั่ง
ทางปกครอง ทั้งนี้ ไม่ว่าหน่วยงานของรัฐยงั ไม่ได้บังคับทางปกครองหรือได้ดำเนินการบังคับทางปกครองแลว้ แต่ยังไม่ได้รับชำระเงินหรือได้รับ
ชำระเงินไมค่ รบถ้วน

เมอ่ื หนว่ ยงานของรัฐย่ืนคำขอตามวรรคหนึ่ง ถ้าศาลเหน็ วา่ คำส่ังทางปกครองที่กำหนดใหช้ ำระเงินเป็นทส่ี ุดแล้ว ให้ศาลออกหมายบงั คับ
คดตี ั้งเจ้าพนกั งานบังคับคดีและแจ้งให้เจ้าพนักงานบงั คบั คดีทราบเพ่ือดำเนินการตอ่ ไป โดยให้ถอื ว่าหนว่ ยงานของรัฐทีอ่ อกคำสง่ั ให้ชำระเงินเป็น
เจ้าหนี้ตามคำพพิ ากษาและให้ถอื ว่าผูอ้ ยใู่ นบังคบั ของมาตรการบงั คับทางปกครองเปน็ ลกู หนี้ตามคำพพิ ากษา

เม่ือศาลออกหมายบงั คบั คดแี ล้ว ให้หน่วยงานของรัฐ ติดต่อกรมบงั คับคดี พร้อมทั้ง มีหนังสือแจ้ง ให้ผู้อยูใ่ นบังคับของมาตรการ

บงั คับทางปกครองทราบวา่ ศาลไดต้ ั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือดำเนินการบังคับคดแี ล้ว

เพือ่ ประโยชน์ในการบงั คับคดีตามวรรคหนึ่ง 25

ให้ถอื วา่ 1. ศาลจงั หวดั ท่ผี อู้ ยู่ในบังคับของมาตรการบังคบั ทางปกครอง
2. ศาลแพ่ง 1. มีภมู ิลำเนาอยู่ในเขตศาล หรอื
3. ศาลแพง่ กรุงเทพใต้ 2. ทท่ี รัพย์สนิ ท่ีถกู บังคับทางปกครองนน้ั ตั้งอยูใ่ นเขตศาล
4. ศาลแพ่งธนบุรี หรือ
5. ศาลแพง่ อน่ื ในกรงุ เทพมหานคร มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาด หรือทำคำสั่งในเรื่องใดๆ
แลว้ แต่กรณี เกี่ยวกับการบังคับคดี และเป็นศาลที่มีอำนาจใน
การบงั คับคดี

กรณีคำขอซึ่งอาจย่นื ต่อศาลได้มากกวา่ หน่ึงศาล ไม่ว่าจะเป็นเพราะภมู ลิ ำเนาของผูอ้ ยู่ในบงั คับของมาตรการบังคับทางปกครองกด็ ี เพราะ
ที่ตั้งของทรัพย์สนิ ที่ถูกบังคับทางปกครองก็ดี หรือเพราะมีผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองหลายคนในมูลหนีท้ ี่เกี่ยวข้องกั นก็ดี จะ
ยืน่ คำขอต่อศาลใดศาลหนึง่ เช่นว่านน้ั กไ็ ด้

หน่วยงานของรัฐ หมายความวา่ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการทเ่ี รียกชอ่ื อย่างอื่นและมฐี านะเป็นกรม
ราชการสว่ นภมู ภิ าค ราชการสว่ นทอ้ งถิ่น และหนว่ ยงานอนื่ ของรฐั ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
(ตามมาตรานี้)

มาตรา 63/16 ในกรณที ี่คำส่ังทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงนิ เป็นท่สี ุดแลว้ และตอ่ มา...

1. ผูอ้ ยู่ในบังคับของคำสงั่ ทางปกครองขอให้พจิ ารณาคำสง่ั ทางปกครองทเี่ ปน็ ทสี่ ดุ แลว้ นน้ั ใหม่ หรือ
2. ฟ้องคดีตอ่ ศาลเพ่อื ใหพ้ จิ ารณาเกย่ี วกับคำสงั่ ทางปกครองท่เี ป็นทสี่ ุดแลว้ น้นั ใหม่ หรอื
3. ขอใหศ้ าลพิจารณาคดีใหม่

หน่วยงานของรัฐทีอ่ อกคำสั่งให้ชำระเงนิ หรอื ศาล มคี ำส่ังให้ รับคำขอหรอื ได้รบั คำฟ้องไว้พจิ ารณา

ผู้อย่ใู นบงั คับของคำส่งั ทางปกครองอาจยนื่ คำร้องต่อศาลที่มอี ำนาจในการออกหมายบังคบั คดตี ามมาตรา 63/15

เพ่ือขอให้สง่ั งดการบังคบั คดีไวก้ ่อน

หากศาลพจิ ารณาคำร้องแล้วมีคำสง่ั ให้งดการบังคับคดี

1. ใหศ้ าลส่งคำสง่ั นั้นไปให้เจา้ พนักงานบงั คบั คดีทราบ

2. ให้เจ้าพนักงานบงั คับคดงี ดการบังคับคดไี ว้ภายในระยะเวลาหรอื เงอ่ื นไขตามท่ีศาลกำหนด

3. ส่งคำบอกกลา่ วงดการบงั คบั คดใี หห้ นว่ ยงานของรฐั ท่อี อกคำสั่งให้ชำระเงนิ และบคุ คลภายนอกผมู้ ีส่วนได้เสียทราบโดยไม่ชกั ช้า

26

ถ้า หน่วยงานของรฐั ทอ่ี อกคำสั่งให้ชำระเงนิ

1. ย่นื คำร้องว่าอาจไดร้ ับความเสยี หายจากการย่นื คำรอ้ งตามวรรคหน่ึง และ
2. มีพยานหลกั ฐานเบอ้ื งต้นแสดงวา่ คำรอ้ งน้นั ไมม่ ีมลู และย่นื เข้ามาเพื่อประวิงการบงั คบั คดี

ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครองวางเงนิ หรือหาประกันตามที่ศาลเห็นสมควรภายในระยะเวลาที่ศาลจะกำหนด
เพือ่ เป็นประกนั การชำระคา่ สนิ ไหมทดแทนแกห่ นว่ ยงานของรฐั สำหรบั ความเสียหายทอ่ี าจได้รับเน่ืองจากเหตุเน่นิ ช้าในการบังคับคดี
อันเกิดจากการยนื่ คำรอ้ งนั้นหรือกำหนดวธิ ีการชั่วคราวเพ่ือค้มุ ครองอย่างใดๆ ตามท่ีเห็นสมควรก็ได้

ถ้าผู้อยใู่ นบังคับของคำส่งั ทางปกครองไมป่ ฏิบตั ิตามคำสั่งศาล ให้ศาลส่ังใหด้ ำเนินการบังคบั คดตี ่อไป

หากหนว่ ยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหช้ ำระเงนิ หรอื ศาลท่มี ีเขตอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดเี กี่ยวกับคำสง่ั ทางปกครองท่ี

กำหนดใหช้ ำระเงนิ ได้มีคำส่งั ให้ทบทวนคำส่งั ทางปกครองที่เปน็ ทสี่ ุดน้ันใหม่
ให้หนว่ ยงานของรัฐท่ีออกคำส่งั ให้ชำระเงิน ย่นื คำรอ้ งตอ่ ศาล ทมี่ ีอำนาจออกหมายบังคบั คดี
ตามมาตรา 63/15 เพือ่ เพกิ ถอนการบังคับคดีทไี่ ดด้ ำเนินการไปแล้ว

ในกรณที ่ีศาลเห็นวา่ เปน็ การ พ้นวิสัย ทีจ่ ะให้คูค่ วามกลับสู่ฐานะเดิม หรือเม่อื ศาลเห็นวา่ ไม่จำเป็น ทจี่ ะบังคับ
ให้เป็นไปตามหมายบังคับคดีต่อไปเพื่อประโยชน์แก่คู่ความหรือบุคคลภายนอก ให้ศาลมีอำนาจสั่งอย่างใดๆ ตามที่ศาล
เห็นสมควร และแจ้งให้เจ้าพนักงานบังคับคดที ราบ

มาตรา 63/17 เพื่อประโยชน์ในการบังคับคดี ให้นำความในมาตรา 63/10 และมาตรา63/11 มาใช้บังคับกับการสืบหาทรพั ย์สินของผู้อยู่
ในบงั คบั ของมาตรการบงั คับทางปกครองด้วย

มาตรา 63/18 หนว่ ยงานของรัฐที่ออกคำสัง่ ใหช้ ำระเงินต้องดำเนินการสบื ทรัพย์แลว้ แจง้ ให้เจา้ พนกั งานบงั คับคดที ราบพรอ้ มเอกสารหลกั ฐาน
ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำเนินการเพื่อให้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายใน 10 ปีนับแต่วันที่คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้
ชำระเงนิ เปน็ ทีส่ ุด และใหน้ ำความในมาตรา 63/8 วรรคสามและวรรคสี่ มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลมไม่ใหน้ ำระยะเวลาระหว่างการงดการบังคับคดี
ตามคำสงั่ ศาลตามมาตรา 63/16 วรรคหนง่ึ มานับรวมในระยะเวลา 10 ปตี ามวรรคหน่ึง

มาตรา 63/19 เมื่อ ศาลออกหมายบังคบั คดี และ แต่งตั้งเจา้ พนักงานบังคับคดี แล้วการดำเนินการบังคับให้เป็นไปตามคำสั่งทางปกครองที่

กำหนดใหช้ ำระเงินใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง

27

สว่ นที่ 3 การบงั คบั ตามคำสง่ั ทางปกครองทกี่ ำหนดใหก้ ระทำหรอื ละเวน้ กระทำ............................................................

มาตรา 63/20 ในส่วนน้ี... ค่าปรับที่เจ้าหน้าที่สั่งให้ผู้ที่ฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ัติตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหก้ ระทำหรือละเวน้
ค่าปรบั บงั คบั การ หมายความวา่ กระทำ ชำระเป็นรายวัน ไปจนกว่าจะยุติการฝ่าฝืนคำสั่งหรือได้มีการปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว ไม่ว่าจะ
เปน็ ค่าปรับทีก่ ำหนดโดยพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื โดยกฎหมายอน่ื

มาตรา 63/21 คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
เจา้ หน้าที่อาจใช้มาตรการบังคบั ทางปกครองอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ดังต่อไปนี้

(1) เจา้ หนา้ ท่เี ขา้ ดำเนินการดว้ ยตนเองหรอื มอบหมายใหบ้ คุ คลอ่นื ทำการแทน โดยผ้อู ยใู่ นบังคบั ของคำส่ังทางปกครองจะต้อง

ชดใชค้ ่าใช้จา่ ยและเงินเพ่มิ รายวันในอัตราร้อยละ 25 ต่อปีของค่าใชจ้ ่ายดังกล่าวแกห่ น่วยงานของรฐั ทเ่ี จ้าหนา้ ที่นน้ั สังกัด
(2) ใหม้ ีการชำระคา่ ปรบั บงั คบั การตามจำนวนทส่ี มควรแก่เหตแุ ต่ต้องไม่เกิน 50,000 บาทต่อวนั เจา้ หนา้ ทรี่ ะดับใดมอี ำนาจ

กำหนดค่าปรบั บังคบั การจำนวนเทา่ ใด สำหรับในกรณีใด ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีทม่ี คี วามจำเป็นท่จี ะตอ้ งบังคับการโดยเร่งดว่ นเพ่อื ป้องกนั 1. ไม่ให้มกี ารกระทำทขี่ ดั ต่อกฎหมายทม่ี ีโทษทางอาญา หรือ
2. ไม่ให้เกิดความเสียหายตอ่ ประโยชน์สาธารณะ

เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยไม่ต้องออกค ำสั่งทางปกครอง
ที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำก่อนก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องกระทำโดยสมควรแก่
เหตุและภายในขอบเขตอำนาจหนา้ ท่ีของตน

มาตรา 63/22 กอ่ นใชม้ าตรการบงั คับทางปกครองตามมาตรา 63/21 เจ้าหนา้ ท่ีจะต้อง มคี ำเตือน เปน็ หนงั สอื ใหม้ ีการกระทำหรือ

ละเว้นกระทำตามคำสง่ั ทางปกครองภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดตามสมควรแก่กรณี คำเตอื นดงั กล่าวจะกำหนดไปพรอ้ มกบั คำสงั่ ทางปกครองกไ็ ด้
คำเตอื นนนั้ จะตอ้ งระบุ...

(1) มาตรการบงั คบั ทางปกครองท่จี ะใช้ให้ชัดแจง้ แตจ่ ะกำหนดมากกวา่ หนึง่ มาตรการในคราวเดียวกันไม่ได้
(2) คา่ ใชจ้ า่ ยและเงนิ เพมิ่ รายวันในการทีเ่ จ้าหน้าทีเ่ ขา้ ดำเนินการด้วยตนเองหรอื มอบหมายให้บุคคลอ่ืนกระทำการแทน

หรือจำนวนค่าปรบั บงั คบั การแลว้ แตก่ รณี

การกำหนดค่าใช้จา่ ยในคำเตอื น ไม่เป็นการตดั สทิ ธทิ ่จี ะเรียกคา่ ใช้จา่ ยเพม่ิ ข้ึน หากจะต้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายจรงิ มากกว่าที่ไดก้ ำหนดไว้

28

มาตรา 63/23 เจ้าหน้าทจี่ ะตอ้ งใชม้ าตรการบงั คบั ทางปกครองตามทก่ี ำหนดไว้ในคำเตือนตามมาตรา 63/22
การเปลีย่ นแปลงมาตรการ
จะทำได้ตอ่ เม่อื ปรากฏว่ามาตรการทีก่ ำหนดไว้ไมบ่ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์

ถ้าผู้อยูใ่ นบงั คบั ของคำส่ังทางปกครองต่อสขู้ ัดขวางการบังคับทางปกครอง
เจ้าหน้าที่อาจใช้กำลังเข้าดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามมาตรการบังคับ

ทางปกครองได้ แต่ตอ้ งกระทำโดยสมควรแก่เหตุ

ในการใชม้ าตรการบงั คบั ทางปกครองตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง เจา้ หน้าท่อี าจแจ้งขอความชว่ ยเหลือจากเจ้าพนักงานตำรวจได้

มาตรา 63/24 ในกรณีไมม่ ีการชำระคา่ ปรับบังคับการ ค่าใชจ้ ่าย หรือเงินเพม่ิ รายวันโดยถูกต้องครบถ้วน

ให้เจา้ หน้าท่ดี ำเนนิ การบังคับทางปกครองตามสว่ นท่ี 2 ตอ่ ไป

มาตรา 63/25 การฟอ้ งคดโี ต้แย้งการบงั คบั ทางปกครองตามส่วนนี้ ใหเ้ สนอตอ่ ศาลทม่ี เี ขตอำนาจในการพจิ ารณาพิพากษาคดีเก่ียวกบั

คำสัง่ ที่มกี ารบังคับทางปกครองน้ันทราบ

-----------------------หมวด 3 ระยะเวลาและอายคุ วาม--------------------------

มาตรา 64 กำหนดเวลาเปน็ วัน สัปดาห์ เดือน หรือปีนัน้ ไม่ให้นบั วันแรกแห่งระยะเวลานน้ั รวมเขา้ ดว้ ย

เว้นแต่จะไดเ้ รม่ิ การในวนั นั้นหรือมกี ารกำหนดไว้เป็นอย่างอ่นื โดยเจา้ หน้าที่

ในกรณีท่ี เจ้าหนา้ ที่มหี น้าทีต่ อ้ งกระทำการ อย่างหนงึ่ อย่างใดภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด

ใหน้ บั วนั สน้ิ สดุ ของระยะเวลานนั้ รวมเขา้ ดว้ ย แมว้ า่ วนั สดุ ทา้ ยเปน็ วนั หยดุ ทำการงานสำหรับ

เจ้าหน้าที่

ในกรณที ี่ บคุ คลใดตอ้ งทำการ อยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยกฎหมายหรือโดยคำส่งั ของเจา้ หนา้ ที่

ถ้าวนั สดุ ท้ายเป็นวนั หยดุ ทำการงานสำหรบั เจ้าหน้าท่ีหรือวันหยุดตามประเพณีของบุคคลผ้รู บั คำส่ัง

ให้ถือวา่ ระยะเวลานั้นสน้ิ สดุ ในวนั ทำงานทถ่ี ัดจากวนั หยดุ น้นั
เว้นแต่ กฎหมายหรอื เจ้าหน้าทท่ี ี่มคี ำส่งั จะกำหนดไวเ้ ปน็ อย่างอ่นื

29

มาตรา 65 ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำส่งั ของเจา้ หน้าท่ีอาจมีการขยายอีกได้

ถา้ ระยะเวลานน้ั ไดส้ ้ินสดุ ลงแล้วเจ้าหนา้ ที่อาจขยายโดยกำหนดใหม้ ีผลย้อนหลงั ได้เชน่ กนั
ถา้ การส้ินสดุ ตามระยะเวลาเดิมจะก่อใหเ้ กดิ ความไม่เป็นธรรมท่ีจะใหส้ ้ินสดุ ลงตามนัน้

มาตรา 66 ในกรณที ่ีผใู้ ดไม่อาจกระทำการอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในกฎหมายได้
เพราะมพี ฤตกิ ารณ์ทจี่ ำเป็นอนั ไม่ไดเ้ กดิ ขนึ้ จากความผดิ ของผ้นู นั้

อาจย่นื คำขอใหเ้ จ้าหน้าที่ ขยายระยะเวลา และดำเนนิ การสว่ นหนึ่งส่วนใดท่ีล่วงมาแลว้ เสียใหมก่ ็ได้แต่ ต้องยนื่ คำขอภายใน 15 วัน
นับแตพ่ ฤติการณเ์ ช่นวา่ นัน้ ไดส้ นิ้ สดุ ลง

มาตรา 67 เมื่อมีการอุทธรณ์ตามบทบัญญัติในส่วนที่ 5 ของหมวด 2 แห่งพระราชบัญญัตินี้หรือมีการยื่นคำขอต่อคณะกรรมการ
วนิ ิจฉยั ขอ้ พิพาทหรือคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยรอ้ งทุกข์ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยคณะกรรมการกฤษฎกี าเพอ่ื ให้วนิ จิ ฉัยชขี้ าดแล้ว

ใหอ้ ายคุ วามสะดุดหยดุ อยู่ไม่นบั ในระหวา่ งนน้ั จนกว่าการพิจารณาจะถงึ ท่สี ดุ หรอื เสรจ็ ไปโดยประการอน่ื
แตถ่ า้ เสร็จไปเพราะเหตุถอนคำขอหรือทงิ้ คำขอ ใหถ้ อื ว่าอายุความเรียกร้องของผู้ยนื่ คำขอไม่เคยมีการสะดุดหยุดอยเู่ ลย

-----------------------------หมวด 4 การแจง้ ------------------------------

มาตรา 68 บทบญั ญัติในหมวดน้ี ไมใ่ หใ้ ช้บังคับกับการแจ้งซ่งึ ไมอ่ าจกระทำโดย 1. วาจา
2. หนงั สือ
3. มกี ฎหมายกำหนดวธิ กี ารแจง้ ไวเ้ ปน็ อยา่ งอนื่

ในกรณีคำสั่งทางปกครองทีแ่ สดงให้ทราบโดย การส่อื ความหมายในรูปแบบอ่นื ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงให้ มีผลเม่ือไดแ้ จ้ง

มาตรา 69 การแจง้ คำสั่งทางปกครอง การนดั พจิ ารณา หรือการอย่างอืน่ ที่เจ้าหนา้ ท่ตี อ้ งแจง้ ให้ผทู้ ่ีเก่ียวข้องทราบ อาจกระทำด้วยวาจากไ็ ด้
แตถ่ ้าผูน้ ั้นประสงค์จะให้กระทำเป็นหนงั สอื กใ็ ห้แจ้งเปน็ หนังสือ

การแจง้ เปน็ หนงั สอื

ให้ ส่งหนงั สือแจ้งตอ่ ผนู้ ้ัน หรือ ถ้าได้ ส่งไปยงั ภมู ิลำเนา ของผู้นนั้ ก็ให้ถอื วา่ ได้รบั แจ้งตงั้ แตใ่ นขณะทีไ่ ปถึง

การดำเนนิ การเรื่องใดท่ีมกี ารใหท้ อี่ ยูไ่ ว้กบั เจา้ หนา้ ทีไ่ วแ้ ล้ว การแจ้งไปยงั ท่ีอยดู่ ังกล่าวให้ถอื ว่าเปน็ การแจ้งไปยังภูมลิ ำเนาของผูน้ ้นั แล้ว

30

มาตรา 70 การแจง้ เป็น หนงั สอื โดยวธิ ใี ห้ บคุ คลนำไปสง่

1. ถ้าผู้รบั ไมย่ อมรบั หรอื
2. ถ้าขณะนำไปสง่ ไมพ่ บผรู้ ับ และหากไดส้ ่งให้กบั บุคคลใดซึ่งบรรลนุ ิติภาวะทอ่ี ยหู่ รอื ทำงานในสถานท่ีนนั้ หรือ
3. ในกรณีที่ผนู้ นั้ ไม่ยอมรบั หากไดว้ างหนังสอื นนั้ หรอื ปดิ หนงั สอื นน้ั ไวใ้ นท่ีซง่ึ เห็นได้งา่ ย ณ สถานทน่ี น้ั ตอ่ หนา้ เจา้ พนกั งาน
ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวงทีไ่ ปเป็นพยาน

ทง้ั 3 กรณขี ้างตน้ ใหถ้ ือว่า ได้รับแจง้ แล้ว

มาตรา 71 การแจง้ โดยวธิ สี ่งทาง ไปรษณียต์ อบรบั

กรณภี ายในประเทศ ให้ถอื วา่ ไดร้ ับแจ้งเมอื่ ครบกำหนด 7 วนั นบั แตว่ นั สง่
กรณีสง่ ไปยงั ต่างประเทศ ไดร้ ับแจง้ เม่ือครบกำหนด 15 วนั นบั แต่วนั ส่ง

เว้นแต่จะมกี ารพิสูจน์ไดว้ า่ ไมม่ ีการได้รบั หรอื ได้รับกอ่ นหรอื หลงั จากวนั นั้น

มาตรา 72 กรณที ม่ี ี ผ้รู ับเกนิ 50 คน เจา้ หน้าท่จี ะแจ้งให้ทราบต้งั แต่เรมิ่ ดำเนนิ การในเรื่องน้นั วา่ การแจง้ ตอ่ บคุ คลเหลา่ น้ันจะกระทำโดยวธิ ี

1. ปดิ ประกาศไว้ ณ ทท่ี ำการของเจา้ หนา้ ที่
2. ที่วา่ การอำเภอท่ผี ้รู บั มภี ูมลิ ำเนา

กรณนี ใี้ หถ้ อื วา่ ได้รบั แจ้งเมอื่ ลว่ งพน้ ระยะเวลา 15 วันนบั แต่วนั ทีไ่ ดแ้ จ้งโดยวธิ ดี งั กล่าว

มาตรา 73 กรณที ่ี 1. ไมร่ ตู้ วั ผรู้ บั หรือ
2. รตู้ วั แต่ไมร่ ภู้ มู ิลำเนา หรือ
3. รตู้ ัวและภูมลิ ำเนาแตม่ ผี รู้ บั เกนิ 100 คน

แจง้ เปน็ หนงั สอื จะกระทำโดย การประกาศในหนงั สือพมิ พ์ซ่ึงแพร่หลายในท้องถ่ิน นนั้ กไ็ ด้

กรณนี ้ใี หถ้ อื ว่าไดร้ บั แจง้ เมือ่ ลว่ งพน้ ระยะเวลา 15 วนั นับแต่วันทไี่ ดแ้ จง้ โดยวิธดี งั กลา่ ว

31

มาตรา 74 กรณี มีเหตุจำเป็นเร่งด่วน การแจง้ คำสั่งทางปกครองจะใช้วธิ ี ส่งทางเคร่อื งโทรสาร กไ็ ด้

แต่ต้องมีหลักฐานการได้ส่งจากหน่วยงานผู้จัดบริการโทรคมนาคม
ที่เป็นสื่อในการส่งโทรสารนั้น และต้องจัดส่งคำสั่งทางปกครองตัว
จรงิ โดยวธิ ีใดวิธหี น่งึ ตามหมวดนีใ้ ห้แกผ่ ู้รบั ในทนั ทีทีอ่ าจกระทำได้

กรณนี ีใ้ หถ้ อื วา่ ผูร้ ับได้รบั แจง้ คำส่ังทางปกครองเป็นหนงั สอื ตามวนั เวลา ท่ปี รากฏในหลักฐานของหนว่ ยงานผ้จู ัดบรกิ ารโทรคมนาคม
เวน้ แต่ จะมีการพิสจู นไ์ ด้วา่ ไมม่ กี ารไดร้ บั หรอื ได้รับก่อนหรือหลงั จากนนั้

----------------หมวด 5 คณะกรรมการทม่ี อี ำนาจดำเนนิ การพจิ ารณาทางปกครอง-------------

มาตรา 75 การแตง่ ต้ังกรรมการในลักษณะทีเ่ ปน็ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ใหแ้ ตง่ ตง้ั โดย ระบตุ ัวบุคคล

มาตรา 76 นอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการพ้นจากตำแหนง่ เมือ่ ...

(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เปน็ บุคคลล้มละลาย
(4) เป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
(5) ได้รบั โทษจำคกุ โดยคำพพิ ากษาถงึ ที่สดุ ให้จำคกุ

เว้นแต่ เปน็ ความผดิ ลหโุ ทษหรือความผดิ อันไดก้ ระทำโดยประมาท
(6) มเี หตตุ อ้ งพน้ จากตำแหนง่ กอ่ นครบวาระตามกฎหมายว่าดว้ ยการน้นั

มาตรา 77 กรณที ่กี รรมการพน้ จากตำแหน่งกอ่ นวาระ ผู้มอี ำนาจแต่งต้ังอาจแต่งต้งั ผอู้ ื่นเป็นกรรมการแทนได้ และให้ผู้ที่ได้รับแต่งต้ัง
ใหด้ ำรงตำแหน่งแทนอยูใ่ นตำแหนง่ เท่ากบั วาระที่เหลอื อยู่ของผ้ซู ่งึ ตนแทน

กรณีทม่ี กี ารแตง่ ต้งั กรรมการเพ่ิมขึ้นในระหว่างทก่ี รรมการซ่งึ แต่งตง้ั ไวแ้ ลว้ ยงั มีวาระอยู่ในตำแหน่ง ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการ
เพิ่มข้นึ อยูใ่ นตำแหนง่ เทา่ กับวาระทเี่ หลืออยขู่ องกรรมการที่ได้รบั แต่งต้ังไวแ้ ล้ว

32

มาตรา 78 ภายใต้บังคับมาตรา 76 กรรมการในคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยข้อพพิ าทพน้ จากตำแหนง่ ก่อนครบวาระจะกระทำไมไ่ ด้

เว้นแต่ กรณีมีเหตุบกพร่องอย่างยิง่ ตอ่ หนา้ ท่ีหรือมีความประพฤตเิ ส่ือมเสียอย่างรา้ ยแรง

มาตรา 79 ภายใตบ้ ังคับมาตรา 15 วรรคสอง การประชมุ ของคณะกรรมการ

ต้องมกี รรมการมาประชุมอยา่ งนอ้ ยกงึ่ หนึง่ จงึ จะเปน็ องคป์ ระชมุ

เว้นแต่ บทบัญญตั ิแหง่ กฎหมายหรอื กฎหรอื คำสงั่ ทจ่ี ดั ให้มคี ณะกรรมการชดุ น้ันจะกำหนดไว้เป็นอยา่ งอ่นื

กรณีท่ีมกี รรมการครบท่ีจะเปน็ องค์ประชมุ ได้

การพิจารณาเรื่องใดถ้าตอ้ ง เล่อื นมาเพราะไม่ครบองคป์ ระชมุ

เปน็ การประชมุ ของคณะกรรมการซงึ่ ไม่ใช่คณะกรรมการวินิจฉยั ขอ้ พิพาท
หากได้มีการนัดประชุมเรอ่ื งนนั้ อกี ภายใน 14 วนั นับแตว่ ันนดั ประชุมท่ีเลอ่ื นมา

มีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมดให้ถือว่าเป็นองค์ประชุม
แต่ทัง้ น้ีตอ้ งระบุความประสงค์ใหเ้ กดิ ผลตามบทบญั ญัติน้ีไว้ในหนงั สอื นัดประชุมดว้ ย

มาตรา 80 การประชุมใหเ้ ป็นไปตามระเบียบการทคี่ ณะกรรมการกำหนด

การนดั ประชมุ ตอ้ งทำเปน็ หนังสอื และ แจ้งให้กรรมการทุกคนทราบลว่ งหน้าไม่น้อยกว่า 3 วนั

เวน้ แต่ กรรมการนนั้ จะได้ทราบการบอกนดั ในทีป่ ระชุมแล้ว จะทำหนังสอื แจ้งนดั เฉพาะกรรมการท่ไี ม่ไดม้ าประชุมกไ็ ด้
บทบญั ญัตใิ นวรรคสองไม่ใหน้ ำมาใชบ้ ังคับในกรณีมีเหตจุ ำเปน็ เรง่ ดว่ น ซ่ึงประธานกรรมการจะนัดประชมุ เป็นอย่างอนื่ กไ็ ด้

มาตรา 81 ประธานกรรมการ มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการประชมุ และเพื่อรกั ษาความเรียบร้อยในการประชุม ให้ประธานมีอำนาจออกคำส่งั

ใดๆ ตามความจำเปน็ ได้

ถ้าประธานกรรมการไม่อยูใ่ นทีป่ ระชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการทำหน้าที่แทน ถ้าไม่มีรองประธาน

กรรมการหรอื มี แตไ่ มส่ ามารถปฏิบตั หิ น้าทไี่ ด้ ให้กรรมการทีม่ าประชมุ เลอื กกรรมการคนหน่งึ ขนึ้ ทำหนา้ ที่แทน
กรณที ่ีประธานกรรมการมีหนา้ ทตี่ อ้ งดำเนินการใดๆ นอกจากการดำเนนิ การประชมุ ใหน้ ำความในวรรคสองมาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม

33

มาตรา 82 การลงมติของท่ปี ระชมุ ให้ถอื เสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีหนงึ่ เสียงในการลงคะแนน

ถา้ คะแนนเสยี ง เท่ากนั ให้ ประธาน ในท่ีประชุมออกเสียงเพิม่ ขึ้นอกี เสียงหนึง่ เปน็ เสียงชีข้ าด

เรื่องใดถ้าไม่มีผู้คัดค้านให้ประธานถามที่ประชุมว่ามีผู้เห็นเป็นอย่างอื่นหรือไม่ เมื่อไม่มีผู้เห็นเป็นอย่างอื่นให้ถือว่าที่ประชุมลงมติ
เหน็ ชอบในเรื่องนัน้

มาตรา 83 การประชมุ ต้องมี รายงานการประชมุ เป็น หนังสอื

ถ้ามีความเห็นแย้งให้บันทึกความเหน็ แย้งพรอ้ มทั้งเหตุผลไว้ในรายงานการประชุม และถ้ากรรมการฝ่ายข้างนอ้ ยเสนอความเห็นแย้ง

เป็นหนงั สอื กใ็ ห้บนั ทกึ ความเหน็ แย้งนน้ั ไว้ด้วย

มาตรา 84 คำวินิจฉยั ของคณะกรรมการวินิจฉัยขอ้ พพิ าท ต้องมี ลายมอื ชื่อของกรรมการทีว่ นิ ิจฉัยเร่อื งนน้ั
ถา้ กรรมการคนใดมคี วามเห็นแย้ง ใหม้ ีสิทธทิ ำความเห็นแย้งของตนรวมไวใ้ นคำวนิ ิจฉยั ได้


Click to View FlipBook Version