The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumarin0618, 2022-07-06 10:11:31

2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

1

พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546

และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ 2)

ฉบบั ท่ี 1 ใหไ้ ว้ 9 ตลุ าคม ประกาศ 9 ตลุ าคม บงั คับใช้ 10 ตลุ าคม 2546 มาจาก 2 ท่ี คอื รฐั ธรรมนญู มาตรา 221 และ
พ.ร.บ.ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ฉบบั 5
ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการ พ.ต.ท. ทกั ษณิ ชนิ วตั ร มาตรา 3/1 และ 71/10

เหตุผลในการประกาศใช้ ปฏริ ปู ระบบราชการต้องใช้วิธกี ารบริหารกิจการบา้ นเมืองทดี่ ี และจากมาตรา 3/1 ของ พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร

ราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 บัญญัตใิ ห้กำหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการในการปฏิบตั ิราชการเพ่ือใหเ้ กิดการบริหารกจิ การบ้านเมืองที่ดี

ฉบบั ที่ 2 ให้ไว้ 26 เมษายน ประกาศ 30 เมษายน บงั คับใช้ 1 พฤษภาคม 2562

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา

เหตผุ ลในการประกาศใช้ กำหนดให้การปฏบิ ัติงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการบรกิ ารประชาชนและการตดิ ต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกันต้อง

กระทำโดยใช้แพลตฟอร์มดจิ ิทัลกลาง

นายกรัฐมนตรี รกั ษาการ หลกั ธรรมาภบิ าล 6 หลัก

สว่ นราชการ หลกั การบรกิ ารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี ใช้ 1. นติ ธิ รรม 2. คณุ ธรรม
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม 3. โปรง่ ใส 4. มีสว่ นรว่ ม
5. รบั ผิดชอบ 6. เหน็ คณุ คา่

รฐั วสิ าหกจิ หมายถึง หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั ทอ่ี ยใู่ นกำกบั ฝา่ ยบรหิ าร แตไ่ มร่ วมถงึ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
ทจ่ี ัดตั้งขนึ้ โดย พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ฎ.

ขา้ ราชการ รวมถึง พนักงาน ลกู จา้ ง หรอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในสว่ นราชการ

พ.ร.ฎ. น้ี แบ่งเปน็ 9 หมวด 53 มาตรา คอื ด/ี สขุ / สมั / สิทธ/ิ ขน้ั / ปรบั / นวย/ เมนิ / เบด็ เตลด็

หมวด 1 การบริหารกจิ การบ้านเมอื งทดี่ ี
หมวด 2 การบริหารราชการเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
หมวด 3 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ติ อ่ ภารกจิ ของรฐั
หมวด 4 การบรหิ ารราชการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคุ้มคา่ ในเชงิ ภารกจิ ของรฐั
หมวด 5 การลดขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน
หมวด 6 การปรับปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการ
หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน
หมวด 8 การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ
หมวด 9 บทเบ็ดเตลด็

2

-----------------------หมวด 1 การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี-----------------------

มาตรา 6 การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี ไดแ้ ก่ การบรหิ ารราชการเพอื่ บรรลเุ ปา้ หมาย 7 เป้าหมาย

สขุ (1) เกดิ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
สมั (2) เกดิ ผลสมั ฤทธิต์ อ่ ภารกิจของรัฐ
สทิ ธิ (3) มปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคมุ้ คา่ ในเชงิ ภารกจิ ของรัฐ
ขน้ั (4) ไม่มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านเกนิ ความจำเปน็
ปรับ (5) มกี ารปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการใหท้ นั ตอ่ สถานการณ์
นวย (6) ประชาชนไดร้ บั การอำนวยความสะดวกและไดร้ บั การตอบสนองความตอ้ งการ
เมนิ (7) มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการอยา่ งสม่ำเสมอ

---------------หมวด 2 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชนส์ ขุ ของประชาชน---------------

มาตรา 7 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน หมายถึง การปฏบิ ตั ริ าชการทมี่ เี ปา้ หมาย เพอ่ื ใหเ้ กดิ

1. ความผาสกุ และความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี องประชาชน
2. ความสงบและปลอดภยั ของสงั คมสว่ นรวม
3. ตลอดจนประโยชนส์ งู สดุ ของประเทศ

มาตรา 8 ในการบรหิ ารราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน ส่วนราชการจะตอ้ งดำเนินการโดยถอื ว่า ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง ที่จะไดร้ ับ

การบรกิ ารจากรัฐ

ตอ้ งมี แนวทางการบรหิ ารราชการ (มี 5 แนวทาง)

(1) การกำหนดภารกจิ ของรฐั และสว่ นราชการต้องเปน็ ไปเพ่อื วตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา 7 และสอดคล้องกบั แนวนโยบายแห่งรัฐ

และนโยบายของคณะรัฐมนตรีท่แี ถลงต่อรัฐสภา

(2) การปฏิบัตภิ ารกิจของส่วนราชการตอ้ งเป็นไปโดยซอื่ สัตยส์ จุ รติ สามารถตรวจสอบได้ และมุ่งให้เกิดประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชน

ทัง้ ในระดบั ประเทศและท้องถิน่

3

(3) ก่อนเรมิ่ ดำเนนิ การสว่ นราชการตอ้ งจดั ใหม้ ี 1. การศึกษาวิเคราะห์ผลดแี ละผลเสยี ให้ครบถว้ นทุกด้าน

2. กำหนดขน้ั ตอนการดำเนนิ การที่โปร่งใส

3. มีกลไกตรวจสอบการดำเนนิ การในแต่ละขัน้ ตอน
ในกรณีท่ีภารกิจใด มีผลกระทบตอ่ ประชาชน สว่ นราชการต้องดำเนนิ การ...
รับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน หรือ ชแี้ จงทำความเขา้ ใจ

เพ่ือใหป้ ระชาชนได้ตระหนักถงึ ประโยชน์ทส่ี ว่ นรวมจะได้รับจากภารกจิ นั้น

(4) ให้เป็นหน้าที่ของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ

เพอ่ื ปรบั ปรงุ หรอื เสนอแนะตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชา เพ่ือใหม้ ีการปรบั ปรุงวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการให้เหมาะสม

(5) ถา้ เกดิ ปญั หาและอปุ สรรคจากการดำเนินการใหส้ ่วนราชการดำเนนิ การแกไ้ ขปญั หาและอปุ สรรคนน้ั โดยเรว็

ในกรณีทีป่ ัญหาหรืออปุ สรรคนั้น เกดิ ขน้ึ จากสว่ นราชการอน่ื หรือระเบียบข้อบังคบั ท่อี อกโดยส่วนราชการอ่นื ใหส้ ่วนราชการ
แจง้ ใหส้ ว่ นราชการทเี่ กย่ี วขอ้ งทราบเพื่อดำเนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ โดยเรว็ ต่อไป และให้ แจง้ ก.พ.ร. ทราบด้วย

ใหส้ ว่ นราชการกำหนดวิธีปฏบิ ัตใิ ห้เหมาะสมกบั ภารกิจแตล่ ะเรือ่ ง
ก.พ.ร. จะกำหนดแนวทางการดำเนินการทว่ั ไปให้ส่วนราชการปฏิบัตใิ ห้เปน็ ไปตามมาตรานดี้ ว้ ยก็ได้

----------------หมวด 3 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธติ์ อ่ ภารกจิ ของรฐั --------------

มาตรา 9 การบรหิ ารราชการเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธติ์ อ่ ภารกิจของรฐั ให้ส่วนราชการปฏบิ ัติ 4 ประการ
(1) กอ่ นจะดำเนนิ การ ตามภารกจิ ใด สว่ นราชการตอ้ ง จัดทำแผนปฏิบตั ริ าชการ ไว้เปน็ การล่วงหน้า
(2) การกำหนดแผนปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการตามตอ้ งม…ี 1. รายละเอยี ดของขนั้ ตอน
2. ระยะเวลา
3. งบประมาณทจ่ี ะตอ้ งใชใ้ นการดำเนนิ การของแต่ละขน้ั ตอน
4. เปา้ หมายของภารกจิ
5. ผลสัมฤทธขิ์ องภารกจิ
6. ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ ของภารกจิ
(3) สว่ นราชการตอ้ งจดั ใหม้ กี ารตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิตามแผนปฏิบัติราชการตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีส่วนราชการ

กำหนดขึ้น ซึ่งตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานท่ี ก.พ.ร. กำหนด
(4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจหรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบต่อประชาชนให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการท่ี

จะต้องดำเนินการแก้ไขหรอื บรรเทาผลกระทบน้นั หรือเปล่ียนแผนปฏบิ ัติราชการให้เหมาะสม

4

มาตรา 10 ภารกิจใดมีความเกีย่ วข้องกับหลายส่วนราชการ หรือ เปน็ ภารกิจทใี่ กล้เคยี งหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกำหนดแนว

ทางการปฏบิ ัติราชการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ .... การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการรว่ มกนั (CEO : Chief Executive Officer)

มาตรา 11 สว่ นราชการมหี นา้ ท่พี ัฒนาความรูใ้ นส่วนราชการ เพอื่ ให้มลี ักษณะเปน็ องคก์ ารแหง่ การเรยี นรอู้ ยา่ งสมำ่ เสมอ
(LO : Learning Organization)

โดยต้องรับร้ขู ้อมลู ขา่ วสารและสามารถประมวลผลความรใู้ นดา้ นต่างๆ เพ่ือนำมาประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบตั ริ าชการได้อย่างถกู ต้อง

รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสรมิ และพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรบั เปลี่ยนทศั นคติของข้าราชการ
ในสงั กัดใหเ้ ป็นบุคลากรทม่ี ีประสิทธิภาพและมีการเรยี นรรู้ ่วมกัน

มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติ
ราชการ

โดยวิธีการจดั ทำ ความตกลงเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร (MOU : Memorandum of Understanding) หรอื โดยวธิ กี ารอืน่ ใด เพือ่
แสดงความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตริ าชการ

โดยใช้ การจดั การความรู้ (KM: Knowledge Management) เป็นแนวทางการบริหารการทำงานภายในองค์กร

มาตรา 16 ใหส้ ่วนราชการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการนัน้ โดยจัดทำเป็น แผน 5 ปี

ซ่ึงจะตอ้ งสอดคล้องกบั ... วาระแรก ทำแผนปฏบิ ัติราชการของส่วน

ราชการเปน็ แผน 3 ปี ในหว้ ง

1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) งบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2565

2. แผนแม่บท

3. แผนการปฏริ ปู ประเทศ

4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)

5. นโยบายของ ครม. แถลงไว้

5

ในแตล่ ะปงี บประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี โดยใหร้ ะบสุ าระสำคญั เกย่ี วกบั ....

1. นโยบายการปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการ เสนอตอ่ รฐั มนตรี
2. เปา้ หมายและผลสมั ฤทธข์ิ องงาน เพอ่ื ให้ความเหน็ ชอบ
3. ประมาณการรายไดแ้ ละรายจา่ ยและทรพั ยากรอน่ื ทจี่ ะตอ้ งใช้

เมื่อรัฐมนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้ สำนกั งบประมาณ ดำเนินการจัดสรรงบประมาณ

ในกรณที ี่สว่ นราชการมไิ ดเ้ สนอแผนปฏบิ ตั ริ าชการในภารกจิ ใดหรือภารกจิ ใดไม่ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากรัฐมนตรี
ไมใ่ ห้สำนกั งบประมาณจัดสรรงบประมาณสำหรบั ภารกจิ น้นั

เมอื่ สิน้ ปงี บประมาณใหส้ ว่ นราชการจัดทำ รายงานแสดงผลสัมฤทธข์ิ องแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี เสนอต่อ ครม.

มาตรา 17 สว่ นราชการจัดทำแผนปฏบิ ัติราชการเพอื่ ขอรบั งบประมาณ
ให้ สำนกั งบประมาณ และ ก.พ.ร. รว่ มกนั กำหนดแนวทางการจัดทำแผนปฏบิ ัตริ าชการ

มาตรา 18 เม่ือมีการกำหนดงบประมาณรายจา่ ยประจำปีตามแผนปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการ

การโอนงบประมาณ จากภารกจิ ทีไ่ ม่บรรลุเป้าหมายหรอื นำไปใชใ้ นภารกิจใหม่ท่ีไม่ได้กำหนดในแผนปฏิบตั ิราชการ

จะทำได้ตอ่ เม่ือ ไดร้ บั อนมุ ตั จิ าก ครม.

---------หมวด 4 การบรหิ ารราชการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคมุ้ คา่ ในเชงิ ภารกจิ ของรฐั --------

มาตรา 20 เพือ่ ใหก้ ารปฏิบัตริ าชการภายในส่วนราชการเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ให้ส่วนราชการกำหนด...

1. เป้าหมาย
2. แผนการทำงาน
3. ระยะเวลาแลว้ เสร็จของงานหรือโครงการ
4. งบประมาณทจี่ ะตอ้ งใช้ในแต่ละงานหรอื โครงการ
5. เผยแพรใ่ หข้ า้ ราชการและประชาชนทราบทวั่ กนั

6

มาตรา 21 ให้ส่วนราชการ จดั ทำบัญชีตน้ ทนุ ในงานบรกิ ารสาธารณะ แต่ละประเภทข้ึน ตามทีก่ รมบัญชีกลางกำหนด

ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้นตาม

ระยะเวลาท่ีกรมบัญชีกลางกำหนด
รายงานให้ สำนักงบประมาณ และ กรมบญั ชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

ในกรณีที่รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะใดของส่วนราชการใด สูงกว่า รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะ
ประเภทและคณุ ภาพเดียวกันหรือคลา้ ยคลงึ กนั ของส่วนราชการอ่ืน

ใหส้ ว่ นราชการน้นั จัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะดังกล่าว

เสนอสำนกั งบประมาณ กรมบัญชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

ถ้าไม่มกี ารทกั ทว้ ง ภายใน 15 วนั ให้สว่ นราชการดงั กลา่ วถอื ปฏิบัติตามแผนการลดรายจา่ ยนั้นต่อไปได้

มาตรา 22 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และ สำนักงบประมาณ ร่วมกันจัดใหม้ ี

การประเมนิ ความคมุ้ คา่ ในการปฏบิ ัติภารกิจของรฐั ท่ีส่วนราชการดำเนนิ การ
อยู่ เพื่อรายงาน ครม. เพือ่ ...

1. เป็นแนวทางพจิ ารณาว่าภารกจิ ใดควรดำเนินการตอ่ ไปหรือยุบเลิก และ
2. ประโยชนใ์ นการจดั ต้ังงบประมาณของส่วนราชการในปตี ่อไป

ในการประเมินความคุม้ ค่า ใหส้ ่วนราชการ คำนึงถงึ 1. ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ

2. ความเปน็ ไปไดข้ องภารกจิ หรอื โครงการ

ความค้มุ คา่ ใหห้ มายความถึง 3. ประโยชนท์ ี่รัฐและประชาชนจะพงึ ได้
1. ประโยชนห์ รอื ผลเสยี ทางสงั คม 4. รายจ่ายทต่ี อ้ งเสียไปกอ่ นและหลงั

2. ประโยชนห์ รอื ผลเสยี อน่ื ซง่ึ ไมอ่ าจคำนวณเปน็ ตวั เงนิ

7

มาตรา 23 การจดั ซอ้ื หรอื จดั จา้ ง ใหส้ ว่ นราชการดำเนินการโดย เปดิ เผยและเทย่ี งธรรม

โดยพจิ ารณาถงึ .... 1. ประโยชนแ์ ละผลเสยี ทางสังคม (ผลเสยี ทางออ้ ม)
2. ภาระตอ่ ประชาชน
3. คุณภาพ
4. วตั ถปุ ระสงคท์ ีจ่ ะใช้
5. ราคา
6. ประโยชนร์ ะยะยาวของสว่ นราชการ

ในกรณีที่วตั ถปุ ระสงคใ์ นการใช้เปน็ เหตุใหต้ ้องคำนึงถงึ คุณภาพและการดแู ลรกั ษาเปน็ สำคญั
ใหส้ ามารถทำได้โดยไม่ตอ้ งถอื ราคาตำ่ สดุ ในการเสนอซอ้ื หรอื จา้ งเสมอไป

มาตรา 24 ในการปฏิบัตภิ ารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นตอ้ งได้รับอนญุ าต อนุมัติ หรอื ความเห็นชอบจากส่วนราชการอน่ื

ให้ส่วนราชการที่มอี ำนาจอนญุ าต อนุมตั ิ หรือใหค้ วามเหน็ ชอบดงั กลา่ ว

แจง้ ผลการพจิ ารณาใหส้ ว่ นราชการทย่ี น่ื คำขอทราบ ภายใน 15 วนั นบั แต่วนั ทไี่ ด้รบั คำขอ

ถา้ ขน้ั ตอนการปฏิบตั นิ ้นั ตอ้ ง ใชร้ ะยะเวลาเกนิ 15 วัน ใหส้ ่วนราชการน้นั ทีม่ อี ำนาจอนุญาต อนุมัติ หรือใหค้ วามเหน็ ชอบ

ประกาศกำหนดระยะเวลาการพิจารณาไว้ให้ส่วนราชการอื่นทราบ

ส่วนราชการใดที่มีอำนาจอนุญาต อนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบ ไม่ได้ดำเนินการให้แล้วเสร็จ หากเกิดความเสียหายใดขึ้นให้ถือว่า

ข้าราชการซึง่ มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้องและหัวหน้าส่วนราชการนัน้ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เวน้ แต่จะพิสจู น์ได้วา่ ความล่าช้านั้นมิได้เกิดขึ้นจาก

ความผดิ ของตน

มาตรา 25 ในการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดปญั หาใดๆ ให้เป็นหนา้ ทีข่ องส่วนราชการท่ีรบั ผิดชอบในปัญหาน้ันๆ

จะตอ้ งพจิ ารณาวินจิ ฉยั ชขี้ าดโดยเรว็
การตงั้ คณะกรรมการข้ึนพจิ ารณาวินจิ ฉัย ให้ดำเนินการได้เท่าท่จี ำเปน็ อันไมอ่ าจหลีกเลีย่ งได้

มาตรา 26 การสั่งราชการโดยปกติ ให้ทำเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร

เว้นแต่ บังคับบัญชามีความจำเป็นที่ไม่อาจสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรในขณะนั้นจะสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้
แตใ่ หผ้ รู้ บั คำสั่งน้ันบนั ทึกคำสัง่ ด้วยวาจาไว้เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร และเมอ่ื ไดป้ ฏิบัติราชการตามคำสั่งดังกล่าว
แลว้ ให้บนั ทึกรายงานใหผ้ ู้ส่งั ราชการทราบ ในบนั ทกึ ให้อ้างองิ คำสง่ั ด้วยวาจาไว้ดว้ ย

8

-----------------------หมวด 5 การลดขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน-----------------------

มาตรา 27 ให้สว่ นราชการจัดให้มกี าร กระจายอำนาจการตัดสนิ ใจ เก่ยี วกับ…

การสัง่ การอนุญาต การอนมุ ตั ิ การปฏิบัติราชการ หรอื การดำเนนิ การอน่ื ใด

ให้แก่ ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทีม่ ีหน้าท่รี บั ผิดชอบในเร่ืองนั้นโดยตรง

เพอื่ ให้เกิด ความรวดเร็วและลดข้ันตอนการปฏบิ ัตริ าชการ

ในการกระจายอำนาจการตดั สนิ ใจต้องมงุ่ ผลใหเ้ กดิ ความสะดวกและรวดเร็วในการบรกิ ารประชาชน

หากสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื โทรคมนาคมแล้วจะเปน็ การลดขัน้ ตอน เพ่ิมประสทิ ธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย รวมทั้งไม่
เกิดผลเสียหายแก่ราชการ ใหส้ ่วนราชการดำเนนิ การใหข้ ้าราชการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรอื โทรคมนาคมตามความเหมาะสมและ

กำลังเงนิ งบประมาณแล้วให้ส่วนราชการน้นั เผยแพรใ่ หป้ ระชาชนทราบเปน็ การทว่ั ไป

มาตรา 28 ก.พ.ร. ดว้ ยความเหน็ ชอบของ ครม. กำหนดหลักเกณฑ์และวธิ กี ารหรือแนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสนิ ใจกไ็ ด้

มาตรา 29 การบริการประชาชนหรือการตดิ ตอ่ ประสานงานระหว่างส่วนราชการดว้ ยกนั ให้สว่ นราชการแต่ละแหง่

จัดทำแผนภูมขิ ้นั ตอนและระยะเวลา การดำเนนิ การ รวมทัง้ รายละเอยี ดอน่ื ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งในแต่ละข้นั ตอนเปดิ เผยไว้ที่

1. ณ ท่ีทำการของสว่ นราชการ เพอ่ื ให้ประชาชนหรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งเขา้ ตรวจดไู ด้
2. ในระบบเครือขา่ ยสารสนเทศของสว่ นราชการ

การบรกิ ารประชาชนหรือการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน
ตอ้ งทำโดยใช้ แพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั กลาง ที่ สำนกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) กำหนดดว้ ย
เช่น แบบฟอร์มต่างๆ ประชาชนโหลดได้

มาตรา 30 ในกระทรวงหน่ึงให้เปน็ หน้าท่ขี อง ปลดั กระทรวง ทจี่ ะตอ้ งจดั ใหส้ ว่ นราชการภายในกระทรวงบรกิ ารประชาชนร่วมกนั

โดยจัดตั้ง ศูนย์บรกิ ารร่วม เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน สามารถติดต่อสอบถาม ขอทราบข้อมลู ขออนุญาต หรือขออนุมตั ิ

ในเรือ่ งที่เปน็ อำนาจหนา้ ท่ขี องส่วนราชการในกระทรวงเดยี วกัน โดยตดิ ตอ่ เจ้าหนา้ ที่ ณ ศนู ย์บรกิ ารร่วมเพยี งแห่งเดยี ว

9

มาตรา 31 ในศูนย์บริการร่วมให้จัดให้มีเจ้าหน้าที่รับเรื่องราวต่างๆ และดำเนินการส่งต่อให้เจ้าหน้าท่ีของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อ
ดำเนินการต่อไป โดยให้มีข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของทุกส่วนราชการในกระทรวง รวมทั้งมีแบบคำขอต่างๆ ไว้ให้

พรอ้ มท่ีจะบริการประชาชนได้

ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่จะต้องจัดพิมพ์รายละเอียดของเอกสารหลักฐานที่ประชาชนจะต้องจัดหามา ในแต่ละเรื่องมอบให้แก่
เจ้าหนา้ ที่ของศนู ย์บรกิ ารร่วม และให้เป็นหนา้ ที่ของเจา้ หน้าทีศ่ ูนย์บริการร่วมที่จะตอ้ งแจง้ ให้ประชาชนทมี่ าติดต่อไดท้ ราบในครง้ั แรกทีม่ า
ตดิ ตอ่ และตรวจสอบว่าเอกสารหลักฐานทจ่ี ำเป็นดังกล่าวนน้ั ประชาชนได้ยืน่ มาครบถ้วนหรือไม่ และแจง้ ใหท้ ราบถึงระยะเวลาทจ่ี ะตอ้ ง
ใชด้ ำเนินการในเร่ืองนัน้

หากมีปัญหาหรืออปุ สรรคในการปฏิบตั ิราชการให้ส่วนราชการน้ันแจ้งให้ ก.พ.ร. ทราบ เพื่อดำเนินการเสนอ ครม. ให้มีการ

ปรบั ปรุงหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการตามกฎหมายหรือกฎน้นั ต่อไป

มาตรา 32 ให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ และ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ จัดให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบดำเนินการ
เกีย่ วกับการบรกิ ารประชาชนในเรอื่ งเดยี วกนั หรือตอ่ เน่ืองกันในจังหวัด อำเภอ หรือกง่ิ อำเภอนน้ั ร่วมกัน...

จัดตง้ั ศนู ย์บรกิ ารรว่ มไว้ ณ
1. ศาลากลางจงั หวดั
2. ทว่ี า่ การอำเภอ หรือ
3. ท่ีว่าการกงิ่ อำเภอ หรือสถานทอ่ี ่ืนตามทีเ่ หน็ สมควร

โดยประกาศใหป้ ระชาชนทราบ

----------------------หมวด 6 การปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการ--------------------

มาตรา 33 ส่วนราชการจดั ให้มกี าร ทบทวนภารกิจ ของตนวา่ ภารกจิ ใดมีจะดำเนนิ การต่อไปหรอื ไม่

โดยคำนงึ ถึง 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
2. แผนแม่บท
3. แผนการปฏิรปู ประเทศ
4. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
5. นโยบายของ ครม. แถลงไว้
6. แผนอ่ืนที่เกย่ี วขอ้ ง
7. กำลงั เงินงบประมาณของประเทศ
8. ความคมุ้ ค่าของภารกจิ และสถานการณอ์ น่ื ประกอบกัน

10

ก.พ.ร. กำหนดเวลาในการจัดใหม้ กี ารทบทวนภารกิจนัน้

ในกรณีท่ีเห็นควรยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภารกิจ ให้ส่วนราชการดำเนินการปรับปรุงอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง และ
อตั รากำลงั ของส่วนราชการใหส้ อดคลอ้ งกัน และ เสนอ ครม. พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ

ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นว่าภารกิจที่ดำเนินการอยู่สมควรเปลี่ยนแปลง ยกเลิก หรือเพ่ิมเติม ให้ เสนอ ครม. เมื่อ ครม. เห็นชอบ
แล้วใหส้ ว่ นราชการนั้นดำเนินการปรบั ปรงุ ภารกิจ อำนาจหน้าท่ี โครงสร้างและอตั รากำลังของส่วนราชการน้นั

มาตรา 34 ในกรณีท่มี ีการ ยุบเลกิ โอน หรอื รวม ส่วนราชการใดทงั้ หมดหรอื บางส่วน

หา้ มจัดตง้ั สว่ นราชการทม่ี ภี ารกิจหรืออำนาจหนา้ ทที่ มี่ ลี กั ษณะเดียวกันหรอื คลา้ ยคลึงกันกบั สว่ นราชการนน้ั อกี

เว้นแต่ มีเหตุผลจำเป็นเพื่อ 1. รักษาความมน่ั คงของรฐั หรอื เศรษฐกจิ ของประเทศ
2. รกั ษาผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน
3. ได้รบั ความเห็นชอบจาก ก.พ.ร.

มาตรา 35 สว่ นราชการมหี นา้ ที่ สำรวจ ตรวจสอบ และทบทวน กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั และประกาศ ท่อี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ
เพ่อื ดำเนินการยกเลกิ ปรับปรงุ หรือจดั ให้มกี ฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคบั หรือประกาศขึ้นใหม่
ใหท้ ันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์ หรอื สอดคลอ้ งกบั ความจำเป็นทางเศรษฐกจิ สงั คม และความมนั่ คงของประเทศ

โดยคำนึงถงึ ความสะดวกรวดเร็ว และลดภาระของประชาชนเป็นสำคัญ

ในการดำเนนิ การให้ส่วนราชการนำความคดิ เหน็ หรือขอ้ เสนอแนะของประชาชนมาประกอบการพจิ ารณาด้วย

มาตรา 36 ในกรณีที่ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
ส่วนราชการใด 1. ไมส่ อดคล้องหรือเหมาะสมกบั สถานการณ์ในปัจจบุ ัน

2. ไม่เอื้ออำนวยตอ่ การพฒั นาประเทศ
3. เป็นอปุ สรรคต่อการประกอบกจิ การหรอื การดำรงชวี ติ ของประชาชน
4. กอ่ ใหเ้ กิดภาระหรือความยุ่งยากต่อประชาชนเกนิ สมควร

ใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าเสนอแนะตอ่ สว่ นราชการนนั้ เพือ่ ดำเนนิ การแก้ไข ปรับปรุง หรอื ยกเลิกโดยเร็วตอ่ ไป
ในกรณีที่สว่ นราชการทไี่ ด้รบั การเสนอแนะไมเ่ หน็ ชอบกับคำเสนอแนะของสำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ให้ เสนอเร่ืองตอ่ ครม. เพื่อพจิ ารณาวินจิ ฉยั

11

-----------หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน-----------

มาตรา 37 ในการปฏบิ ัติราชการท่เี ก่ียวข้องกับการบรกิ ารประชาชนหรือตดิ ต่อประสานงานระหวา่ งส่วนราชการด้วยกนั ให้สว่ นราชการ…

1. กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแตล่ ะงาน และ
2. ประกาศให้ประชาชนและขา้ ราชการทราบเป็นการท่ัวไป

สว่ นราชการใดไม่ไดก้ ำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ หรือ กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จแต่ ก.พ.ร. เหน็ วา่ ล่าช้าเกนิ สมควร
ก.พ.ร. จะกำหนดเวลาแล้วเสรจ็ ให้สว่ นราชการนั้นก็ได้

ผูบ้ งั คับบญั ชาต้องตรวจสอบให้ข้าราชการปฏบิ ัติงานให้แล้วเสร็จตามกำหนดเวลาท่ีกำหนด

มาตรา 28 เม่อื ส่วนราชการใดได้รบั การตดิ ต่อสอบถามเปน็ หนงั สือจากประชาชนหรือจากสว่ นราชการด้วยกนั เก่ียวกับงานทีอ่ ยูใ่ นอำนาจหน้าท่ี
ของส่วนราชการนั้น ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นที่จะต้องตอบคำถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน หรือภายใน
กำหนดเวลาที่กำหนดไว้ตามมาตรา 37

มาตรา 39 ให้สว่ นราชการจัดใหม้ ี ระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ (Website) เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่

ประชาชนท่จี ะสามารถติดต่อสอบถามหรือขอขอ้ มูลหรอื แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับการปฏิบัติราชการของสว่ นราชการ

ระบบเครือขา่ ยสารสนเทศนั้นตอ้ งจัดทำในระบบเดยี วกบั ทก่ี ระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารจดั ใหม้ ขี นึ้ ตามมาตรา 40

ปัจจบุ ัน คือ กระทรวงดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม

มาตรา 40 เพอ่ื อำนวยความสะดวกและความรวดเรว็ แก่ประชาชนในการตดิ ต่อกบั ส่วนราชการทุกแห่ง
ให้ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม)
จัดใหม้ ี ระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศกลาง (แพลตฟอร์มดิจทิ ลั กลาง)

ถ้าส่วนราชการใดไม่อาจจดั ให้มีระบบเครือขา่ ยสารสนเทศของสว่ นราชการได้
อาจร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สงั คม) ดำเนนิ การจัดทำใหก้ ไ็ ด้

ในการน้ีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม) จะขอให้สว่ น
ราชการให้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นบคุ ลากร ค่าใช้จา่ ย และข้อมลู ในการดำเนินการกไ็ ด้

12

มาตรา 41 ส่วนราชการไดร้ ับคำรอ้ งเรยี น เสนอแนะ หรอื ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับ…

วธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการ อปุ สรรค ความยงุ่ ยาก หรอื ปญั หาอนื่ ใดจากบคุ คลใด โดยมีข้อมลู และสาระตามสมควร ใหเ้ ป็นหน้าทขี่ อง
สว่ นราชการน้นั ทจ่ี ะตอ้ งพิจารณาดำเนนิ การใหล้ ลุ ว่ งไป

1. ถา้ มที อี่ ยขู่ องบคุ คลนนั้ ใหแ้ จง้ ให้บคุ คลนนั้ ทราบผลการดำเนนิ การ ห้ามเปดิ เผยชอื่ หรอื ทอ่ี ยขู่ องผรู้ อ้ งเรยี น เสนอแนะ
2. อาจแจง้ ใหท้ ราบผา่ นทางระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของสว่ นราชการดว้ ยกไ็ ด้ หรอื แสดงความคดิ เหน็

มาตรา 42 เพือ่ ให้การปฏบิ ัติราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ความสะดวกรวดเร็ว

ใหส้ ว่ นราชการที่มอี ำนาจออกกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื ประกาศ เพือ่ ใช้บังคับกับส่วนราชการอื่น

ตรวจสอบ ว่ากฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับ หรือประกาศน้ันเปน็ อปุ สรรคหรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความยงุ่ ยาก ซำ้ ซอ้ น
หรอื ความลา่ ชา้ ตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องสว่ นราชการอน่ื หรอื ไม่ เพ่อื ดำเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะสม โดยเรว็ ตอ่ ไป

ในกรณที ่ีไดร้ บั การรอ้ งเรยี นหรอื เสนอแนะจากขา้ ราชการหรอื ส่วนราชการอื่นในเร่ืองใด ใหส้ ว่ นราชการทีอ่ อกกฎ ระเบียบ

ขอ้ บงั คับ หรือประกาศนั้นพจิ ารณาโดยทนั ที

ถา้ การรอ้ งเรียนหรอื เสนอแนะน้ันเกดิ จากความเขา้ ใจผดิ หรอื ความไมเ่ ขา้ ใจในกฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั หรอื ประกาศ

ใหช้ แ้ี จงให้ผูร้ ้องเรยี นหรือเสนอแนะทราบ ภายใน 15 วนั

การรอ้ งเรยี นหรือเสนอแนะจะแจง้ ผ่าน ก.พ.ร. กไ็ ด้

ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นวา่ กฎ ระเบียบ ข้อบงั คับ หรอื ประกาศใดมลี ักษณะเปน็ อุปสรรคหรือกอ่ ให้เกดิ ความยุ่งยาก ซำ้ ซอ้ น หรอื
ความล่าช้าตอ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องสว่ นราชการอื่น ให้ ก.พ.ร. แจ้งสว่ นราชการทอ่ี อก กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ หรอื ประกาศนัน้ ทราบเพ่ือ
ดำเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรอื ยกเลกิ ตอ่ ไปโดยเรว็

13

มาตรา 43 การปฏิบตั ิราชการในเรอื่ งใดๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเร่ืองเปิดเผย

เว้นแต่ มคี วามจำเปน็ อยา่ งยง่ิ เพื่อ… 1. ประโยชนใ์ นการรกั ษาความมนั่ คงของประเทศ
2. ความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ
3. การรักษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน
4. การคุ้มครองสทิ ธิสว่ นบุคคล

จึงให้กำหนด เปน็ ความลับไดเ้ ทา่ ท่จี ำเปน็

มาตรา 44 ส่วนราชการต้องจัดให้มกี ารเปิดเผยขอ้ มลู เกยี่ วกับ...
1. งบประมาณรายจา่ ยแต่ละปี
2. รายการเกย่ี วกบั การจัดซอ้ื หรอื จดั จา้ งทจี่ ะดำเนนิ การในปงี บประมาณนน้ั
3. สญั ญาใดๆ ทีไ่ ดม้ กี ารอนมุ ตั ใิ ห้จดั ซอ้ื หรอื จัดจา้ งแลว้

ใหป้ ระชาชนสามารถขอดูหรอื ตรวจสอบได้ที่ 1. สถานทที่ ำการของสว่ นราชการ
2. ระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของสว่ นราชการ

ทงั้ น้ี การเปิดเผยข้อมูลต้องไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ความไดเ้ ปรยี บหรอื เสยี เปรยี บหรอื ความเสยี หายแกบ่ คุ คลใดในการจัดซอ้ื หรอื จัดจ้าง

ในการจัดทำสัญญาจดั ซอื้ หรอื จดั จา้ ง หา้ มไมใ่ หม้ ขี อ้ ความหรอื ขอ้ ตกลงวา่ หา้ มไมใ่ หเ้ ปดิ เผยในสญั ญานน้ั

เวน้ แต่ ข้อมูลนน้ั เป็นข้อมูลท่ี 1. อยภู่ ายใตบ้ งั คบั กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั ทเ่ี กย่ี วกบั การคมุ้ ครองความลบั ทางราชการ
2. เปน็ ความลบั ทางการคา้

----------------------หมวด 8 การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ---------------------

มาตรา 45 ใหส้ ว่ นราชการจัดใหม้ ี คณะผปู้ ระเมนิ อสิ ระ ดำเนนิ การ… 1. ผลสมั ฤทธขิ์ องภารกจิ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการเกยี่ วกบั 2. คุณภาพการใหบ้ รกิ าร
3. ความพงึ พอใจของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร
ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาท่ี ก.พ.ร.กำหนด 4. ความคมุ้ คา่ ในภารกิจ

14

มาตรา 46 ส่วนราชการอาจจดั ใหม้ ีการประเมนิ ภาพรวมของผบู้ งั คบั บัญชาแตล่ ะระดบั หรอื หนว่ ยงานในส่วนราชการก็ได้

การประเมินน้ีต้องทำเปน็ ความลบั และเปน็ ไปเพอื่ ประโยชนแ์ ห่งความสามคั คขี องขา้ ราชการ

มาตรา 47 การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการเพ่ือประโยชนใ์ นการ บรหิ ารงานบคุ คล ใหส้ ว่ นราชการประเมนิ

โดยคำนงึ ถงึ 1. ผลการปฏบิ ตั งิ านเฉพาะตวั ของข้าราชการผนู้ ้ันในตำแหน่งที่ปฏิบัติ
2. ประโยชนแ์ ละผลสมั ฤทธทิ์ หี่ นว่ ยงานทข่ี า้ ราชการผู้น้นั สงั กัดได้รบั จากการปฏิบัติงานของขา้ ราชการผ้นู ั้น

มาตรา 48 ส่วนราชการใดดำเนินการใหบ้ รกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพ เปน็ ไปตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด เป็นทพ่ี งึ พอใจแกป่ ระชาชน

ให้ ก.พ.ร. เสนอ ครม. จดั สรรเงนิ เพ่มิ พิเศษเปน็ บำเหน็จความชอบแก่สว่ นราชการ

หรอื ใหส้ ่วนราชการใชเ้ งินงบประมาณเหลอื จา่ ยของส่วนราชการนนั้

เพอื่ นำไปใชใ้ น 1. ปรบั ปรงุ การปฏิบตั งิ านของส่วนราชการ

2. จัดสรรเปน็ รางวลั ใหข้ า้ ราชการในสงั กดั

ทงั้ นี้ ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.ร. กำหนดโดยความเหน็ ชอบของ ครม.

มาตรา 49 สว่ นราชการใดได้ 1. ดำเนนิ งานไปตามเปา้ หมาย
2. สามารถเพมิ่ ผลงานและผลสมั ฤทธโิ์ ดยไมเ่ ปน็ การเพมิ่ คา่ ใชจ้ า่ ย
4. คมุ้ คา่ ตอ่ ภารกจิ ของรฐั
5. สามารถดำเนนิ การตามแผนการลดคา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หนว่ ยได้ ตามหลกั เกณฑท์ ่ี ก.พ.ร. กำหนด

ให้ ก.พ.ร. เสนอตอ่ ครม. จดั สรรเงนิ รางวลั การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพใหแ้ ก่สว่ นราชการนนั้
หรือให้สว่ นราชการใชเ้ งนิ งบประมาณเหลอื จ่าย ของสว่ นราชการน้ัน
เพอื่ นำไปใชใ้ น 1. ปรับปรงุ การปฏิบตั ิงานของส่วนราชการ

2. จัดสรรเปน็ รางวลั ใหข้ า้ ราชการในสังกดั

ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.พ.ร. กำหนดโดยความเหน็ ชอบของ ครม.

15

------------------------------หมวด 9 บทเบด็ เตลด็ --------------------------

มาตรา 50 เพือ่ ให้การบริหารราชการเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ ในเชงิ ภารกจิ ของรฐั

ก.พ.ร. โดยความเหน็ ชอบของ ครม. อาจกำหนดให้ส่วนราชการต้องปฏบิ ัติการใดนอกเหนอื จากทก่ี ำหนดไว้

มาตรา 51 ในกรณที ่พี ระราชกฤษฎกี าน้ีกำหนดใหส้ ว่ นราชการต้องจดั ทำแผนงานในเร่อื งใดและมีกฎหมายฉบับอน่ื กำหนดให้ส่วนราชการ

ต้องจัดทำแผนงานในเรือ่ งเดียวกันทั้งหมดหรือบางสว่ น เมอื่ ส่วนราชการได้จัดทำแผนงานตามกฎหมายฉบับใดฉบับหน่งึ แล้วให้ถือว่าส่วนราชการ

นนั้ ได้จดั ทำแผนตามพระราชกฤษฎกี านแ้ี ล้ว Note : แผนงานเหมอื นกนั เรอื่ งเดยี วกนั ใหท้ ำแผนครง้ั เดยี ว

ให้ สำนกั งานงบประมาณ และ ก.พ.ร. กำหนดแนวทางในการจดั ทำแผนปฏบิ ัตริ าชการ

มาตรา 52 ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จดั ทำหลกั เกณฑก์ ารบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ีดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้

โดยอย่างนอ้ ยตอ้ งมหี ลกั เกณฑ์เกยี่ วกับ… 1. การลดขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน หมวด 5
2. การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน หมวด 7

ใหเ้ ป็นหนา้ ท่ขี อง กระทรวงมหาดไทย ดแู ลและใหค้ วามชว่ ยเหลอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในการจดั ทำ

มาตรา 53 ให้ องคก์ ารมหาชน และ รฐั วสิ าหกจิ จัดให้มีหลักเกณฑก์ ารบริหารกจิ การบ้านเมอื งที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้
ในกรณที ่ี ก.พ.ร. เห็นว่าไม่จดั ใหม้ ีหลกั เกณฑด์ งั กลา่ วหรือมแี ต่ไมส่ อดคล้องกบั พระราชกฤษฎกี านี้
ให้แจ้งรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลองค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกจิ เพื่อพิจารณาส่ังการให้ดำเนินการ
ใหถ้ ูกตอ้ งต่อไป

NOTE

ในวาระแรก การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิราชการของสว่ นราชการ ใหจ้ ัดทำเปน็ แผน 3 ปงี บประมาณ (พ.ศ. 2563-2565)
ในวาระแรก ใหส้ ำนักงานพฒั นารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) จดั ทำแพลตฟอร์มดิจทิ ัลกลาง ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่พระราช
กฤษฎกี าน้บี ังคับใช้
ส่วนราชการต้องดำเนินการให้บริการประชาชน โดยใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางให้แล้วเสร็จ ภายใน 2 ปีนับตั้งแต่พ้นกำหนดเวลา
90 วนั ถ้าส่วนราชการใดดำเนินการไม่ได้ เสนอต่อ ก.พ.ร. ขยายเวลา


Click to View FlipBook Version