The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเขื่อนผาจุก58 ขวา_เสร็จOK

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumarin0618, 2021-11-15 11:20:10

หนังสือเขื่อนผาจุก58 ขวา_เสร็จOK

หนังสือเขื่อนผาจุก58 ขวา_เสร็จOK

- 41 -

ตารางท่ี 4.13 รายได้ – รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางดา้ นพชื ในพ้นื ทโ่ี ครงการ

ปเี พาะปลูก 2557/58

หน่วย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มูลคา่ รายจ่ายเงินสดในการผลิต
ต่อไร่ เงินสด ผลผลติ ทใ่ี ช้
ชนิดพชื (กก./ไร่) ในครวั เรอื น ค่าพันธุ์ ค่า ค่า ค่าจ้าง อื่น ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา น้ามัน แรงงาน

ข้าวเจ้านาปี 743 4,346 414 234 981 222 872 1,163 3,472

ข้าวเหนียวนาปี 708 3,702 1,708 425 1,473 186 1,190 1,008 4,282

ข้าวเจา้ นาปรงั 691 4,321 236 224 1016 275 838 1,109 3,462

ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์รุน่ 1 810 4,040 - 554 788 134 897 1,011 3,384

ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์รนุ่ 2 843 5,600 - 518 687 190 1,420 1,063 3,878

ข้าวโพดรับประทาน 1,721 7,415 6 819 1,953 191 638 1,915 5,516

อ้อยโรงงานปีที่ 1 15,046 15,659 448 1,562 1,865 324 5,282 1,435 1,0468

อ้อยโรงงานปีที่ 2-5 11,702 12,299 10 106 1,405 252 3,682 1,353 6,798

ถั่วเหลืองรุ่น 1 566 10,101 - 485 127 48 572 1,010 2,242

ถว่ั เหลืองรุน่ 2 59 1,000 - 394 66 118 65 - 643

ถั่วเลิสงร่นุ 1 525 13,125 - 750 - 213 813 300 2,076

ถว่ั เลสิ งรนุ่ 2 366 9,333 352 63 726 233 704 15 1,741

คะน้า 227 5,600 - - 167 - 1,000 - 1,167

แตงกวา 827 7,270 204 495 1,328 758 696 248 3,525

ถ่วั ฝักยาว 824 11,773 954 273 1,579 1,617 370 645 4,484

เผือก 4,400 88,000 - - 11,120 - 25,920 - 37,040

ผกั กาด 1,683 10,884 116 395 685 542 342 - 1,964

ผกั ชี 159 3,097 77 645 597 332 305 - 1,879

ผักบ้งุ จนี 440 13,869 53 235 767 113 695 33 1,843

พรกิ 487 10,228 317 62 1,234 35 1,329 - 2,660

บวบ 2,769 40,385 1,154 4,308 154 769 - - 5,231

กวางตงุ้ 1,400 12,420 180 320 950 - - - 1,270

มะเขือพวง 1,518 21,761 110 272 870 - - - 1,142

หอมแดง 2,039 12,510 7,756 - 6,423 1,057 6,366 384 14,230

คน่ึ ช่าย 313 7,508 37 93 1,135 66 1,316 864 3,474

ฟกั 1,000 36,500 13,500 200 - - - 6,000 6,200

มะม่วง 658 3,162 47 - 707 297 380 14 1,398

มะพรา้ ว 2,000 12,000 720 - ---- -

มะขามหวาน 103 2,602 1,597 - 316 - - - 316

กลว้ ยน้าว้า 200 1,160 440 - - 13 - - 13

มะนาว 200 13,307 27 1,667 1,600 - - - 3,267

ไมย้ คู าลิปตสั - 8,544 -- ---- -

ไม้สัก - - - - - - 240 - 240

ไม้ยืนต้นรวมอน่ื ๆ - - 1,120,000 - - - 80,000 - 80,000

ไมผ้ ลรวมอื่น ๆ 392 12,123 1,284 63 1,132 287 205 1,480 3167

ไมผ้ ล(ขายกง่ิ พันธ)์ุ 3,636 90,909 - - 13,636 9,091 22,727 4,364 49,818

ทมี่ า : จากการวเิ คราะห์

- 42 -

ตารางที่ 4.14 รายได้ – รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นพืช นอกพื้นทโ่ี ครงการ

ปีเพาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มลู คา่ รายจา่ ยเงินสดในการผลิต
ต่อไร่ เงนิ สด ผลผลติ ที่ใช้
ชนดิ พชื (กก./ไร่) ในครวั เรือน ค่าพันธุ์ ค่า ค่า ค่าจ้าง อน่ื ๆ รวม
ขา้ วเจ้านาปี 7,265 258 ปยุ๋ /ยา นา้ มัน แรงงาน 3,128
744 442
885 99 855 1,031

ข้าวเหนียวนาปี 567 - 4,251 326 612 84 925 1,553 3,500

ขา้ วเจา้ นาปรงั 591 4,098 144 239 924 212 893 1,152 3,420
- 587 866 97 805 1,022 3,377
ข้าวโพดเลย้ี งสัตวร์ ่นุ 1 798 3,815 - 537 664 - 1,414 1,289 3,904
29 1,222 2,048 82 876 933 5,161
ข้าวโพดเลย้ี งสัตวร์ ุ่น 2 1,053 5,305

ข้าวโพดรับประทาน 1,798 7,518

มันสาปะหลงั โรงงาน 3,345 6,845 - - 1,200 155 2,155 903 4,413

อ้อยโรงงานปที ี่ 1 12,162 14,160 127 2,306 1,460 396 5,325 1,046 10,533
ออ้ ยโรงงานปที ่ี 2-5 13,737 14,162 1 - 1,882
ถัว่ เหลืองรนุ่ 1 3, ,920 29 2,935 1,181 6,027
ถว่ั เหลืองรุ่น 2 280 1,893 - 400 400
112 - 352 135 80 450 - 1,330

- 903 - 1,390

แตงกวา 4,154 38,462 1,479 2,462 154 769 - - 3,385

เผือก 4,079 28,605 7 3,789 4,537 37 2,889 153 11,405
ผกั บุง้ จนี 300 13,500 - 135 325 30 3,070 50 3,610
พริก 407 10,000 2,200 1,000 2,893 67 6,333 - 10,293

มะเขือพวง 4,400 30,800 - 320 950 - - - 1,270

หอมแดง 2,054 11,155 1,693 4 3,276 2,253 5,213 159 10,905

ค่นึ ช่าย 414 12,643 - 114 1,034 91 - - 1,239

ฟกั 208 6,000 240 480 300 - 2,400 800 3,980

กาแฟ 460 6,000 - - ---- -

ทุเรียน 9 375 338 - 211 375 375 - 961

มะม่วง 1,061 9,338 77 131 1,796 98 262 26 2,313

ลาไย 65 1,000 - - 140 - 500 30 670
ลางสาด
ลองกอง 327 385 1,250 - 132 462 - - 594

336 500 5,962 - 172 600 - - 772

กระท้อน 45 120 - - ---- -

กล้วยน้าวา้ 293 2,000 47 - ---- -
มะม่วงหิมพานต์
มะนาว 43 1,517 - - - - 333 - 333
พุทรา
180 2,667 333 - ---- -

267 5,000 333 - 1,667 167 - - 1,834

ไมไ้ ผ่ (ลา) - 20,000 - - - - 2,000 4,000 6,000

ไม้สัก - 6,531 - - - - - 204 204
ไมผ้ ลรวมอนื่ ๆ
172 3,180 471 13 200 213 732 11 1,169

ท่ีมา : จากการวเิ คราะห์

- 43 -

ตารางท่ี 4.15 รายได้ – รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นพชื รวมพ้นื ทที่ ้งั โครงการ

ปีเพาะปลกู 2557/58

หน่วย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มลู คา่ รายจา่ ยเงินสดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงนิ สด ผลผลติ ที่ใช้
ชนดิ พืช (กก./ไร่) ในครัวเรอื น ค่าพนั ธ์ุ ค่า ค่า ค่าจ้าง อ่ืน ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา นา้ มนั แรงงาน

ขา้ วเจ้านาปี 743 4,339 417 236 972 211 870 1,150 3,439

ขา้ วเหนยี วนาปี 666 2,612 2,457 396 1,219 156 1,112 1,168 4,051

ข้าวเจ้านาปรัง 679 4,295 226 226 1,005 267 844 1,114 3,456

ขา้ วโพดเล้ียงสตั วร์ ุ่น 1 805 3,951 - 568 819 119 860 1,015 3,381

ข้าวโพดเล้ยี งสตั วร์ ุน่ 2 917 5,496 - 525 679 123 1,418 1,143 3,888

ขา้ วโพดรับประทาน 1,760 7,467 18 1,024 2,001 136 759 1,416 5,336

มนั สาปะหลังโรงงาน 3,345 6,845 - - 1,200 155 2,155 903 4,413

ออ้ ยโรงงานปที ี่ 1 14,088 15,161 341 1,809 1,731 348 5,296 1,306 10,490

ออ้ ยโรงงานปที ี่ 2-5 12,187 12,743 8 81 1,518 199 3,504 1,312 6,614

ถว่ั เหลอื งร่นุ 1 558 9,941 - 483 135 49 569 983 2,219

ถว่ั เหลอื งร่นุ 2 71 1,212 - 384 82 90 264 - 820

ถ่ัวเลิสงรุน่ 1 525 13,125 - 750 - 213 813 300 2,076

ถั่วเลสิ งรนุ่ 2 366 9,333 352 63 726 233 704 15 1,741

คะนา้ 227 5,600 - - 167 - 1,000 - 1,167

แตงกวา 848 7,470 212 508 1,321 758 691 247 3,525

ถั่วฝักยาว 824 11,773 954 273 1,579 1,617 370 645 4,484

เผือก 4,146 40,979 5 3,000 5,908 29 7,688 121 16,746

ผักกาด 1,683 10,884 116 395 685 542 342 - 1,964

ผกั ชี 159 3,097 77 645 597 332 305 - 1,879

ผกั บงุ้ จนี 353 13,640 20 173 493 62 2,168 43 2,939

พริก 476 10,198 571 189 1,457 40 2,004 - 3,690

บวบ 2,769 40,385 1,154 4,308 154 769 - - 5,231

กวางตุง้ 1,400 12,420 180 320 950 - - - 1,270

มะเขือพวง 2,285 24,165 81 285 891 - - - 1,176

หอมแดง 2,046 11,888 4,975 2 4,979 1,606 5,837 281 12,705

คึน่ ชา่ ย 324 8,043 33 95 1,124 69 1,179 774 3,241

ฟัก 604 21,250 6,870 340 150 - 1,200 3,400 5,090

กาแฟ 460 6000 - - ---- -

ทุเรยี น 9 375 338 - 211 375 375 - 961

มะม่วง 931 7,350 67 89 1,446 162 300 22 2,019

ลาไย 65 1,000 - - 140 - 500 30 670

ลางสาด 327 385 1,250 - 132 462 - - 594

ลองกอง 336 500 5,962 - 172 600 - - 772

กระท้อน 45 120 - - ---- -

มะพรา้ ว 2,000 12,000 720 - - -- - -

มะขามหวาน 103 2,602 1,597 - 316 - - - 316

กล้วยน้าวา้ 218 1,323 364 - - 10 - - 10

มะมว่ งหมิ พานต์ 43 1,517 - - - - 333 - 333

- 44 -

ตารางท่ี 4.15 (ตอ่ ) รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางดา้ นพชื

รวมพื้นทท่ี ั้งโครงการ ปเี พาะปลกู 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจ่ายเงนิ สดในการผลติ
ต่อไร่ เงินสด ผลผลติ ทใ่ี ช้
ชนิดพืช (กก./ไร่) ในครวั เรอื น ค่าพนั ธ์ุ ค่า ค่า ค่าจ้าง อนื่ ๆ รวม
มะนาว 9,760 1,111 ปยุ๋ /ยา นา้ มนั แรงงาน 2,178
193 129
1,067 - - -

พทุ รา 267 5,000 333 - 1,667 167 - - 1,834

ไมไ้ ผ่ (ลา) - 20,000 - - - - 2,000 4,000 6,000
ไมย้ ูคาลปิ ตสั -
ไม้สกั - 8,544 - - ---- -
ไม้ยืนตน้ รวมอื่น ๆ -
- 3,232 - - - 121 101 222

- - 1,120,000 - - 80,000 - 80,000

ไม้ผลรวมอืน่ ๆ 251 6,416 765 31 537 239 541 542 1,890

ไมผ้ ล(ขายกิ่งพนั ธ)์ุ 3,636 90,909 - - 13,636 9,091 22,727 4,364 49,818

ท่มี า : จากการวเิ คราะห์
หมายเหตุ : ออ้ ยโรงงานสว่ นใหญเ่ ป็นอ้อยตอ(ออ้ ยโรงงานปีที่ 2-5)

ไม้ผลรวมอ่นื ๆ รวมผลผลติ ไมผ้ ลจากไร่นาสวนผสมดว้ ย
ไม้ยนื ตน้ รวมอื่น ๆ ไดแ้ ก่ ไม้สกั /ประดู่/พยุง/ยางนา เป็นต้น
มูลคา่ ผลผลติ ที่เกษตรกรได้รบั เท่ากับ รายไดเ้ งนิ สดจากการขายผลผลติ รวมกับมูลค่าผลผลติ ท่ใี ชใ้ นครวั เรือน

- 45 -

ตารางท่ี 4.16 รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านพืช

ในเขตพน้ื ท่สี ูบนา้ ด้วยไฟฟา้ ปีเพาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มูลคา่ รายจ่ายเงนิ สดในการผลติ
ต่อไร่ เงนิ สด ผลผลติ ที่ใช้
ชนดิ พืช (กก./ไร่) ในครวั เรอื น ค่าพนั ธุ์ ค่า ค่า ค่าจ้าง อืน่ ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา นา้ มัน แรงงาน

ขา้ วเจา้ นาปี 763 4,595 473 177 1,046 244 853 1,175 3,495

ข้าวเหนยี วนาปี 400 - 4,000 480 252 120 500 1,000 2,352

ข้าวเจา้ นาปรงั 745 4,707 270 177 1,046 285 848 1,107 3,463

ขา้ วโพดเลี้ยงสัตวร์ ุ่น 1 990 4,625 - 572 897 124 714 1,026 3,333

ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์รุ่น 2 1,014 5,743 - 562 734 95 1,295 1,096 3,782

ข้าวโพดรับประทาน 2,473 10,630 - 1,099 1,389 46 1,024 1,000 4,558

มนั สาปะหลงั โรงงาน 3,345 6,845 - - 1,200 155 2,155 903 4,413

ออ้ ยโรงงานปที ่ี 2-5 15,330 10,811 1 1 1,140 125 3,227 2,334 6,827

ถวั่ เหลืองรนุ่ 1 222 4,000 - 867 367 - 500 1,000 2,734

ถั่วเหลอื งร่นุ 2 50 850 - 113 214 - 164 - 491

ถว่ั เลสิ งรนุ่ 1 500 12,500 - 1,000 - 117 1,083 333 2,533

คะนา้ 227 5,600 - - 167 - 1,000 - 1,167

แตงกวา 1,789 17,522 347 283 372 3,186 - - 3,841

ถ่ัวฝักยาว 1,313 16,500 173 3,833 917 417 - - 5,167

ผกั กาด 2,125 4,200 50 - 125 - 750 - 875

ผกั ชี 300 6,000 - - 167 - 1,000 - 1,167

ผักบงุ้ จนี 1,174 24,286 143 343 371 - - - 714

พริก 1,392 26,923 923 1,154 1,846 - - - 3,000

บวบ 2,769 40,385 1,154 4,308 154 769 - - 5,231

กวางต้งุ 1,400 12,420 180 320 950 - - - 1,270

มะเขือพวง 2,285 24,165 81 285 891 - - - 1,176

คน่ึ ช่าย 346 10,188 - 571 896 57 107 - 1,631

ฟัก 208 6,000 240 480 300 - 2,400 800 3,980

มะมว่ ง 71 86 243 - - - - - -

ลาไย 65 1,000 - - 140 - 500 30 670

กระท้อน 45 120 - - - - - - -

กล้วยน้าวา้ 196 1,200 228 - - - - - -

มะนาว 200 18,000 - 2,500 2,000 - - - 4,500

ไมไ้ ผ่ (ลา) - 20,000 - - - - 2,000 4,000 6,000

ไมผ้ ลรวมอ่นื ๆ 967 30,100 1,159 - 1,575 33 - 600 2,208

ไมผ้ ล(ขายก่ิงพันธ)์ุ 3,636 90,900 - - 13,636 9,091 22,727 4,364 49,818

ทมี่ า : จากการวิเคราะห์

- 46 -

ตารางที่ 4.17 รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางด้านพืช

นอกเขตพ้นื ท่สี ูบนา้ ดว้ ยไฟฟ้า ปเี พาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ผลผลติ รายได้ มูลคา่ รายจ่ายเงินสดในการผลิต
ตอ่ ไร่ เงินสด ผลผลติ ท่ใี ช้
ชนิดพืช (กก./ไร่) ในครวั เรอื น ค่าพันธุ์ ค่า คา่ ค่าจ้าง อนื่ ๆ รวม
ข้าวเจา้ นาปี 4,068 296 ปยุ๋ /ยา น้ามัน แรงงาน 3,374
722 360
891 174 888 1,125

ขา้ วเหนียวนาปี 686 2,804 2,344 390 1,290 159 1,157 1,118 4,114

ขา้ วเจา้ นาปรัง 604 3,826 176 281 958 247 840 1,096 3,422
- 561 709 112 1,065 1,000 3,447
ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์รุน่ 1 547 3,011 - 484 620 154 1,550 1,046 3,854
21 1,010 2,116 153 709 1,554 5,542
ข้าวโพดเลีย้ งสัตวร์ ุ่น 2 811 5,231

ข้าวโพดรบั ประทาน 1,627 6,878

ออ้ ยโรงงานปที ี่ 1 14,088 15,161 341 1809 1,731 348 5,296 1,306 10,490

อ้อยโรงงานปที ี่ 2-5 12,063 12,819 8 84 1,533 201 3,515 1,519 6,852
ถั่วเหลอื งรุ่น 1 569 10,132
ถว่ั เหลอื งรนุ่ 2 74 1,259 - 471 127 50 571 1,010 2,229
ถ่ัวเลสิ งรุ่น 1 600 15,000
- 419 65 102 277 1,000 1,863

- - - 500 - 200 700

ถัว่ เลสิ งร่นุ 2 366 9,333 352 63 726 233 704 15 1,741

แตงกวา 792 6,876 204 521 1,377 614 732 261 3,505
ถั่วฝักยาว 832 11,738 970 226 1,579 1,645 377 656 4,483
เผือก 4,146 40,979 121 16,746
5 3,000 5,908 29 7,688

ผกั กาด 1,565 12,667 133 500 834 686 233 - 2,253

ผักชี 125 2,400 96 800 700 411 138 - 2,049

ผักบุ้งจนี 306 13,030 13 163 500 65 2,292 46 3,066
พรกิ
หอมแดง 465 10,000 567 177 1,453 40 2,027 - 3,697

2,216 11,363 5,959 2 5,085 1806 5987 322 13,202

คึ่นช่าย 319 7,614 40 - 1,170 71 1,393 929 3,563

ฟัก 1,000 36,500 13,500 200 - - - 6,000 6,200

กาแฟ 460 6,000 -- -----

ทุเรียน 9 375 338 - 211 375 375 - 961

มะม่วง 1,004 7,962 52 96 1,568 176 325 24 2,189

ลางสาด 327 385 1250 - 132 462 - - 594

ลองกอง 336 500 5,962 - 172 600 - - 772
มะพรา้ ว
มะขามหวาน 2,000 12,000 720 - ---- -
กลว้ ยนา้ ว้า
103 2,602 1,597 - 316 - - - 316

229 1,381 429 - - 15 - - 15

มะม่วงหิมพานต์ 43 1,517 - - - - 333 - 333

มะนาว 188 3,168 232 - 320 - - - 320
พุทรา 267 5,000 333 - 1,667 167 - - 1,834
ไม้ยคู าลปิ ตสั - 8,544 - -----
ไม้สัก - 4,776 - - - - 179 149 328
-

ไมย้ ืนต้นรวมอื่น ๆ - - 1,120,000 - - - 80,000 - 80,000

ไม้ผลรวมอืน่ ๆ 199 4,678 736 34 461 254 581 538 1,868

ท่มี า : จากการวิเคราะห์

- 47 -

4.2.4 รายไดเ้ งนิ สดการเกษตร ในการผลิตทางการเกษตรปีเพาะปลูก 2557/58 เกษตรกรมีรายได้เป็นเงิน
สดในการเกษตร มรี ายละเอยี ดดังน้คี อื

1) ด้านพืช รายได้เงินสดด้านพืชรวมท้ังหมด 245,160 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายได้เงินสด
จากการปลูกข้าวเจา้ นาปีจานวน 103,391 บาท หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 42.17 รองลงมาเป็นรายได้จากการปลูกข้าวเจ้า
นาปรงั จานวน 51,108 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.85 อ้อยโรงงานปีท่ี 2-5 จานวน 49,060 บาท หรือคิดเป็นร้อย
ละ 20.09 อ้อยโรงงานปที ่ี 1 จานวน 19,103 บาท หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 7.79 (ตารางที่ 4.18)

ตารางท่ี 4.18 รายได้ – รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นพชื

รวมพืน้ ที่ทง้ั โครงการ ปีเพาะปลกู 2557/58

หนว่ ย : บาท/ครวั เรอื น

ผลผลติ รายได้ มลู คา่ รายจ่ายเงนิ สดในการผลติ
ตอ่ ไร่ เงินสด ผลผลิตทใ่ี ช้
ชนิดพชื (กก./ไร่) ในครวั เรือน ค่าพันธ์ุ ค่า ค่า ค่าจ้าง อนื่ ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา น้ามัน แรงงาน

ขา้ วเจ้านาปี 743 103,391 9,936 5,623 23,153 5,019 20,738 27,414 81,947

ขา้ วเหนียวนาปี 666 235 221 36 110 14 100 105 365

ข้าวเจ้านาปรงั 679 51,108 2,684 2,684 11,958 3,183 10,046 13,254 41,125

ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ร่นุ 1 805 2,252 - 323 467 68 490 579 1,927

ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์รนุ่ 2 917 769 - 73 95 17 198 160 543

ข้าวโพดรบั ประทาน 1,760 1,792 4 246 480 33 182 340 1,281

มันสาปะหลังโรงงาน 3,345 479 - - 84 11 151 63 309

อ้อยโรงงานปที ี่ 1 14,088 19,103 430 2,280 2,181 439 6,673 1,645 13,218

อ้อยโรงงานปที ่ี 2-5 12,187 49,060 30 312 5,846 764 13,491 5,050 25,463

ถั่วเหลืองรุ่น 1 558 2,485 - 121 34 12 142 246 555

ถ่วั เหลืองรุ่น 2 71 364 - 115 25 27 79 - 246

ถั่วเลิสงรุ่น 1 525 131 - 8 - 2 8 3 21

ถั่วเลสิ งร่นุ 2 366 280 11 2 22 7 21 - 52

คะน้า 227 4 - - - - 1 - 1

แตงกวา 848 373 11 25 66 38 35 12 176

ถัว่ ฝกั ยาว 824 235 16 5 32 32 7 13 89

เผอื ก 4,146 2,459 0* 180 355 2 461 7 1,005

ผักกาด 1,683 52 1 1 33 2- 9

ผักชี 159 12 0* 3 2 1 1 - 7

ผักบุ้งจนี 353 1,091 2 14 39 5 173 3 234

พริก 476 204 11 4 29 1 40 - 74

บวบ 2,769 13 0* 1 - - - - 1

กวางตุ้ง 1,400 16 0* - 1- - - 1

มะเขือพวง 2,285 114 0* 1 4 - - - 5

หอมแดง 2,046 1,545 647 - 647 209 759 36 1,651

คึน่ ชา่ ย 324 322 1 4 45 3 47 31 130

ฟัก 604 107 34 2 1 - 6 17 26

กาแฟ 460 75 -- ---- -

ทุเรยี น 9 19 17 - 11 19 19 - 48

มะม่วง 931 882 8 11 173 19 36 3 242

ลาไย 65 30 -- 4 - 15 1 20

- 48 -

ตารางท่ี 4.18 (ตอ่ ) รายได้ – รายจ่ายเงินสดในการประกอบกจิ กรรมการเกษตรทางดา้ นพืช

รวมพ้นื ทที่ ้งั โครงการ ปเี พาะปลูก 2557/58

หน่วย : บาท/ครวั เรอื น

ผลผลติ รายได้ มลู ค่า รายจ่ายเงนิ สดในการผลิต
ต่อไร่ เงนิ สด ผลผลิตทใี่ ช้
ชนิดพืช (กก./ไร่) ในครัวเรอื น ค่าพันธุ์ ค่า ค่า ค่าจ้าง อ่นื ๆ รวม
ปยุ๋ /ยา น้ามัน แรงงาน

ลางสาด 327 12 38 - 4 14 - - 18

ลองกอง 336 15 179 - 5 18 - - 23

กระท้อน 45 0* -- - --- -

มะพรา้ ว 2,000 30 2- - -- - -

มะขามหวาน 103 26 16 - 3- - - 3
กล้วยน้าว้า
มะม่วงหิมพานต์ 218 26 7- - -- - -

43 46 - - - - 10 - 10

มะนาว 193 55 1 6 6 - - - 12

พุทรา 267 50 3 - 17 2 - - 19

ไม้ไผ่ (ลา) - 800 - - - - 80 160 240

ไม้ยคู าลปิ ตสั - 637 -- ---- -

ไม้สัก - 194 - - - - 7 6 13

ไมย้ นื ต้นรวมอนื่ ๆ -- 702 - - - 50 - 50

ไมผ้ ลรวมอื่น ๆ 251 1,540 184 8 129 57 130 130 454

ไม้ผล(ขายก่ิงพันธ)ุ์ 3,636 2,727 - - 409 273 682 131 1,495

รวมพืช - 245,160 15,196 12,088 46,440 10,292 54,880 49,409 173,109

ทมี่ า : จากการวเิ คราะห์
หมายเหตุ : มูลค่าผลผลติ ทเ่ี กษตรไดร้ ับเท่ากบั รายไดเ้ งนิ สดจากการขายผลผลติ รวมกบั มลู ค่าผลผลติ ทใ่ี ช้ในครวั เรือน

ค่า 0* คอื มคี ่าแตน่ ้อยมาก

2) ดา้ นปศสุ ัตว์ รายได้เงินสดด้านปศุสัตว์รวมทั้งหมด 9,711 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายได้
เงินสดจากการเล้ียงสุกรจานวน 5,711 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 58.81 รองลงมาเป็นรายได้จากการเลี้ยงโคจานวน
3,333 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 34.32 และรายได้จากการเลี้ยงไก่พื้นเมือง\ไก่บ้านจานวน 322 บาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 3.32 (ตารางท่ี 4.19)

ตารางท่ี 4.19 รายได้ - รายจ่ายเงนิ สดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางด้านปศสุ ัตว์

หน่วย : บาท/ครัวเรอื น

รายได้ มลู ค่าผลผลติ รายจ่ายเงนิ สดในการผลติ
เงินสด ปศสุ ตั วท์ ใ่ี ช้
ชนิดปศสุ ตั ว์ ในครวั เรอื น ค่าพนั ธ์ุ คา่ อาหาร/ ค่าจ้าง อืน่ ๆ รวม
คา่ ยา แรงงาน

ไกพ่ ้นื เมอื ง/ไก่บา้ น 322 213 - 64 1 - 65

ไก่ไข่ 18 15 13 3 7 - 23

ไกช่ น 76 23 3 10 - 6 19

เป็ดไข่ -- - 5- - 5

เปด็ เน้ือ -- - 0* - - 0*

สุกร 5,711 - 428 3,257 421 232 4,438

กระบอื 251 - 100 19 - 20 139

โค 3,333 - 2,395 582 13 105 3,095

รวมปศุสตั ว์ 9,711 251 2,939 4,040 442 363 7,784

- 49 -

3) ดา้ นสตั วน์ ้า รายได้เงินสดด้านสัตว์น้ารวมท้ังหมด 697 บาท/ครัวเรือน เป็นรายได้เงินสดจาก
การเลย้ี งปลาน้าจดื จานวน 643 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 92.25 การเลี้ยงกบจานวน 54 บาท หรือคิดเป็นร้อย 7.75
(ตารางที่ 4.20)

ตารางท่ี 4.20 รายได้ - รายจา่ ยเงินสดในการประกอบกิจกรรมการเกษตรทางดา้ นสัตว์น้า

หนว่ ย : บาท/ครวั เรือน

รายได้ มูลคา่ ผลผลติ รายจ่ายเงนิ สดในการผลิต
เงนิ สด สตั วน์ า้ ทใี่ ช้
ชนดิ สัตวน์ า้ ในครัวเรอื น ค่าพันธุ์ ค่าอาหาร/ ค่าจ้าง อ่นื ๆ รวม
ค่ายา แรงงาน

กบ 54 28 8 20 - - 28

ปลานา้ จดื 643 162 216 271 12 1 500

รวมสัตว์นา้ 697 190 224 291 12 1 528

ทม่ี า : จากการวิเคราะห์

4.2.5 รายจ่ายเงนิ สดการเกษตร ในการผลติ ทางการเกษตรปเี พาะปลูก 2557/58 เกษตรกรมีรายจ่ายเป็น
เงนิ สดในการเกษตร มรี ายละเอยี ดดงั นีค้ อื

1) ด้านพืช รายจ่ายเงินสดด้านพืชรวมทั้งหมด 173,109 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่าพันธุ์ ค่า
ปุ๋ย/ยา ค่าน้ามัน ค่าจ้างแรงงาน และอ่ืน ๆ จานวน 12,088 46,440 10,292 54,880 และ 49,409 บาท/
ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 6.98 26.83 5.95 31.70 และ 28.54 ตามลาดับ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสด
จากการปลูกข้าวเจา้ นาปีจานวน 81,947 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 47.34 รองลงมาเป็นรายจ่ายจากการปลูกข้าวเจ้า
นาปรังจานวน 41,125 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23.76 อ้อยโรงงานปีท่ี 2-5 จานวน 25,463 บาท หรือคิดเป็นร้อย
ละ 14.71 อ้อยโรงงานปีท่ี 1 จานวน 13,218 บาท หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 7.64 (ตารางที่ 4.18)

2) ด้านปศสุ ัตว์ รายจา่ ยเงนิ สดดา้ นปศสุ ตั ว์รวมทัง้ หมด 7,784 บาท/ครวั เรือน โดยแยกเป็นค่าพันธุ์
ค่าอาหาร/ยา คา่ จา้ งแรงงาน และอื่น ๆ จานวน 2,939 4,040 442 และ 363 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อย
ละ 37.76 51.90 5.68 และ 4.66 ตามลาดับ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงสุกรจานวน 4,438 บาท
หรือคิดเป็นร้อยละ 57.01 รองลงมาเป็นรายจ่ายจากการเล้ียงโคจานวน 3,095 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 39.76
และรายจ่ายจากการเลี้ยงไก่พ้ืนเมือง/ไก่บ้านจานวน 65 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.84 ส่วนใหญ่การเล้ียงไก่
เกษตรกรจะปล่อยตามบ้านค่าใช้จา่ ยจึงมนี ้อย (ตารางท่ี 4.19)

3) ดา้ นสัตว์น้า รายจ่ายเงินสดด้านสัตว์น้ารวมท้ังหมด 528 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่าพันธุ์
คา่ อาหาร/ยา คา่ จ้างแรงงาน และอื่น ๆ จานวน 224 291 12 และ 1 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 42.43
55.11 2.27 และ 0.19 ตามลาดับ เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงปลาน้าจืดจานวน 500 บาท/ครัวเรือน หรือคิด
เป็นร้อยละ 94.70 ส่วนใหญ่เป็นการเล้ียงปลาปล่อยตามธรรมชาติ และรายจ่ายเงินสดจากการเลี้ยงกบจานวน 28
บาท/ครวั เรอื น หรอื คดิ เป็นร้อยละ 5.30 (ตารางท่ี 4.20)

4.2.6 มูลค่าผลิตผลที่นามาบริโภคในครัวเรือน จากการทาการเกษตรตลอดท้ังปีเพาะปลูก 2557/58
เกษตรกรไดน้ าผลผลติ การเกษตรภายในฟาร์มตนเองมาบริโภคและใช้ในครัวเรอื น มรี ายละเอยี ดดงั นีค้ อื

1) ด้านพืช เกษตรกรได้นาผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจานวน 15,196 บาท/ครัวเรือน
ไดแ้ ก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง หอมแดง ลองกอง ถ่วั ฝักยาว ทุเรียน เปน็ ตน้ (ตารางท่ี 4.18)

2) ด้านปศุสัตว์ เกษตรกรได้นาผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจานวน 251 บาท/ครัวเรือน
ไดแ้ ก่ ไก่พื้นเมอื ง/ไก่บ้าน ไข่ไก่ ไก่ชน (ตารางท่ี 4.19)

3) ด้านสัตว์น้า เกษตรกรได้นาผลผลิตมาบริโภคและใช้ในครัวเรือนจานวน 190 บาท/ครัวเรือน
ได้แก่ ปลานา้ จืด และกบ (ตารางที่ 4.20)

- 50 -

4.2.7 รายได้สทุ ธเิ กษตร ในการผลิตทางการเกษตรปเี พาะปลกู 2557/58 มรี ายละเอยี ดดังนคี้ ือ
1) ด้านพืช รายได้เงินสดสุทธิจากการปลูกพืชเฉล่ีย 72,051 บาท/ครัวเรือน สาหรับมูลค่าผลผลิต

พืชที่ใช้ในครัวเรือนหมายถึงมูลค่าผลผลิตพืชรวมหักมูลค่าผลผลิตพืชขายเฉล่ีย 15,196 บาท/ครัวเรือน สรุปรายได้
สุทธิจากการปลูกพืชหมายถึงรายได้เงินสดสุทธิจากการปลูกพืชรวมกับมูลค่าผลผลิตพืชท่ีใช้ในครัวเรือนเท่ากับเฉลี่ย
87,247 บาท/ครัวเรือน (ตารางท่ี 4.21)

ตารางที่ 4.21 รายได้สุทธิจากการปลกู พืช ปเี พาะปลูก 2557/58

ชนดิ พืช รายได้เงนิ สดสุทธิ มูลคา่ ผลผลติ พืช หน่วย : บาท/ครัวเรือน
จากการปลกู พืช 1 ทใ่ี ช้ในครัวเรือน 2 รายไดส้ ทุ ธิ
ข้าวเจ้านาปี จากการปลูกพืช 1 + 2
ขา้ วเหนียวนาปี 21,444 9,936 31,380
ขา้ วเจ้านาปรัง - 130 221 91
ข้าวโพดเลย้ี งสตั วร์ นุ่ 1 9,983 12,667
ข้าวโพดเลยี้ งสตั วร์ ุ่น 2 325 2,684 325
ข้าวโพดรับประทาน 226 - 226
มนั สาปะหลงั โรงงาน 511 - 515
อ้อยโรงงานปีที่ 1 170 4 170
อ้อยโรงงานปีที่ 2-5 5,885 - 6,315
ถ่ัวเหลอื งรนุ่ 1 23,597 23,627
ถั่วเหลอื งรุ่น 2 1,930 430 1,930
ถว่ั เลิสงรุน่ 1 118 30 118
ถ่วั เลิสงรุ่น 2 110 110
คะน้า 228 - 239
แตงกวา - 3
ถว่ั ฝกั ยาว 3 - 208
เผอื ก 197 11 162
ผกั กาด 146 - 1,454
ผักชี 1,454 11 44
ผกั บงุ้ จนี 43 16 5
พรกิ 0.00* 859
บวบ 5 1 141
กวางตงุ้ 857 0.00* 12
มะเขือพวง 130 2 15
หอมแดง 12 11 109
คนึ่ ช่าย 15 0.00* 541
ฟกั 109 0.00* 193
กาแฟ - 106 0.00* 115
ทเุ รียน 192 647 75
มะม่วง 81 1 - 13
ลาไย 75 34 648
ลางสาด - 30 - 10
ลองกอง 640 17 32
กระท้อน 10 8 171
-6 - -
-8 38
0.00* 179
-

- 51 -

ตารางที่ 4.21 (ตอ่ ) รายได้สทุ ธิจากการปลกู พชื ปีเพาะปลกู 2557/58

ชนดิ พืช รายได้เงนิ สดสทุ ธิ มลู ค่าผลผลติ พชื หน่วย : บาท/ครัวเรือน
จากการปลูกพชื 1 ท่ีใช้ในครวั เรือน 2 รายไดส้ ุทธิ
มะพร้าว จากการปลกู พืช 1 + 2
มะขามหวาน 30 2 32
กลว้ ยน้าวา้ 23 16 39
มะมว่ งหิมพานต์ 26 7 33
มะนาว 36 36
พุทรา 43 - 44
ไมไ้ ผ่ (ลา) 31 1 34
ไม้ยคู าลิปตสั 560 3 560
ไม้สกั 637 - 637
ไม้ยืนตน้ รวมอื่น ๆ 181 - 181
ไม้ผลรวมอน่ื ๆ - 50 - 652
ไม้ผล(ขายกิ่งพันธ)์ุ 1,086 702 1,270
1,232 184 1,232
รวมพชื 72,051 - 87,247
15,196

ท่มี า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : มลู ค่าผลผลติ พชื ทีใ่ ช้ในครวั เรือนคือ รวมมลู คา่ บรโิ ภคในครวั เรอื น/เกบ็ ไว้ทาพนั ธ/์ุ แจกให้ญาตพิ นี่ อ้ ง/คงเหลอื

ปลายปี

เมอื่ พิจารณารายละเอยี ดพบวา่ รายไดส้ ุทธิของข้าวเจ้านาปีเฉล่ีย 31,380 บาท/ครัวเรือน หรือคิด
เปน็ ร้อยละ 35.97 รองลงมาเป็นออ้ ยโรงงานปที ี่ 2-5 เฉล่ยี 23,627 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 27.08 ข้าว
เจา้ นาปรังเฉลีย่ 12,667 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 14.52 อ้อยโรงงานปีที่ 1 เฉล่ีย 6,315 บาท/ครัวเรือน
หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 7.24 (ตารางที่ 4.21)

2) ดา้ นปศุสตั ว์ รายได้เงินสดสุทธิจากด้านปศุสัตว์ จากการสารวจพบว่า มีรายได้เงินสดสุทธิเฉลี่ย
1,927 บาท/ครัวเรือน มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนเฉลี่ย 251 บาท/ครัวเรือน ส่วนต่างมูลค่าปศุสัตว์ต้นปี
และปลายปีเฉล่ีย 1,585 บาท/ครัวเรือน เนื่องจากเกษตรกรมีการเลี้ยงโคซึ่งมีส่วนต่างถึง 3,537 บาท/ครัวเรือน ทา
ให้โดยภาพรวมของครัวเรือนเกษตรมีค่าเป็นบวก สรุปรายได้สุทธิเฉล่ีย 3,763 บาท/ครัวเรือน หมายเหตุ : มูลค่า
ผลผลิตปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนคือ รวมมูลค่าบริโภคในครัวเรือน นามาแปรรูป และแจกให้ญาติพี่น้อง (ตารางที่
4.22)

- 52 -

ตารางที่ 4.22 รายได้สุทธิจากการเลย้ี งปศสุ ัตว์ ปีเพาะปลูก 2557/58

หน่วย : บาท/ครวั เรือน

ชนิดปศสุ ตั ว์ รายได้เงนิ สดสทุ ธิ มูลคา่ ผลผลติ สว่ นต่างมลู คา่ รายไดส้ ทุ ธจิ ากการ
จากการ ปศุสตั ว์ท่ีใช้ ปศสุ ัตว์ต้นปี เลย้ี งปศสุ ตั ว์ 1 + 2 + 3
ในครวั เรอื น 2 และปลายปี 3
เล้ยี งปศสุ ตั ว์ 1

ไก่พื้นเมือง/ไกบ่ า้ น 257 213 140 610

ไก่ไข่ - 5 15 12 22

ไกช่ น 57 23 - 1 79

เป็ดไข่ -5 - - -5

เป็ดเนอื้ - -2 2

สกุ ร 1,273 - - 1,855 - 582

กระบอื 112 - - 250 - 138

โค 238 - 3,537 3,775

รวมปศุสัตว์ 1,927 251 1,585 3,763

ทมี่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : รายไดส้ ุทธิจากการเลย้ี งปศุสตั ว=์ รายได้เงนิ สดสทุ ธิจากการเลยี้ งปศุสัตว์ + มลู ค่าผลผลติ ปศุสตั วท์ ่ใี ชใ้ นครัวเรือน

+ สว่ นต่างมูลค่าผลผลติ ปศุสตั ว์ต้นปแี ละปลายปี

3) ด้านสัตว์น้า รายได้เงินสดสุทธิจากการเลี้ยงสัตว์น้า จากการสารวจพบว่า มีการเลี้ยงปลาน้าจืด
และกบเท่านั้น มีรายได้เงินสดสุทธิเฉล่ีย 169 บาท/ครัวเรือน มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์ท่ีใช้ในครัวเรือนเฉล่ีย 191 บาท/
ครัวเรือน ส่วนต่างมูลค่าปศุสัตว์ต้นปีและปลายปีเฉล่ียติดลบ 207 บาท/ครัวเรือน รายได้สุทธิเฉลี่ย 153 บาท/
ครัวเรือน (ตารางที่ 4.23)

ตารางที่ 4.23 รายไดส้ ุทธจิ ากการเลี้ยงสตั ว์น้า

ชนดิ สตั ว์นา้ รายไดเ้ งนิ สดสุทธิ มลู ค่าผลผลติ ส่วนต่างมลู คา่ หน่วย : บาท/ครวั เรอื น
จากการ สตั ว์น้าท่ใี ช้ สตั ว์น้าตน้ ปี รายไดส้ ทุ ธจิ ากการ
ในครัวเรือน 2 และปลายปี 3 เล้ียงสตั ว์น้า 1 + 2 + 3
เล้ียงสตั ว์น้า 1

กบ 26 28 18 72

ปลาน้าจดื 143 163 - 225 81

รวมสัตวน์ า้ 169 191 - 207 153

ท่ีมา : จากการสารวจ
หมายเหตุ : รายไดส้ ุทธจิ ากการเล้ยี งสตั ว์นา้ =รายไดเ้ งินสดสุทธิจากการเลยี้ งสัตวน์ า้ +มลู ค่าผลผลติ สัตว์นา้ ที่ใช้ในครัวเรอื น

+ส่วนต่างมลู ค่าผลผลติ สตั วน์ า้ ตน้ ปีและปลายปี
มลู ค่าผลผลิตสตั วน์ า้ ทใี่ ชใ้ นครัวเรือน=มลู ค่าผลผลติ สัตวน์ า้ ที่จบั ได–้ มลู คา่ สตั วน์ ้าทีข่ าย

4.2.8 รายได้สุทธิเกษตร เงินออม และการออมสุทธิ ในการผลิตทางการเกษตรปีเพาะปลูก 2557/58 มี
รายละเอียดดังน้คี อื

1) รายได้เงินสดเกษตร รายได้เงินสดเกษตรรวมเท่ากับ 255,568 บาท/ครัวเรือน เป็นด้านพืช
ดา้ นปศุสัตว์ ดา้ นสัตว์น้า และอ่ืนๆ เท่ากับ 245,160 9,711 697 และ 12,054 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ
91.61 3.63 0.26 และ 4.50 ตามลาดับ (ตารางท่ี 4.24)

2) รายจ่ายเงินสดเกษตร รายจ่ายเงนิ สดเกษตรรวมเท่ากับ 181,421 บาท/ครัวเรือน เป็นด้านพืช
ดา้ นปศุสตั ว์ ดา้ นสตั วน์ า้ และอน่ื ๆ เทา่ กบั 173,109 7,784 528 และ 25,824 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ
83.53 3.76 0.25 และ 12.46 ตามลาดับ (ตารางท่ี 4.24)

- 53 -

3) รายได้เงนิ สดสุทธเิ กษตร รายได้เงนิ สดสุทธิเกษตรรวมเท่ากับ 74,147 บาท/ครวั เรือน เป็นด้าน
พืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์น้า และอื่นๆ เท่ากับ 72,051 1,927 169 และ -13,770 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 119.34 3.19 0.28 และ -22.81 ตามลาดบั (ตารางท่ี 4.24)

4) มูลค่าผลผลิตเกษตรท่ีใช้ในครัวเรือน และส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปี
มูลค่าผลผลิตเกษตรท่ีใช้ในครัวเรือน และส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปีรวมเท่ากับ 17,016 บาท/
ครัวเรือน เป็นด้านพืช ด้านปศุสัตว์ และด้านสัตว์น้าเท่ากับ 15,196 1,836 และ - 16 บาท/ครัวเรือน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 89.30 10.79 และ – 0.09 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.24)

5) รายได้สทุ ธิเกษตร รายไดส้ ทุ ธเิ กษตรในเขตโครงการฯ หมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมกับ
มลู คา่ ผลผลติ เกษตรทีใ่ ช้ในครัวเรือนและส่วนต่างมูลค่าผลผลิตเกษตรต้นปีและปลายปี ดังน้ัน รายได้สุทธิเกษตรรวม
เทา่ กับ 91,163 บาท/ครวั เรือน เปน็ ด้านพชื ดา้ นปศสุ ตั ว์ ดา้ นสตั วน์ า้ และอ่ืนๆ เท่ากับ 87,247 3,763 153 และ
-13,770 บาท/ครวั เรอื น หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 112.73 4.86 0.20 และ -17.79 ตามลาดบั (ตารางท่ี 4.24)

6) รายได้เงินสดนอกเกษตร นอกจากรายได้เงินสดการเกษตรภายในฟาร์มตนเองแล้ว เกษตรกร
ส่วนใหญ่การครองชีพมีรายได้เสริมจากนอกการเกษตร เน่ืองจากระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีไม่ต่อเนื่องทาให้มี
แรงงานภายในครัวเรือนว่างงานจึงออกทางานนอกฟาร์มและมีแรงงานนอกการเกษตร ได้แก่ ครัวเรือนไปรับจ้าง
การเกษตรนอกฟาร์ม กาไรจากการค้าขาย(ซื้อสินค้าเกษตรมาขาย) ให้บริการนอกการเกษตร คนในครัวเรือนรับจ้าง
กิจกรรมนอกเกษตร นาเคร่ืองมือไปรับจ้างนอกการเกษตร เงินเดือน/ค่าตอบแทน ได้รับเงินทางานจากต่างประเทศ/
ลูกหลานอยู่ต่างประเทศส่งให้ เป็นต้น ในปีเพาะปลูก 2557/58 มีรายได้นอกการเกษตรรวมเท่ากับ 144,698 บาท/
ครัวเรือน โดยเป็นรายไดจ้ ากเงนิ เดือน/คา่ ตอบแทนจานวน 68,727 บาท หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 47.50 กาไรจากการค้า
ขาย(ซ้ือของมาขายฯ/ร้านขายของชา)จานวน 13,128 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.07 คนในครัวเรือนไปรับจ้างนอก
การเกษตรจานวน 9,694 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.70 ได้เงินทางานในต่างถิ่น/ลูกหลานในประเทศส่งให้จานวน
9,312 บาท หรือคดิ เป็นร้อยละ 6.44 (ตารางที่ 4.25)

7) รายจ่ายเงินสดนอกเกษตร เป็นรายจ่ายในครัวเรือนซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายเพ่ือการดารงชีพของ
ครอบครวั เกษตรของบคุ คลภายในครวั เรอื นทั้งหมด(ค่าบริโภค/อุปโภค) คือ ค่าอาหาร ค่าหัตถกรรม/อุตสาหกรรมใน
ครัวเรือน เส้อื ผ้าเครอ่ื งนุง่ ห่ม ส่งิ ของใช้ในครัวเรือน (สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก ของใช้ส่วนบุคคล) ค่าเช้ือเพลิง/ไฟฟ้า/
แสงสว่าง ค่าน้าใช้ในครัวเรือน ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายการศึกษา เป็นต้น ดังนั้น โดยเฉลี่ยรวมต่อครัวเรือน
เกษตรกรมีรายจา่ ยนอกเกษตรทั้งหมดตลอดท้ังปีเท่ากับ 136,733 บาท/ครัวเรือน โดยเป็นค่าอาหารจานวน 36,396
บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 26.62 ค่าน้ามัน(ใช้กับยานพาหนะ)จานวน 15,747 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.52
คา่ ใช้จ่ายการศึกษาจานวน 15,189 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.11 ค่าภาษีท่ีดินนอกเกษตร/ค่าธรรมเนียม/ค่าเบ้ีย
ประกนั ต่าง ๆ จานวน 12,711 บาท หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 9.30 คา่ เชื้อเพลิง/ไฟฟ้า/แสงสวา่ งจานวน 9,218 บาท หรือ
คิดเป็นร้อยละ 6.74 ที่อยู่อาศัย (ค่าเช่าบ้าน/ค่าซ่อมแซมบ้าน)จานวน 8,311 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.08 ค่า
กจิ กรรมทางศาสนา/พธิ กี รรมจานวน 5,455 บาท หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 3.99 (ตารางที่ 4.25)

8) รายได้เงินสดคงเหลือเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน รายได้เงินสดคงเหลือเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน
หมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร ดังนั้นรายได้เงินสดคงเหลือเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน
เท่ากับ 205,075 บาท/ครวั เรอื น (ตารางที่ 4.24)

9) เงินออม เงินออมหมายถึง เป็นเงินคงเหลือจากการใช้จ่ายท้ังในการเกษตรและนอกการเกษตร
เป็นเงินออมท่ีเกษตรกรคงเหลือเพ่ือไว้ใช้สอยในปีต่อไปหรือใช้สอยเม่ือมีความจาเป็น ดังนั้น เกษตรกรมีเงินออม
เท่ากับ 68,342 บาท/ครวั เรือน (ตารางที่ 4.24)

10) เงินออมสุทธิ เงินออมสุทธิมหมายถึง รายได้สุทธิเกษตรรวมกับรายได้นอกการเกษตร แล้วหัก
รายจ่ายนอกการเกษตร ดงั นั้น เกษตรกรมเี งินออมสทุ ธเิ ทา่ กับ 85,358 บาท/ครวั เรือน (ตารางที่ 4.24)

- 54 -

11) รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือจากการใช้จ่ายในครัวเรือน รายได้เงินสดสุทธิเกษตรเหลือจาก
การใช้จ่ายในครัวเรือนหมายถึง รายได้เงินสดสุทธิเกษตรหักรายจ่ายนอกการเกษตร ดังนั้น รายได้เงินสดสุทธิเกษตร
เหลือจากการใช้จา่ ยในครัวเรอื นเทา่ กบั ติดลบ 76,356 บาท/ครวั เรือน (ตารางที่ 4.24)

ตารางที่ 4.24 รายได้สทุ ธเิ กษตร เงนิ ออม และการออมสทุ ธิ ปีเพาะปลูก 2557/58

รายการ หน่วย : บาท/ครวั เรือน
1. รายไดเ้ งนิ สดเกษตร
จานวน
- พชื 267,622
- ปศุสัตว์ 245,160
- สตั วน์ ้า
- อื่นๆ 9,711
2. รายจา่ ยเงินสดเกษตร 697
- พชื
- ปศสุ ัตว์ 12,054
- สัตว์นา้ 207,245
- อ่ืนๆ 173,109
3. รายได้เงินสดสทุ ธเิ กษตร 1 (1) - (2)
- พชื 7,784
- ปศสุ ตั ว์ 528
- สัตว์นา้
- อน่ื ๆ 25,824
4. มลู คา่ ผลผลติ เกษตรที่ใชใ้ นครวั เรอื น และสว่ นต่างมูลคา่ ผลผลิต 60,377
เกษตรต้นปีและปลายปี 72,051
- พชื 1,927
- ปศสุ ตั ว์
- สัตว์น้า 169
- อน่ื ๆ - 13,770
5. รายได้สุทธเิ กษตร 2 (3) + (4) 17,016
- พชื
- ปศสุ ัตว์ 15,196
- สัตวน์ ้า 1,836
- อื่นๆ - 16
6. รายได้เงินสดนอกเกษตร
7. รายจา่ ยเงนิ สดนอกเกษตร -
8. รายได้เงินสดคงเหลอื เพ่ือใช้จ่ายในครวั เรอื น (3) + (6) 77,393
9. เงินออม (3) + (6) – (7) 87,247
10. เงินออมสุทธิ (5) + (6) – (7) 3,763
11. รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธิเกษตรเหลือจากการใชจ้ า่ ยในครัวเรือน (3) - (7)
153
- 13,770
144,698
136,733
205,075
68,342
85,358
- 76,356

ทมี่ า : จากการวิเคราะห์

- 55 -

ตารางท่ี 4.25 รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดเกษตรอ่ืนๆและนอกเกษตรของครวั เรอื นเกษตร

รายการ หน่วย : บาท/ครวั เรอื น
๏ รายได้เงินสดเกษตรอ่ืนๆ
จานวน
- ไดร้ บั ค่าเช่าทดี่ นิ การเกษตร 12,054
- คา่ เช่าเคร่ืองจักร/โรงเรือนเกษตร 1,645
- อื่นๆ เกษตรในเขตโครงการ
๏ รายได้เงนิ สดนอกเกษตร 65
- ครวั เรือนไปรับจ้างการเกษตรนอกฟาร์ม 10,344
- นาเครอ่ื งมือไปรับจ้างการเกษตรนอกฟาร์ม 144,698
- นาพาหนะรับจ้างขนผลผลติ เกษตรนอกฟาร์ม 4,411
- ไดร้ บั เงนิ ช่วยเหลือด้านการเกษตร 4,797
- ให้บรกิ ารดา้ นการเกษตรอ่นื ๆ 1,311
- กาไรจากการคา้ ขาย (ซ้ือสนิ ค้าเกษตรมาขาย) 3,659
- กาไรจากการค้าขาย (ซอื้ ของมาขายฯ/รา้ นขายของชา)
- ใหบ้ ริการนอกการเกษตร (อู่ซ่อมรถ ฯ) 256
- ทาหตั ถกรรม/อุตสาหกรรมครวั เรือน (ปั้น แกะสลัก เย็บผา้ ฯ) 729
- คนในครัวเรอื นรับจา้ งกจิ กรรมนอกเกษตร 13,128
- นาเครือ่ งมือไปรับจา้ งนอกการเกษตร 2,402
- นายานพาหนะไปรับจ้างนอกการเกษตร 1,449
- ได้รบั เงนิ ชว่ ยเหลอื นอกการเกษตร/รฐั บาลให้ (เกิดอุทกภยั ฯลฯ) 9,694
- ได้รับเงนิ ชดเชย โบนัส นายหนา้ 3,353
- เงินเดอื น/ค่าตอบแทน 583
- เงินพนัน/หวย/เสยี่ งโชค 4,303
- ไดร้ บั เงินคา่ ดอกเบยี้ 5,962
- ไดร้ ับเงินคา่ เงินประกัน 68,727
- ไดร้ บั เงนิ ทางานในต่างถิ่น/ลกู หลานในประเทศส่งให้ 1,808
- ได้รับเงนิ ทางานจากต่างประเทศ/ลูกหลานอยู่ตา่ งประเทศส่งให้ 518
- บุตรหลานได้รับทนุ การศกึ ษา 63
- ขายทรพั ยส์ นิ นอกการเกษตร (อืน่ ๆ) 9,312
- ไดร้ ับค่าเชา่ ทดี่ ินนอกเขตโครงการ 1,150
- ได้รบั เงนิ จากงานพิธีกรรมต่างๆ (บวช/แตง่ งาน/ศพ ฯลฯ) 80
- อน่ื ๆ นอกการเกษตรนอกฟาร์ม 30
๏ รายจา่ ยเงินสดเกษตรอน่ื ๆ 83
- คา่ ซ่อมเครื่องจักร/โรงเรือนเกษตร 4,044
- คา่ เชา่ เครอ่ื งจักร/โรงเรอื นเกษตร 2,846
- คา่ ดอกเบย้ี เงนิ กูเ้ กษตร รวมทกุ กจิ กรรม 25,824
- ค่าบุกเบกิ ทด่ี ินเกษตร 8,540
- คา่ ไถ่ถอนท่ีดนิ เกษตร 734
7,155
135
251

- 56 -

ตารางท่ี 4.25 (ตอ่ ) รายได้ – รายจา่ ยเงนิ สดเกษตรอนื่ ๆและนอกเกษตรของครัวเรือนเกษตร

รายการ หนว่ ย : บาท/ครัวเรือน
- คา่ ซื้อเครื่องจักรอปุ กรณ์การเกษตร
- ค่าภาษีทีด่ นิ การเกษตร จานวน
- ค่าเชา่ ท่ีดนิ การเกษตร 1,939
- คา่ ซือ้ ท่ดี นิ การเกษตร
- อนื่ ๆ เกษตรในฟารม์ 100
๏ รายจา่ ยเงินสดนอกเกษตร 4,678
๏ บรโิ ภค
- อาหาร 501
๏ อุปโภค อื่นๆ 1,791
- ค่าหตั ถกรรม/อตุ สาหกรรมในครัวเรอื น 136,733
- เส้ือผ้าเครือ่ งนุ่งห่ม 36,396
- เครื่องแต่งกายเสรมิ สวย/เครอ่ื งประดับ 36,396
- สิ่งของใชใ้ นครวั เรือน (สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก ของใช้ส่วนบคุ คล) 100,337
- ท่อี ย่อู าศัย (ค่าเช่าบ้าน คา่ ซ่อมแซมบา้ น)
- ค่าเชื้อเพลงิ /ไฟฟ้า/แสงสว่าง 40
- ค่านา้ มนั (ใชก้ ับยานพาหนะ) 1,963
- ค่าน้าใชใ้ นครวั เรอื น 1,580
- ซอื้ เครื่องมือเครื่องใช้ในบ้าน/เฟอร์นิเจอร์ ฯ 4,109
- ค่ารักษาพยาบาล 8,311
- คา่ ขนสง่ /สอ่ื สาร (ใน-ต่างถิ่น) 9,218
- ค่าซอ้ื ยานพาหนะ/ค่าบารงุ รักษา 15,747
- ค่ากจิ กรรมทางศาสนา/พธิ กี รรม 2,201
- ค่าใชจ้ ่ายการศึกษา
- คา่ ใช้จา่ ยเสีย่ งโชค/บันเทิงมหรสพ 703
- ค่าภาษที ีด่ ินนอกการเกษตร/ค่าธรรมเนยี ม/คา่ เบ้ียประกนั ตา่ ง ๆ 2,859
- ค่าเช่าที่ดินนอกการเกษตร 4,339
- ค่าดอกเบ้ยี เงนิ กนู้ อกการเกษตร/ดอกเบยี้ ซื้อของเงินผ่อน 2,997
- คา่ ซ้ือที่ดินนอกการเกษตร/บ้านทอี่ ยู่อาศัย ฯ 5,455
- อื่น ๆ 15,189
2,371
12,711

270
4,339
2,277
3,658

ทีม่ า : จากการสารวจ

เมื่อพิจารณารายได้เงินสดสุทธิเกษตร ปีเพาะปลูก 2556/57 ในระดับประเทศ ภาคเหนือ และ
จังหวัดอุตรดิตถ์ มีค่าเท่ากับ 48,470 58,601 และ 73,944 บาท/ครัวเรือน ตามลาดับ ส่วนรายได้เงินสดสุทธิ
เกษตรของโครงการเข่ือนทดน้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ ปีเพาะปลูก 2557/58 (ฝั่งขวาเขื่อนทดน้าผาจุก) มีค่าเท่ากับ
60,377 บาท/ครวั เรือน (หมายเหตุ : ข้อมูลท่ีมาเปรียบเทียบรายได้สุทธิเกษตร ปีเพาะปลูก 2556/57 เป็นข้อมูลที่มี

- 57 -

ล่าสุดในปัจจุบัน และเป็นข้อมูลเบื้องต้นจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) (ตารางที่
4.26)

ตารางท่ี 4.26 เปรียบเทยี บรายไดส้ ทุ ธเิ กษตร

หน่วย : บาท/ครัวเรอื น

ปีเพาะปลกู

รายการ 2556/57* 2557/58

ระดับประเทศ ภาคเหนอื จงั หวดั อุตรดิตถ์ พืน้ ทีโ่ ครงการ

1. รายได้เงินสดเกษตร 148,240 173,173 151,887 267,622

- พชื 116,476 139,388 128,911 245,160

- ปศสุ ตั ว์ 19,023 23,007 13,824 9,711

- สตั วน์ ้า 7,184 3,271 6,883 697

- อ่ืน ๆ 5,557 7,507 2,269 12,054

2. รายจ่ายเงินสดเกษตร 99,770 114,572 77,943 207,245

- พชื 68,958 81,557 53,648 173,109

- ปศสุ ัตว์/สตั วน์ ้า 15,251 12,400 9,957 8,312

- อ่นื ๆ 15,561 20,615 14,338 25,824

3. รายได้เงินสดสทุ ธเิ กษตร (1) - (2) 48,470 58,601 73,944 60,377

- พืช 47,518 57,831 75,263 72,051

- ปศสุ ตั ว์/สัตวน์ า้ 10,956 13,878 10,750 2096

- อนื่ ๆ - 10,004 - 13,108 - 12,069 - 13,770

ทม่ี า : จากการวิเคราะห์

หมายเหตุ : * เปน็ ข้อมูลเบื้องตน้ จากศนู ย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

4.3 ปัญหาของเกษตรกรในพื้นท่ี

จากการสารวจและจัดเกบ็ ข้อมลู ภาวะเศรษฐกิจและสังคมครวั เรอื นเกษตรกรตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไข
ผลกระทบส่ิงแวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบส่ิงแวดล้อม โครงการเข่ือนทดน้าผาจุก(ด้านฝ่ังขวา) จังหวัด
อตุ รดิตถ์ ปีเพาะปลูก 2557/58 (1 พฤษภาคม 2557 – 30 เมษายน 2558) เกษตรกรมปี ัญหาเร่ืองตา่ งๆ ดังนีค้ ือ

4.3.1 ปัญหาเรือ่ งดนิ มรี ายละเอยี ดดังนี้
พน้ื ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ ดนิ และสภาพพ้นื ท่ีทาการเกษตรมีปญั หาคิดเป็นร้อยละ 11.45 เน่ืองจากสภาพ

พื้นท่ีการเกษตรเป็นดินปนทรายคิดเป็นร้อยละ 5.42 สภาพพ้ืนท่ีเป็นที่ลุ่มน้าคิดเป็นร้อยละ 2.41 ดินแข็งคิดเป็น
ร้อยละ 2.41 และดินเป็นลูกรัง/หินกรวดคิดเป็นร้อยละ 1.20 คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 3.61
เน่ืองจากสภาพดินขาดธาตุอาหารคิดเป็นร้อยละ 3.00 และสภาพดินเปรี้ยว/กรดคิดเป็นร้อยละ 0.61 ไม่มีความ
เหมาะสมของสภาพพ้ืนที่การปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 1.81 ไม่มีความเหมาะสมของสภาพพื้นที่การเลี้ยงสัตว์คิดเป็น
รอ้ ยละ 24.70 เน่ืองจากพืน้ ที่เป็นท่ีลุ่มและปลูกพืช

พื้นท่ีได้รับผลประโยชน์ ดินและสภาพพื้นท่ีทาการเกษตรมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 7.30 เน่ืองจากดิน
แข็งคิดเปน็ รอ้ ยละ 2.58 สภาพพืน้ ท่ีเป็นที่ลุ่มน้าคดิ เปน็ ร้อยละ 2.15 สภาพพ้ืนที่การเกษตรเป็นดินปนทรายคิดเป็น
ร้อยละ 1.72 และดินเป็นลูกรัง/หินกรวดคิดเป็นร้อยละ 1.29 คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 3.00
เนือ่ งจากสภาพดินเปรี้ยว/กรดคิดเป็นร้อยละ 1.72 ดินเค็มคิดเป็นร้อยละ 0.86 และสภาพดินขาดธาตุอาหารคิดเป็น
ร้อยละ 0.42 ไมม่ คี วามเหมาะสมของสภาพพืน้ ท่กี ารปลกู พชื คดิ เปน็ ร้อยละ 2.15 ไมม่ คี วามเหมาะสมของสภาพพื้นท่ี
การเลีย้ งสตั วค์ ิดเปน็ ร้อยละ 22.32 เนอ่ื งจากพืน้ ที่เป็นท่ลี ุ่ม

- 58 -

รวมท้ังโครงการ ดนิ และสภาพพืน้ ทที่ าการเกษตรมีปญั หาคดิ เป็นรอ้ ยละ 9.02 เน่ืองจากสภาพพื้นท่ี
การเกษตรเป็นดินปนทรายคิดเป็นร้อยละ 3.26 ดินแข็งคิดเป็นร้อยละ 2.51 สภาพพ้ืนท่ีเป็นท่ีลุ่มน้าคิดเป็นร้อยละ
2.26 และดินเป็นลกู รงั /หินกรวดคดิ เปน็ ร้อยละ 1.25 คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 3.26 เน่ืองจากสภาพ
ดินขาดธาตอุ าหารคดิ เป็นรอ้ ยละ 1.50 สภาพดินเปร้ียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 1.25 และดินเค็มคิดเป็นร้อยละ 0.50
ไม่มคี วามเหมาะสมของสภาพพนื้ ทกี่ ารปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 2.01 ไม่มีความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีการเล้ียงสัตว์
คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.31 (ตารางที่ 4.27)

ตารางที่ 4.27 ปญั หาเรื่องดิน

หนว่ ย : รอ้ ยละ

รายการ พนื้ ทไ่ี ด้รับ พ้ืนทไ่ี ดร้ บั รวมทั้งโครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์

๏ ดนิ และสภาพพื้นที่ทาการเกษตร 100.00 100.00 100.00

- ไม่มปี ญั หา 88.55 92.70 90.98
- มีปัญหา * 11.45
7.30 9.02

ดนิ ปนทราย 5.42 1.72 3.26

ดนิ แขง็ 2.41 2.58 2.51

สภาพพน้ื ทเี่ ป็นทลี่ ่มุ น้า 2.41 2.15 2.26

ดนิ เปน็ ลูกรงั /หินกรวด 1.20 1.29 1.25

๏ คณุ สมบตั ิของดิน 100.00 100.00 100.00

- ไมม่ ีปัญหา 96.39 97.00 96.74
- มปี ญั หา * 3.61
3.00 3.26

ดนิ ขาดธาตุอาหาร 3.00 0.42 1.50

ดนิ เปรยี้ ว/กรด 0.61 1.72 1.25

ดินเคม็ - 0.86 0.50

๏ ความเหมาะสมของสภาพพื้นท่กี ารปลกู พืช 100.00 100.00 100.00

- มคี วามเหมาะสม 98.19 97.85 97.99

- ไมม่ คี วามเหมาะสม 1.81 2.15 2.01

๏ ความเหมาะสมของสภาพพ้ืนทก่ี ารเล้ยี งสตั ว์ 100.00 100.00 100.00

- มีความเหมาะสม 75.30 77.68 76.69

- ไม่มคี วามเหมาะสม 24.70 22.32 23.31

ทีม่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนง่ึ รายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

4.3.2 ปญั หาเรือ่ งน้า มรี ายละเอยี ดดังน้ี
พืน้ ท่ีไดร้ บั ผลกระทบ คุณภาพของน้ามีปัญหาเกี่ยวกับความเปรี้ยว/กรดคิดเป็นร้อยละ 1.20 กรณีมี

บ่อนา้ ในไรน่ าเกษตรกรไมใ่ ช้ประโยชนค์ ดิ เป็นรอ้ ยละ 79.01 และใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 20.99 ได้แก่ เลี้ยงปลา
คดิ เป็นร้อยละ 9.88 ปลูกพืชฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 7.41 และใช้น้าบ่อตอนฝนท้ิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 5.56 กรณีฝน
ตกการระบายนา้ มปี ัญหาคิดเป็นรอ้ ยละ 8.43 ไม่มแี หลง่ น้าในหมบู่ า้ นคิดเป็นรอ้ ยละ 33.13 ในรอบปีเพาะปลูกท่ีผ่าน
มาเกษตรกรประสบปัญหาเก่ียวกับเรื่องน้าคิดเป็นร้อยละ 48.91 ได้แก่ ฤดูแล้งขาดน้าหยุดทานาปรังคิดเป็นร้อยละ
48.31 และเพล้ียระบาดทาให้ผลผลติ เสยี หายคิดเป็นร้อยละ 0.60

- 59 -

พ้ืนที่ไดร้ บั ผลประโยชน์ คณุ ภาพของนา้ มปี ญั หาเกี่ยวกบั ความเปร้ียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 0.86 กรณี
มบี ่อนา้ ในไร่นาเกษตรกรไมใ่ ชป้ ระโยชน์คิดเปน็ ร้อยละ 79.44 และใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 20.56 ได้แก่ ปลูกพืช
ฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 14.02 เลี้ยงปลาคิดเป็นร้อยละ 3.74 และใช้น้าบ่อตอนฝนทิ้งช่วงคิดเป็นร้อยละ 3.27 กรณี
ฝนตกการระบายน้ามีปัญหาคดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.58 ไม่มีแหล่งน้าในหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 24.03 ในรอบปีเพาะปลูกท่ี
ผ่านมาเกษตรกรประสบปญั หาเกีย่ วกบั เร่ืองนา้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 63.09 ได้แก่ ฤดูแล้งขาดน้าหยุดทานาปรังคิดเป็นร้อย
ละ 62.66 และบางพน้ื ทน่ี ้าส่งไปไมถ่ งึ แปลงนาเพราะอยบู่ นที่สูงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.43

รวมทั้งโครงการ คณุ ภาพของน้ามีปัญหาเกี่ยวกับความเปร้ียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 1.00 กรณีมีบ่อน้า
ในไร่นาเกษตรกรไม่ใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 79.26 และใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 20.74 ได้แก่ ปลูกพืชฤดูแล้ง
คิดเป็นร้อยละ 11.17 เล้ียงปลาคิดเป็นร้อยละ 6.38 และใช้น้าบ่อตอนฝนทิ้งช่วงคิดเป็นร้อยละ 4.26 กรณีฝนตก
การระบายน้ามีปัญหาคดิ เป็นร้อยละ 8.52 ไมม่ แี หล่งนา้ ในหมู่บ้านคดิ เปน็ ร้อยละ 27.82 ในรอบปีเพาะปลูกที่ผ่านมา
เกษตรกรประสบปัญหาเก่ียวกับเร่ืองน้าคิดเป็นร้อยละ 56.89 ได้แก่ ฤดูแล้งขาดน้าหยุดทานาปรังคิดเป็นร้อยละ
56.60 บางพ้นื ที่น้าส่งไปไม่ถึงแปลงนาเพราะอยู่บนท่ีสูงคิดเป็นร้อยละ 0.28 และเพลี้ยระบาดทาให้ผลผลิตเสียหาย
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.21 (ตารางที่ 4.28)

ตารางท่ี 4.28 ปญั หาเรอื่ งน้า พ้ืนท่ไี ดร้ บั พ้นื ทไี่ ดร้ บั หนว่ ย : ร้อยละ
ผลกระทบ ผลประโยชน์
รายการ 100.00 รวมทงั้ โครงการ
100.00
๏ คุณภาพของนา้ 98.88 99.14 100.00
- ไม่มีปัญหา 1.20 0.86 99.00
- มีปญั หา เกีย่ วกับความเปร้ียว/กรด 100.00 100.00 1.00
79.01 79.44 100.00
๏ กรณมี บี ่อน้าในไร่นา ท่านใชป้ ระโยชน์ 20.99 20.56 79.26
- ไม่ใชป้ ระโยชน์ 9.88 3.74 20.74
- ใช้ประโยชน์ * 7.41 14.02 6.38
- เลย้ี งปลา 5.56 3.27 11.17
- ปลกู พืชฤดูแล้ง 100.00 100.00 4.26
- ใชน้ ้าบอ่ ตอนฝนทิง้ ช่วง 91.57 91.42 100.00
8.43 8.58 91.48
๏ กรณีฝนตกการระบายนา้ 100.00 100.00 8.52
- ไมม่ ีปัญหา 33.13 24.03 100.00
- มปี ัญหา 66.87 75.97 27.82
58.43 68.24 72.18
๏ แหล่งนา้ ในหมบู่ า้ น 30.12 21.46 64.16
- ไม่มี 1.81 2.58 25.06
- มี การใช้ประโยชน์ 2.26
ใชใ้ นการเกษตร
ใช้ในครวั เรอื น
ไม่สามารถนามาใชไ้ ด้

- 60 -

ตารางที่ 4.28 (ตอ่ ) ปญั หาเร่ืองนา้

รายการ พื้นทไ่ี ดร้ ับ พื้นทไี่ ด้รับ หนว่ ย : รอ้ ยละ
ผลกระทบ ผลประโยชน์ รวมทงั้ โครงการ

๏ ในรอบปเี พาะปลกู ที่ผา่ นมา ทา่ นประสบ 100.00 100.00 100.00

ปัญหาเกย่ี วกับเรื่องนา้

- ไมม่ ี 51.81 36.91 43.11
- มี * 48.91 63.09 56.89
62.66 56.60
ฤดูแลง้ ขาดนา้ หยุดทานาปรงั 48.31
- 0.21
เพลยี้ ระบาดทาให้ผลผลิตเสียหาย 0.60 0.43 0.28

บางพ้ืนที่นา้ สง่ ไปไม่ถึงแปลงนาเพราะ -

อยู่บนท่ีสูง

ท่ีมา : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนงึ่ รายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาตอบ

4.3.3 ปญั หาเรื่องการผลติ และการตลาด มรี ายละเอยี ดดงั นี้

พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ จากการสารวจพบว่าพื้นท่ีทาการเกษตรเพียงหน่ึงครั้งต่อปีคิดเป็นร้อยละ

46.66 สาหรับเรื่องโรคพืชและแมลงระบาดเกษตรกรท่ีมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 25.90 ในครัวเรือนที่เลี้ยงปศุสัตว์คิด
เป็นร้อยละ 25.90 ไม่มีปัญหาเก่ียวกับการเล้ียงสัตว์ท้ังหมด ขาดแคลนแรงงานคนในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 7.23
ขาดแคลนแรงงานเครื่องจักรในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 1.20 ขาดแคลนปัจจัยการผลิตในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 0.60

คือ ขาดแคลนพนั ธุพ์ ืช มปี ญั หาดา้ นการตลาด/การจาหน่ายคดิ เป็นรอ้ ยละ 1.20 เนอื่ งจากราคาขายไมแ่ นน่ อน

พ้ืนที่ได้รับผลกระทบ พ้ืนท่ีทาการเกษตรเพียงหนึ่งครั้งต่อปีคิดเป็นร้อยละ 48.50 สาหรับเร่ืองโรค
พืชและแมลงระบาดเกษตรกรที่ปัญหาคิดเป็นร้อยละ 22.32 ในครัวเรือนที่เลี้ยงปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 27.47 ไม่มี
ปญั หาเก่ยี วกับการเลย้ี งสัตว์ทงั้ หมด ขาดแคลนแรงงานคนในท้องถิ่นคิดเป็นรอ้ ยละ 5.15 ขาดแคลนแรงงานเครื่องจักร
ในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 0.43 ในท้องถ่ินไม่มีการขาดแคลนปัจจัยการผลิตและไม่มีปัญหาด้านการตลาด/การ

จาหน่าย

รวมท้ังโครงการ พ้ืนที่ทาการเกษตรสามารถทาได้เพียงหนึ่งคร้ังต่อปีคิดเป็นร้อยละ 47.87 สาหรับ
เรอื่ งโรคพืชและแมลงระบาดเกษตรกรท่ีปัญหาคดิ เป็นร้อยละ 23.81 ในครัวเรอื นที่เล้ียงปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 26.82

ไม่มีปัญหาเก่ียวกับการเล้ียงสัตว์ทั้งหมด ขาดแคลนแรงงานคนในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 6.02 ขาดแคลนแรงงาน

เครื่องจักรในท้องถ่นิ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.75 ขาดแคลนปจั จัยการผลติ ในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 0.25 คือ ขาดแคลนพันธ์ุ

พืช มีปัญหาด้านการตลาด/การจาหน่ายคิดเปน็ รอ้ ยละ 0.50 เนือ่ งจากราคาขายไม่แน่นอน (ตารางท่ี 4.29)

ตารางที่ 4.29 ปัญหาด้านการผลิตและการตลาด

หนว่ ย : ร้อยละ

รายการ พนื้ ท่ไี ด้รับ พืน้ ที่ได้รับ รวมท้งั โครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์

๏ พื้นทท่ี าการเกษตรสามารถปลูกพืชได้ 100.00 100.00 100.00

- 1 คร้ัง/ปี 46.66 48.50 47.87

- มากกว่า 1 คร้งั /ปี 53.01 51.50 52.13

๏ ปญั หาโรคพชื และแมลง 100.00 100.00 100.00

- ไมม่ ีปัญหา 74.10 77.68 76.19

- มปี ัญหา 25.90 22.32 23.81

- 61 -

ตารางที่ 4.29 (ตอ่ ) ปัญหาดา้ นการผลิตและการตลาด

รายการ พื้นท่ีไดร้ ับ พื้นท่ีได้รบั หน่วย : ร้อยละ
ผลกระทบ ผลประโยชน์
รวมทง้ั โครงการ
๏ จานวนครัวเรือนที่เลีย้ งปศุสตั ว์ 100.00 100.00
72.53 100.00
- ไม่เล้ยี ง 74.10 27.47 73.18
27.47 26.82
- เลย้ี ง เรอ่ื งโรคสัตว์ 25.90 26.82
- -
ไมม่ ปี ญั หา 25.90 100.00 100.00
มปี ัญหา * - 94.85 93.98
6.02
๏ ขาดแคลนแรงงานคนในท้องถ่นิ 100.00 5.15 100.00
100.00 99.25
- ไมม่ ปี ัญหา 92.77 99.57 0.75
100.00
- มปี ัญหา 7.23 0.43 99.75
100.00 0.25
๏ ขาดแคลนแรงงานเครอ่ื งจักรในท้องถิน่ 100.00 100.00 100.00
99.50
- ไมม่ ปี ัญหา 98.80 - 0.50
100.00
- มีปญั หา 1.20 100.00

๏ ขาดแคลนปจั จัยการผลิตในท้องถน่ิ 100.00 -

- ไม่มปี ัญหา 99.40
- มปี ัญหา * เกี่ยวกบั พนั ธ์ุพืช 0.60

๏ ปญั หาด้านการตลาด/การจาหน่าย 100.00

- ไมม่ ีปัญหา 98.80

- มปี ญั หา เน่ืองจากราคาขายไม่แนน่ อน 1.20

ท่มี า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนงึ่ รายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

4.4 ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ น้า และการบรกิ ารของภาครฐั
4.4.1 การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้าดว้ ยไฟฟ้า
พื้นท่ีได้รับผลกระทบ การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้าด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ

48.19 และไม่เปน็ สมาชิกกลมุ่ สูบน้าด้วยไฟฟ้าคดิ เปน็ ร้อยละ 51.81
พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้าด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ

60.52 และไม่เปน็ สมาชิกกลุม่ สบู นา้ ด้วยไฟฟา้ คิดเป็นรอ้ ยละ 39.48
รวมท้ังโครงการ การเป็นสมาชิกกลุ่มสูบน้าด้วยไฟฟ้าของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ 55.39

และไมเ่ ปน็ สมาชิกกลุ่มสูบนา้ ด้วยไฟฟา้ คดิ เป็นร้อยละ 44.61 (ตารางท่ี 4.30)

ตารางท่ี 4.30 การเป็นสมาชกิ กลมุ่ สูบน้าดว้ ยไฟฟา้ ของครัวเรอื นเกษตร ณ วันสารวจ

หนว่ ย : รอ้ ยละ

รายการ พน้ื ทไี่ ดร้ บั พน้ื ทีไ่ ด้รบั รวมทั้งโครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์
๏ การเปน็ สมาชิกกลุ่มสบู น้าดว้ ยไฟฟ้า 100.00
- เป็น 100.00 100.00 55.39
- ไมเ่ ปน็ 44.61
48.19 60.52
51.81 39.48

ท่ีมา : จากการสารวจ

- 62 -

4.4.2 ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั หานา้ มาใชเ้ พ่ือการเกษตร
พ้ืนที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรไม่มีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพ่ือ

การเกษตรของครัวเรือน ปีเพาะปลูก 2557/58 คิดเป็นร้อยละ 28.92 และมีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพื่อ
การเกษตรคิดเป็นร้อยละ 71.08 โดยเฉลี่ยจานวน 2,911 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นค่าน้ามันในการสูบน้าเพื่อ
การเกษตรเทา่ กบั 1,259 บาท/ครวั เรือน ค่าไฟฟา้ ในการสูบน้าเพื่อการเกษตรเท่ากับ 1,573 บาท/ครัวเรือน ค่าซื้อน้า
ทาการเกษตร/สบู นา้ ด้วยไฟฟ้าเท่ากับ 70 บาท/ครวั เรือน และอืน่ ๆเทา่ กบั 9 บาท/ครวั เรือน

พ้นื ทไ่ี ด้รบั ผลประโยชน์ เกษตรกรไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการจัดหานา้ มาใช้เพ่ือการเกษตรของครัวเรือนคิด
เป็นร้อยละ 18.88 และมีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพ่ือการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 81.12 โดยเฉลี่ยจานวน 5,366
บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นคา่ นา้ มันในการสูบน้าเพ่ือการเกษตรเท่ากับ 4,038 บาท/ครัวเรือน ค่าไฟฟ้าในการสูบน้า
เพอ่ื การเกษตรเท่ากับ 1,095 บาท/ครัวเรอื น คา่ ซือ้ นา้ ทาการเกษตร/สบู น้าดว้ ยไฟฟ้าเท่ากับ 233 บาท/ครวั เรือน

รวมท้ังโครงการ เกษตรกรไม่มีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพ่ือการเกษตรของครัวเรือนคิดเป็น
ร้อยละ 23.06 และมีค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพ่ือการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 76.94 โดยเฉลี่ยจานวน 8,277
บาท/ครัวเรอื น โดยแยกเปน็ ค่าน้ามันในการสูบน้าเพื่อการเกษตรเท่ากับ 5,297 บาท/ครัวเรือน ค่าไฟฟ้าในการสูบน้า
เพ่ือการเกษตรเท่ากับ 2,668 บาท/ครัวเรือน ค่าซื้อน้าทาการเกษตร/สูบน้าด้วยไฟฟ้าเท่ากับ 303 บาท/ครัวเรือน
และอนื่ ๆเท่ากบั 9 บาท/ครัวเรอื น (ตารางท่ี 4.31)

ตารางท่ี 4.31 คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดหาน้ามาใช้เพื่อการเกษตรของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลกู 2557/58

รายการ พื้นท่ไี ด้รบั ผลกระทบ พ้นื ทีไ่ ดร้ ับผลประโยชน์ รวมทัง้ โครงการ
ร้อยละ บาท/คร.
๏ ค่าใช้จ่ายในการจดั หานา้ เพื่อการเกษตร ร้อยละ บาท/คร. ร้อยละ บาท/คร. 100.00 -

- ไม่มี 100.00 - 100.00 - 23.06 -
- มี ไดแ้ ก่ 76.94 8,277
28.92 - 18.88 -
คา่ น้ามันในการสบู น้าเพอื่ การเกษตร 71.08 2,911 81.12 5,366 5,297
คา่ ไฟฟ้าในการสูบน้าเพอื่ การเกษตร 2,668
1,259 4,038
ค่าซอ้ื นา้ ทาการเกษตร/สบู น้าดว้ ยไฟฟ้า 1,573 1,095 303
9
อื่นๆ 70 233
9 -
ที่มา : จากการสารวจ

4.4.3 การไดร้ บั การสนับสนนุ ปัจจยั การผลติ จากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พ้ืนที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากส่วน

ราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2557/58 คิดเป็นร้อยละ 90.96 สาหรับ
เกษตรกรได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตคิดเป็นร้อยละ 9.04 ปัจจัยที่ได้รับเป็นพันธ์ุปลา เมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์ไม้ผล
ไกพ่ ้ืนเมอื งสามสี และไกพ่ นั ธ์ุเน้ือ

พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากส่วนราชการในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2557/58 คิดเป็นร้อยละ 88.41 สาหรับเกษตรกรได้รับ
การสนับสนุนปัจจัยการผลิตคิดเป็นร้อยละ 11.59 ปัจจัยที่ได้รับเป็นเมล็ดพันธุ์ผัก พันธ์ุปลา อ้อยโรงงานพันธุ์ดี พันธ์ุ
ข้าว ไกพ่ ืน้ เมอื งสามสี เช้ือราบวิ เวอรเ์ รีย และไก่พนื้ เมือง

รวมทั้งโครงการ เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2557/58 คิดเป็นร้อยละ 89.47 สาหรับเกษตรกรได้รับการ
สนับสนุนปัจจัยการผลิตคิดเป็นร้อยละ 10.53 ปัจจัยท่ีได้รับเป็นเมล็ดพันธุ์ผัก พันธ์ุปลา อ้อยโรงงานพันธุ์ดี ไก่
พืน้ เมอื งสามสี พนั ธข์ุ า้ ว ไก่พันธุ์เนอื้ เชื้อราบวิ เวอรเ์ รยี และไกพ่ ้ืนเมือง (ตารางที่ 4.32)

- 63 -

ตารางที่ 4.32 การได้รบั การสนับสนุนปัจจยั การผลติ จากส่วนราชการในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ของครัวเรือนเกษตร ปเี พาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : รอ้ ยละ

รายการ พืน้ ทไี่ ดร้ บั พ้ืนทีไ่ ด้รับ รวมทงั้ โครงการ
๏ การได้รบั การสนบั สนนุ ปัจจยั การผลิตจากสว่ นราชการฯ ผลกระทบ ผลประโยชน์

100.00 100.00 100.00

- ไม่ได้รบั 90.96 88.41 89.47
- ไดร้ บั * 9.04 11.59 10.53

พนั ธ์ุไม้ผล 1.20 0.86 1.00

เมล็ดพนั ธ์ุผกั 2.42 3.43 3.02

ออ้ ยโรงงานพันธด์ุ ี - 1.72 1.00

เชื้อราบวิ เวอรเ์ รีย - 0.43 0.25

พนั ธุ์ขา้ ว - 0.86 0.50

พนั ธป์ุ ลา 3.02 3.00 3.01

ไกพ่ ้นื เมือง - 0.43 0.25

ไก่พน้ื เมืองสามสี 1.20 0.86 1.00

ไก่พันธ์เุ น้ือ 1.20 - 0.50

ทมี่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่งึ รายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาตอบ

4.4.4 การไดร้ ับการบริการจากส่วนราชการในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พ้ืนที่ได้รับผลกระทบ เกษตรกรไม่ได้รับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ ปีเพาะปลูก 2557/58 คิดเป็นร้อยละ 92.17 สาหรับเกษตรกรได้รับการบริการคิดเป็นร้อยละ 7.83
บรกิ ารทไ่ี ดร้ บั เปน็ ตรวจวเิ คราะหด์ นิ

พื้นท่ีได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรไม่ได้รับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์คิดเป็นร้อยละ 84.98 สาหรับเกษตรกรได้รับการบริการคิดเป็นร้อยละ 15.02 บริการท่ีได้รับเป็นตรวจ
วเิ คราะหด์ ิน

รวมทั้งโครงการ เกษตรกรไม่ได้รับการบริการจากส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คิดเป็นร้อยละ 87.97 สาหรับเกษตรกรได้รับการบริการคิดเป็นร้อยละ 12.03 บริการท่ีได้รับเป็นตรวจวิเคราะห์ดิน
(ตารางท่ี 4.33)

ตารางที่ 4.33 การไดร้ บั การบรกิ ารจากส่วนราชการในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ของครวั เรอื นเกษตร ปเี พาะปลกู 2557/58

หน่วย : รอ้ ยละ

รายการ พนื้ ที่ไดร้ บั พ้ืนทีไ่ ดร้ ับ รวมท้ังโครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์

๏ การไดร้ บั การบรกิ ารจากสว่ นราชการฯ 100.00 100.00 100.00

- ไมไ่ ด้รับ 92.17 84.98 87.97

- ได้รับ เรอ่ื งตรวจวิเคราะหด์ นิ 7.83 15.02 12.03

ทม่ี า : จากการสารวจ

- 64 -

4.4.5 ความเพียงพอของแหล่งเงนิ ทุน
พ้ืนที่ได้รับผลกระทบ แหล่งเงินทุนของครัวเรือนเกษตร ส่วนใหญ่เห็นว่าเพียงพอคิดเป็นร้อยละ

98.17 ท่ีเหลือเห็นว่าไม่เพียงพอคิดเป็นร้อยละ 1.83 สาเหตุจากต้นทุนการเกษตรสูงข้ึน มีหนี้สินมาก และค่าใช้จ่าย
ในครัวเรอื นสงู

พนื้ ทไี่ ดร้ ับผลประโยชน์ แหล่งเงนิ ทุนของครัวเรอื นเกษตร เกษตรกรทง้ั หมดเหน็ วา่ เพยี งพอ
รวมท้ังโครงการ แหล่งเงินทุนของครัวเรือนเกษตร ส่วนใหญ่เห็นว่าเพียงพอคิดเป็นร้อยละ 99.25 ท่ี
เหลือเห็นว่าไม่เพียงพอคิดเป็นร้อยละ 0.75 สาเหตุจากต้นทุนการเกษตรสูงขึ้น มีหนี้สินมาก และค่าใช้จ่ายใน
ครวั เรือนสงู (ตารางที่ 4.34)

ตารางที่ 4.34 ความเพียงพอของแหลง่ เงนิ ทุนของครัวเรือนเกษตร ปีเพาะปลูก 2557/58

หน่วย : รอ้ ยละ

รายการ พื้นท่ีไดร้ บั พน้ื ท่ีได้รับ รวมท้ังโครงการ
๏ ความเพยี งพอของแหล่งเงินทุน ผลกระทบ ผลประโยชน์ 100.00

100.00 100.00

- เพยี งพอ 98.17 100.00 99.25
- ไม่เพียงพอ * 1.83 - 0.75

ต้นทนุ การเกษตรสูงข้ึน 0.61 - 0.25

มีหนส้ี นิ มาก 0.61 - 0.25

ค่าใช้จา่ ยในครวั เรอื นสูง 0.61 - 0.25

ทีม่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนึ่งรายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

4.5 ความคาดหวัง และความสนใจของเกษตรกรภายหลังมีโครงการฯ
4.5.1 ความคาดหวังของเกษตรกรตอ่ การผลิตดา้ นการเกษตรภายหลังมโี ครงการฯ
พ้นื ทไี่ ด้รบั ผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่าเกิดประโยชน์มากคิดเป็นร้อย

ละ 38.18 รองลงมาเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 37.58 เห็นว่าเกิดประโยชน์ปานกลางคิดเป็นร้อยละ
16.97 และเห็นวา่ เกิดประโยชนน์ ้อยคิดเป็นรอ้ ยละ 7.27

พ้ืนที่ได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่าเกิดประโยชน์มากคิดเป็นร้อยละ 80.34
รองลงมาเหน็ ว่าเกิดประโยชนป์ านกลางคิดเปน็ รอ้ ยละ 11.11 เห็นว่าไม่เกิดประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 5.13 และเห็นว่า
เกดิ ประโยชน์น้อยคิดเปน็ ร้อยละ 3.42

รวมทั้งโครงการ เกษตรกรส่วนใหญเ่ ห็นว่าเกิดประโยชน์มากคดิ เปน็ ร้อยละ 62.91 รองลงมาเห็นว่า
ไมเ่ กดิ ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 18.55 เห็นว่าเกิดประโยชน์ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 13.53 และเห็นว่าเกิดประโยชน์
น้อยคิดเป็นรอ้ ยละ 5.01 (ตารางท่ี 4.35)

- 65 -

ตารางท่ี 4.35 ความคาดหวงั ของเกษตรกรตอ่ การผลิตดา้ นการเกษตรภายหลงั มโี ครงการฯ

รายการ พื้นทไี่ ด้รับ พน้ื ท่ไี ด้รบั รวมทงั้ โครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์ 100.00
๏ ความคาดหวงั ของเกษตรกรด้านการเกษตร 100.00
ภายหลังมีโครงการฯ 100.00
38.18
- เกิดประโยชน์มาก 16.97 80.34 62.91
- เกดิ ประโยชน์ปานกลาง 7.27 11.11 13.53
- เกดิ ประโยชนน์ ้อย 37.58 3.42 5.01
- ไมเ่ กดิ ประโยชน์ 5.13 18.55

ทม่ี า : จากการสารวจ

4.5.2 ความคาดหวังของเกษตรกรเกยี่ วกับการแก้ปญั หาเรื่องน้าเพื่อการเกษตรภายหลงั มโี ครงการฯ
พื้นที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่คาดหวังว่าจะ

สามารถชว่ ยแกป้ ญั หาเรอื่ งนา้ เพือ่ การเกษตรภายหลังมโี ครงการคดิ เป็นร้อยละ 62.42 โดยเหน็ วา่ จะช่วยแก้ปัญหามีน้า
เพยี งพอในการทาการเกษตรในฤดูแล้ง มีจานวนรอบการผลิตเพ่ิมขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้า ลดหรือบรรเทาภัย
จากน้าทว่ ม และขยายพน้ื ท่ที าการเกษตรเพิม่ ขน้ึ คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.15 46.67 29.70 18.79 และ 23.03 ตามลาดับ

พื้นทไ่ี ด้รบั ผลประโยชน์ เกษตรกรสว่ นใหญ่คาดหวงั ว่าสามารถชว่ ยแกป้ ญั หาเรื่องน้าเพ่ือการเกษตร
ภายหลังมีโครงการคิดเป็นร้อยละ 95.30 โดยเห็นว่าจะช่วยแก้ปัญหามีน้าเพียงพอในการทาการเกษตรในฤดูแล้ง มี
จานวนรอบการผลิตเพิม่ ข้นึ ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั หาน้า ลดหรือบรรเทาภัยจากน้าท่วม และขยายพ้ืนที่ทาการเกษตร
เพม่ิ ข้นึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.17 76.50 53.85 25.64 และ 38.46 ตามลาดับ

รวมทง้ั โครงการ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่คาดหวังว่าสามารถช่วย
แกป้ ัญหาเรอื่ งนา้ เพอื่ การเกษตรภายหลงั มีโครงการคดิ เป็นรอ้ ยละ 81.70 โดยเห็นว่าจะช่วยแก้ปัญหามีน้าเพียงพอใน
การทาการเกษตรในฤดูแล้ง มีจานวนรอบการผลิตเพิ่มข้ึน ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้า ลดหรือบรรเทาภัยจากน้า
ท่วม และขยายพ้ืนที่ทาการเกษตรเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 75.19 64.16 43.86 22.81 และ 32.08 ตามลาดับ
(ตารางท่ี 4.36)

ตารางท่ี 4.36 ความคาดหวังของเกษตรกรเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเรื่องน้าเพ่ือการเกษตร
ภายหลังมโี ครงการฯ

หนว่ ย : ร้อยละ

รายการ พน้ื ทไ่ี ดร้ บั พื้นทไ่ี ดร้ บั รวมทัง้ โครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์

๏ การแกป้ ัญหาเร่อื งน้าเพ่ือการเกษตรภายหลังมี 100.00 100.00 100.00
โครงการ

- ไม่ชว่ ยแกป้ ญั หา 37.58 4.70 18.30

- ช่วยแก้ปัญหา * 62.42 95.30 81.70

มนี า้ เพยี งพอในการทาการเกษตรในฤดูแล้ง 55.15 90.17 75.19

มจี านวนรอบการผลติ เพ่ิมขน้ึ 46.67 76.50 64.16

ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั หานา้ 29.70 53.85 43.86

ลดหรอื บรรเทาภยั จากน้าทว่ ม 18.79 25.64 22.81

ขยายพนื้ ท่ที าการเกษตรเพ่มิ ข้นึ 23.03 38.46 32.08

หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 คาตอบ

- 66 -

4.5.3 ความสนใจในการทากจิ กรรมเพมิ่ เติมภายหลงั มโี ครงการฯ
พ้นื ท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรมีความสนใจในการทากิจกรรมเพ่ิมเติมภายหลัง

มีโครงการคิดเป็นร้อยละ 29.09 ส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิตพืชคิดเป็นร้อยละ 22.42 ได้แก่ ให้ความช่วยเหลือ
เก่ียวกับพันธ์ุพืช(เน้นพันธ์ุข้าว)/ก่ิงพันธุ์ไม้ผล ลดต้นทุนการปลูกข้าว สนับสนุนปุ๋ยยาและน้ามันราคาถูก พืชผักสวน
ครัวและผักปลอดสารพิษ ไร่นาสวนผสม ปลูกพืชหมุนเวียน ถั่วเขียว และถัวเหลือง เป็นต้น ด้านประมงคิดเป็นร้อย
ละ 8.48 ไดแ้ ก่การเล้ียงปลาในบอ่ ดนิ เน้นปลากินพืช ด้านการจัดทาปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 6.67 มีความ
สนใจเรือ่ งการอบรมการจัดทาปุ๋ยอินทรยี ์/ชวี ภาพ ด้านปศุสตั วค์ ดิ เป็นรอ้ ยละ 5.45 ไดแ้ กก่ ารเลยี้ งไก่พื้นเมือง และโค
ด้านส่งเสริมอาชีพเสริมคิดเป็นร้อยละ 3.03 ส่งเสริมเรื่องการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ด้านป่าไม้คิดเป็นร้อยละ
1.21 มีความสนใจปลูกไม้เศรษฐกิจ ได้แก่ ไม้สัก ไม้ยางนา ไม้พยุง เป็นต้น และด้านการจัดทาบัญชีครัวเรือนคิดเป็น
ร้อยละ 1.21 มีความสนใจเร่ืองอบรมการจดั ทาบญั ชคี รวั เรือน

พ้ืนท่ีได้รบั ผลประโยชน์ เกษตรกรมีความสนใจในการทากิจกรรมเพิ่มเติมภายหลังมีโครงการคิดเป็น
ร้อยละ 49.15 ส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิตพืชคิดเป็นร้อยละ 39.32 ได้แก่ ช่วยเหลือเกี่ยวกับพันธุ์ข้าว/ไม้ผล ส่งเสริม
การลดต้นทุนการปลูกข้าว เห็ด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ปลูกพืชผักสวนครัว ไร่นาสวนผสม ด้านประมงคิดเป็นร้อยละ
11.54 ได้แก่ ส่งเสริมการเล้ียงปลากินพืช และการเลี้ยงกบ ด้านการจัดทาปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 9.40
ด้านปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 5.98 ได้แก่ ส่งเสริมการเลี้ยงโคเน้ือ กระบือ และไก่พื้นเมือง ด้านส่งเสริมอาชีพเสริมคิด
เป็นร้อยละ 3.85 ด้านการจัดทาบัญชีครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 1.28 และด้านป่าไม้คิดเป็นร้อยละ 0.43 ได้แก่ ประดู่
ไม้สกั ไมย้ างนา ไม้พยุง เป็นตน้

รวมทั้งโครงการ เกษตรกรมีความสนใจในการทากิจกรรมเพิ่มเติมภายหลังมีโครงการคิดเป็นร้อยละ
40.85 ส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิตพืชคิดเป็นร้อยละ 32.33 ด้านประมงคิดเป็นร้อยละ 10.28 ด้านการจัดทาปุ๋ย
อินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 8.27 ด้านปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 5.76 ด้านส่งเสริมอาชีพเสริมคิดเป็นร้อยละ 3.51
ดา้ นการจัดทาบญั ชคี รัวเรือนคดิ เปน็ ร้อยละ 1.25 และดา้ นป่าไมค้ ิดเปน็ รอ้ ยละ 0.75 (ตารางที่ 4.37)

ตารางที่ 4.37 ความสนใจในการทากิจกรรมเพ่มิ เติมภายหลังมโี ครงการฯ ปีเพาะปลกู 2557/58

หน่วย : รอ้ ยละ

รายการ พ้นื ทีไ่ ดร้ ับ พ้นื ท่ไี ดร้ ับ รวมทั้งโครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์
๏ ความสนใจในการทากจิ กรรมเพิม่ เติมภายหลงั มีโครงการฯ 100.00 100.00
- ไม่ตอ้ งการ 100.00 59.15
- ตอ้ งการ * 70.91 50.85 40.85
ด้านการผลติ พชื 29.09 49.15 32.33
ด้านประมง 22.42 39.32 10.28
ดา้ นการจดั ทาปยุ๋ อินทรยี ์/ชวี ภาพ 8.48 11.54 8.27
ดา้ นปศสุ ตั ว์ 6.67 9.40 5.76
ด้านปา่ ไม้ 5.45 5.98 0.75
ดา้ นการจดั ทาบญั ชคี รัวเรอื น 1.21 0.43 1.25
ด้านส่งเสรมิ อาชีพเสริม 1.21 1.28 3.51
3.03 3.85

ท่มี า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

- 67 -

4.6 ทัศนคติ ระดับความพึงพอใจ และผลกระทบท่ีมตี ่อโครงการ
4.6.1 ทศั นคติและระดบั ความพงึ พอใจของเกษตรกรทมี่ ีต่อโครงการ มรี ายละเอียดดงั น้ี
1) การจดั โครงการตรงกบั ความต้องการของเกษตรกร
พื้นท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าตรงกับความต้องการระดับมาก

คอ่ นขา้ งมาก คอ่ นขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คดิ เป็นร้อยละ 33.73 14.46 11.45 และ 40.36 ตามลาดับ
พื้นท่ไี ด้รบั ผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นวา่ ตรงกับความต้องการระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้าง

นอ้ ย และนอ้ ย คดิ เป็นรอ้ ยละ 76.39 16.74 4.29 และ 2.58 ตามลาดบั
รวมทั้งโครงการ เกษตรกรเห็นว่าตรงกับความต้องการระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย

และน้อย คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.64 15.79 7.27 และ 18.30 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.37)
2) ความเหมาะสมกบั พื้นท่ี
พื้นท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่ามีความเหมาะสมกับพื้นที่ในระดับ

มาก คอ่ นขา้ งมาก คอ่ นขา้ งน้อย และนอ้ ย คิดเป็นร้อยละ 31.33 13.25 13.25 และ 42.17 ตามลาดับ
พื้นท่ีได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่ามีความเหมาะสมกับพ้ืนที่ในระดับมาก ค่อนข้างมาก

คอ่ นข้างน้อย และนอ้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 70.39 18.45 6.44 และ 4.72 ตามลาดับ
รวมทัง้ โครงการ เกษตรกรเห็นว่ามีความเหมาะสมกับพ้ืนที่ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้าง

น้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 54.04 16.39 9.27 และ 20.30 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.37)
3) พน้ื ท่ที าการเกษตรเพมิ่ ขึ้น
พ้ืนทไ่ี ด้รับผลกระทบ จากการสารวจพบวา่ เกษตรกรเหน็ วา่ มีพ้ืนท่ีทาการเกษตรเพ่ิมขึ้นในระดับ

มาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คดิ เป็นร้อยละ 28.32 8.43 13.25 และ 50.00 ตามลาดบั
พ้นื ทีไ่ ด้รบั ผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่ามีพ้ืนท่ีทาการเกษตรเพ่ิมขึ้นในระดับมาก ค่อนข้างมาก

คอ่ นข้างนอ้ ย และน้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 58.81 9.01 8.15 และ 24.03 ตามลาดบั
รวมทั้งโครงการ เกษตรกรเห็นว่ามีพื้นที่ทาการเกษตรเพิ่มขึ้นในระดับมาก ค่อนข้างมาก

ค่อนข้างน้อย และน้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 46.11 8.77 10.28 และ 34.84 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.37)
4) รายได้ทางการเกษตรเพิ่มขึน้
พื้นท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่ามีรายได้ทางการเกษตรเพิ่มขึ้นใน

ระดบั มาก คอ่ นขา้ งมาก ค่อนขา้ งน้อย และนอ้ ย คิดเป็นร้อยละ 34.34 11.45 12.65 และ 41.56 ตามลาดบั
พ้ืนท่ีได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่ามีรายได้ทางการเกษตรเพ่ิมข้ึนในระดับมาก

ค่อนขา้ งมาก คอ่ นขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.67 20.60 6.87 และ 3.86 ตามลาดับ
รวมทั้งโครงการ เกษตรกรเห็นว่ามีรายได้ทางการเกษตรเพิ่มข้ึนในระดับมาก ค่อนข้างมาก

คอ่ นขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คิดเป็นร้อยละ 54.39 16.79 9.27 และ 19.55 ตามลาดบั (ตารางท่ี 4.37)
5) สามารถปลูกพืชฤดูแลง้ ได้
พื้นที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ในระดับ

มาก ค่อนข้างมาก ค่อนขา้ งน้อย และน้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.14 13.86 9.04 และ 40.96 ตามลาดบั
พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ในระดับมาก ค่อนข้างมาก

ค่อนขา้ งน้อย และน้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 75.10 16.31 6.01 และ 2.58 ตามลาดับ
รวมทั้งโครงการ เกษตรกรเห็นว่าสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้าง

น้อย และน้อย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.89 15.29 7.27 และ 18.55 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.37)
6) สามารถแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนา้ ในชว่ งฝนท้ิงช่วง

- 68 -

พ้ืนท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลน
นา้ ในช่วงฝนทิ้งช่วงในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 36.14 13.25 12.05 และ
38.56 ตามลาดับ

พ้ืนทไ่ี ดร้ บั ผลประโยชน์ เกษตรกรเหน็ ว่าสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในช่วงฝนท้ิงช่วง
ในระดบั มาก ค่อนขา้ งมาก คอ่ นข้างน้อย และน้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.53 16.31 5.58 และ 2.58 ตามลาดับ

รวมทงั้ โครงการ เกษตรกรเหน็ ว่าสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในช่วงฝนท้ิงช่วงในระดับ
มาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 59.15 15.04 8.27 และ 17.54 ตามลาดับ (ตารางที่
4.37)

7) บรรเทาปญั หาน้าท่วม
พื้นที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าสามารถบรรเทาปัญหาน้าท่วมใน

ระดบั มาก คอ่ นข้างมาก คอ่ นข้างน้อย และน้อย คิดเปน็ ร้อยละ 9.04 18.07 20.48 และ 52.41 ตามลาดบั
พ้ืนท่ีได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าสามารถบรรเทาปัญหาน้าท่วมในระดับมาก

ค่อนขา้ งมาก คอ่ นขา้ งน้อย และน้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 17.60 27.04 21.89 และ 33.47 ตามลาดบั
รวมท้ังโครงการ เกษตรกรเห็นว่าสามารถบรรเทาปัญหาน้าท่วมในระดับมาก ค่อนข้างมาก

ค่อนขา้ งน้อย และนอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.04 23.31 21.30 และ 41.35 ตามลาดบั (ตารางที่ 4.37)
8) การลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมี
พ้ืนท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมีใน

ระดับมาก คอ่ นข้างมาก ค่อนขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 6.63 11.45 27.71 และ 54.21 ตามลาดับ
พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมีในระดับมาก

ค่อนขา้ งมาก ค่อนข้างน้อย และนอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.02 33.90 27.90 และ 26.18 ตามลาดับ
รวมท้ังโครงการ เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมีในระดับมาก ค่อนข้างมาก

คอ่ นข้างน้อย และนอ้ ย คิดเป็นร้อยละ 9.77 24.56 27.82 และ 37.85 ตามลาดับ (ตารางที่ 4.37)
9) ความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการ
พื้นที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าความเหมาะสมของเกษตรกรต่อ

โครงการในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 25.90 16.87 15.06 และ 42.17
ตามลาดบั

พน้ื ทไี่ ดร้ ับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการในระดับมาก
ค่อนข้างมาก คอ่ นข้างน้อย และน้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.95 18.45 9.44 และ 11.16 ตามลาดับ

รวมท้ังโครงการ เกษตรกรเห็นว่าความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการในระดับมาก
ค่อนข้างมาก ค่อนขา้ งนอ้ ย และนอ้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 46.37 17.79 11.78 และ 24.06 ตามลาดับ (ตารางที่ 4.37)

10) โครงการจดั รปู ท่ีดนิ
พื้นที่ได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่า เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปที่ดินมีความ

สนใจเข้ารว่ มโครงการคิดเปน็ รอ้ ยละ 17.47 เน่อื งจากต้องการใหพ้ ้ืนท่ีนาเป็นระเบียบเรียบร้อย การคมนาคมสะดวก
มนี ้าใช้อย่างทว่ั ถึงและเพียงพอ สาหรับเกษตรกรท่ีไม่สนใจในโครงการคิดเป็นร้อยละ 82.53 เนื่องจากพื้นท่ีนามีน้อย
พน้ื ท่ีไมม่ ปี ัญหา พืน้ ที่โดนคลองชลประทาน และไม่ตอ้ งการสูญเสยี ทด่ี นิ ในการจดั รปู ท่ีดิน

พ้ืนที่ได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปท่ีดินมีความสนใจเข้าร่วม
โครงการคิดเปน็ รอ้ ยละ 15.88 เนื่องจากต้องการให้พื้นท่ีนาเป็นระเบียบเรียบร้อย น้าไหลท่ัวถึงและเพียงพอ สาหรับ
เกษตรกรท่ีไม่สนใจในโครงการคิดเป็นร้อยละ 84.12 เน่ืองจากพื้นที่ไม่มีปัญหาดีอยู่แล้ว และไม่ต้องการเสียท่ีดินใน
การจัดรปู ทดี่ นิ

- 69 -

รวมทงั้ โครงการ เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปที่ดินมีความสนใจเข้าร่วมโครงการคิดเป็น
รอ้ ยละ 16.54 และไมส่ นใจในโครงการคิดเป็นร้อยละ 83.46 (ตารางท่ี 4.38)

ตารางที่ 4.38 ทัศนคตแิ ละระดบั ความพงึ พอใจของเกษตรกรทีม่ ีตอ่ โครงการ

หนว่ ย : ร้อยละ

รายการ พ้นื ท่ีได้รบั พ้ืนทไี่ ด้รับ รวมทั้งโครงการ
ผลกระทบ ผลประโยชน์

๏ การจัดโครงการตรงกับความต้องการของเกษตรกร 100.00 100.00 100.00

- ระดบั มาก 33.73 76.39 58.64

- คอ่ นข้างมาก 14.46 16.74 15.79

- คอ่ นขา้ งนอ้ ย 11.45 4.29 7.27

- น้อย 40.36 2.58 18.30

๏ มีความเหมาะสมกับพืน้ ท่ี 100.00 100.00 100.00

- ระดับมาก 31.33 70.39 54.04

- ค่อนข้างมาก 13.25 18.45 16.39

- คอ่ นข้างนอ้ ย 13.25 6.44 9.27

- นอ้ ย 42.17 4.72 20.30

๏ มีพืน้ ท่ีทาการเกษตรเพ่มิ ข้ึน 100.00 100.00 100.00

- ระดบั มาก 28.32 58.81 46.11

- คอ่ นขา้ งมาก 8.43 9.01 8.77

- ค่อนข้างน้อย 13.25 8.15 10.28

- น้อย 50.00 24.03 34.84

๏ เกษตรกรมรี ายได้ทางการเกษตรเพม่ิ ขึน้ 100.00 100.00 100.00

- ระดบั มาก 34.34 68.67 54.39

- ค่อนข้างมาก 11.45 20.60 16.79

- ค่อนข้างนอ้ ย 12.65 6.87 9.27

- น้อย 41.56 3.86 19.55

๏ สามารถปลกู พืชฤดแู ลง้ ได้ 100.00 100.00 100.00

- ระดับมาก 36.14 75.10 58.89

- ค่อนข้างมาก 13.86 16.31 15.29

- คอ่ นข้างน้อย 9.04 6.01 7.27

- นอ้ ย 40.96 2.58 18.55

๏ สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนา้ ในชว่ งฝนทง้ิ ช่วง 100.00 100.00 100.00

- ระดบั มาก 36.14 75.53 59.15

- คอ่ นข้างมาก 13.25 16.31 15.04

- คอ่ นข้างนอ้ ย 12.05 5.58 8.27

- นอ้ ย 38.56 2.58 17.54

- 70 -

ตารางที่ 4.38 (ตอ่ ) ทศั นคติและระดบั ความพงึ พอใจของเกษตรกรทม่ี ตี ่อโครงการ

หนว่ ย : รอ้ ยละ

รายการ พ้ืนท่ไี ด้รบั พน้ื ทไ่ี ดร้ บั รวมท้ังโครงการ
๏ บรรเทาปัญหานา้ ทว่ ม ผลกระทบ ผลประโยชน์ 100.00

100.00 100.00

- ระดับมาก 9.04 17.60 14.04

- ค่อนขา้ งมาก 18.07 27.04 23.31

- ค่อนข้างนอ้ ย 20.48 21.89 21.30

- นอ้ ย 52.41 33.47 41.35

๏ การลดใช้ป๋ยุ เคม/ี สารเคมี 100.00 100.00 100.00

- ระดับมาก 6.63 12.02 9.77

- คอ่ นขา้ งมาก 11.45 33.90 24.56

- คอ่ นขา้ งนอ้ ย 27.71 27.90 27.82

- น้อย 54.21 26.18 37.85

๏ ความเหมาะสมของเกษตรตอ่ โครงการ 100.00 100.00 100.00

- ระดบั มาก 25.90 60.95 46.37

- คอ่ นข้างมาก 16.87 18.45 17.79

- คอ่ นขา้ งนอ้ ย 15.06 9.44 11.78

- น้อย 42.17 11.16 24.06

๏ ถ้ามโี ครงการจดั รูปท่ดี นิ ทา่ นสนใจเข้าร่วมโครงการ 100.00 100.00 100.00
หรือไม่ 17.47 15.88 16.54

- สนใจ

- ไม่สนใจ 82.53 84.12 83.46

ที่มา : จากการสารวจ

4.6.2 ทัศนคติของเกษตรกรในดา้ นผลกระทบจากโครงการฯ มีรายละเอยี ดดงั นี้
1) ผลกระทบทางบวกจากโครงการ
พื้นท่ไี ดร้ ับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจากโครงการ

คิดเป็นร้อยละ 48.81 ส่วนที่เห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 51.19 เกี่ยวกับการบรรเทา
ปญั หาการขาดแคลนนา้ ในช่วงฤดูฝน/ฝนท้ิงช่วงคิดเปน็ ร้อยละ 46.39 สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อยละ 45.18
มีพ้ืนท่กี ารเกษตรเพิ่มขนึ้ คดิ เปน็ ร้อยละ 29.52 และบรรเทาปัญหาน้าทว่ มคิดเป็นรอ้ ยละ 8.43

พ้ืนที่ได้รับผลประโยชน์ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจาก
โครงการคิดเป็นร้อยละ 6.01 ส่วนท่ีเห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 93.99 เก่ียวกับการ
บรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้าในช่วงฤดูฝน/ฝนท้ิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 88.41 สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อย
ละ 84.12 มีพื้นท่ีการเกษตรเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 55.36 และบรรเทาปญั หานา้ ทว่ มคดิ เป็นรอ้ ยละ 12.88

รวมท้ังโครงการ เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 23.81
ส่วนที่เห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 76.18 เก่ียวกับการบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้า
ในช่วงฤดูฝน/ฝนทิ้งช่วงคิดเป็นร้อยละ 70.93 สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อยละ 67.92 มีพ้ืนท่ีการเกษตร
เพม่ิ ขึน้ คดิ เป็นร้อยละ 44.61 และบรรเทาปัญหานา้ ทว่ มคิดเปน็ รอ้ ยละ 11.03 (ตารางท่ี 4.38)

- 71 -

2) ผลกระทบทางลบจากโครงการ
พื้นท่ีได้รับผลกระทบ จากการสารวจพบว่าเกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางลบจากโครงการ

คิดเป็นร้อยละ 10.24 ส่วนที่เห็นว่ามีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 89.76 เก่ียวกับการสูญเสียพ้ืนท่ี
ทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 87.35 ถูกเวนคืนท่ีดินเพ่ือก่อสร้างคลองคิดเป็นร้อยละ 79.52 และอัตราค่าเช่าท่ีดินมี
แนวโนม้ เพม่ิ สงู ขึน้ คิดเปน็ ร้อยละ 16.87

พ้ืนท่ีได้รับผลประโยชน์ เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ
59.66 ส่วนท่ีเห็นว่ามีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 40.34 เกี่ยวกับอัตราค่าเช่าที่ดินมีแนวโน้มเพ่ิม
สงู ขึ้นคดิ เป็นร้อยละ 32.62 สูญเสียพนื้ ที่ทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 7.73 และถูกเวนคืนที่ดินเพื่อก่อสร้างคลองคิด
เป็นร้อยละ 6.44

รวมทั้งโครงการ เกษตรกรเห็นว่าไมม่ ีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเปน็ ร้อยละ 39.10 ส่วน
ที่เห็นว่ามีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 60.90 เก่ียวกับการสูญเสียพ้ืนท่ีทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ
40.85 ถูกเวนคนื ที่ดินเพื่อก่อสร้างคลองคิดเป็นร้อยละ 36.84 และอัตราค่าเช่าท่ีดินมีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึนคิดเป็นร้อย
ละ 26.07 (ตารางที่ 4.39)

ตารางท่ี 4.39 ทัศนคติของเกษตรกรในดา้ นผลกระทบจากโครงการฯ

รายการ พนื้ ท่ไี ดร้ ับ พื้นทไี่ ดร้ บั หนว่ ย : รอ้ ยละ
ผลกระทบ ผลประโยชน์
๏ ผลกระทบทางบวกจากโครงการ * รวมทัง้ โครงการ
- ไมม่ ี 100.00 100.00
- มี ** 48.81 6.01 100.00
มีพื้นที่การเกษตรเพ่มิ ขึน้ 51.19 93.99 23.81
สามารถปลูกพืชฤดแู ลง้ ได้ 29.52 55.36 76.18
บรรเทาปญั หาการขาดแคลนน้าในชว่ ง 45.18 84.12 44.61
ฤดูฝน/ฝนทงิ้ ช่วง 46.39 88.41 67.92
บรรเทาปัญหานา้ ท่วม 70.93
8.43 12.88
๏ ผลกระทบทางลบจากโครงการ * 100.00 100.00 11.03
- ไม่มี 10.24 59.66 100.00
- มี ** 89.76 40.34 39.10
สญู เสียพืน้ ทีท่ าการเกษตร 87.35 60.90
ถูกเวนคืนท่ีดินเพื่อก่อสรา้ งคลอง 79.52 7.73 40.85
อตั ราค่าเชา่ ทีด่ นิ มแี นวโน้มเพ่ิมสงู ขึ้น 16.87 6.44 36.84
32.62 26.07

ท่ีมา : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหนึ่งรายสามารถตอบผลกระทบไดท้ ้ังด้านบวกและดา้ นลบ

** คือ เกษตรกรหน่ึงรายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

4.7 ข้อคดิ เห็น และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของเกษตรกร
จากการสัมภาษณ์เกษตรกรท่ีทาการเกษตรในพื้นท่ีโครงการ ในปีเพาะปลูก 2557/58 (1 พฤษภาคม 2557

– 30 เมษายน 2558) เก่ียวกับข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมของโครงการเขื่อนทดน้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
โดยมีรายละเอยี ดดังน้คี อื

- 72 -

พ้ืนท่ีได้รับผลกระทบ มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมคือ ต้องการให้เร่งดาเนินการสร้างคลองเพื่อให้
ทันใช้น้าในฤดูกาลต่อไปคิดเป็นร้อยละ 30.30 ไม่ต้องการคลองส่งน้าในโครงการคิดเป็นร้อยละ 4.85 เบ่ียงแนว
คลองให้พ้นจากพื้นที่ทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 2.42 ขาดการประชาสัมพันธ์คิดเป็นร้อยละ 1.21 สนับสนุนพันธุ์
ข้าวคิดเปน็ ร้อยละ 1.82 แนวคลองตา่ ทาให้ใช้น้าเพ่อื การเกษตรไมส่ ะดวกคิดเป็นร้อยละ 1.82 ดูแลระบบระบายน้า
ให้ไหลสะดวกและท่วั ถงึ คดิ เป็นร้อยละ 1.21 ให้คิดค่าท่ีดินเวนคืนอย่างเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 0.61 ช่วยพยุงราคา
ผลผลติ ทีต่ กต่าคิดเป็นร้อยละ 0.61 และส่งเสริมอาชพี เสริมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.61

พื้นที่ได้รับผลประโยชน์ มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมคือ ให้คิดค่าท่ีดินเวนคืนอย่างเหมาะสมคิด
เป็นร้อยละ 11.54 เบ่ียงแนวคลองให้พ้นจากพื้นที่ทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 8.55 ไม่ต้องการคลองส่งน้าใน
โครงการคดิ เป็นรอ้ ยละ 5.56 ตอ้ งการให้เร่งดาเนนิ การสร้างคลองเพือ่ ให้ทันใช้น้าในฤดูกาลต่อไปคิดเป็นร้อยละ 4.70
ขาดการประชาสัมพันธ์คิดเป็นร้อยละ 1.71 สนับสนุนพันธุ์ข้าวคิดเป็นร้อยละ 0.43 แนวคลองต่าทาให้ใช้น้าเพ่ือ
การเกษตรไม่สะดวกคิดเป็นร้อยละ 0.43 ช่วยพยุงราคาผลผลิตท่ีตกต่าคิดเป็นร้อยละ 0.43 หาพ้ืนที่ทาการเกษตร
ทดแทนพ้ืนทถ่ี กู เวนคืนคิดเปน็ รอ้ ยละ 0.43 และลดขนาดคลองส่งน้าคดิ เป็นร้อยละ 0.43

รวมทั้งโครงการ มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมคือ ต้องการให้เร่งดาเนินการสร้างคลองเพื่อให้ทันใช้
น้าในฤดูกาลต่อไปคิดเป็นร้อยละ 15.29 ให้คิดค่าท่ีดินเวนคืนอย่างเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 7.02 เบ่ียงแนวคลอง
ให้พ้นจากพื้นท่ีทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 6.02 ไม่ต้องการคลองส่งน้าในโครงการคิดเป็นร้อยละ 5.26 ขาดการ
ประชาสัมพนั ธ์คดิ เปน็ ร้อยละ 1.50 สนบั สนนุ พนั ธข์ุ า้ วคดิ เปน็ ร้อยละ 1.00 แนวคลองต่าทาให้ใช้น้าเพื่อการเกษตร
ไม่สะดวกคิดเป็นร้อยละ 1.00 ดูแลระบบระบายน้าให้ไหลสะดวกและทั่วถึงคิดเป็นร้อยละ 0.50 ช่วยพยุงราคา
ผลผลิตที่ตกต่าคิดเป็นร้อยละ 0.50 หาพื้นท่ีทาการเกษตรทดแทนพ้ืนท่ีถูกเวนคืนคิดเป็นร้อยละ 0.25 ลดขนาด
คลองส่งน้าคิดเปน็ รอ้ ยละ 0.25 และสง่ เสริมอาชีพเสริมคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.25 (ตารางท่ี 4.40)

ตารางที่ 4.40 ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพมิ่ เติมของเกษตรกร ปเี พาะปลูก 255

ขอ้ คดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ * พืน้ ท่ีไดร้ ับผลกระทบ

เสนอแนะ ไมเ่ สนอแนะ

- เรง่ ดาเนนิ การสรา้ งคลองเพอ่ื ใหท้ ันใชน้ า้ ในฤดูกาลต่อไป 30.30 69.70 1

- ใหค้ ิดคา่ ท่ีดนิ เวนคืนอยา่ งเหมาะสม 0.61 99.39 1

- เบี่ยงแนวคลองให้พ้นจากพ้ืนทีท่ าการเกษตร 2.42 97.58 1
- ไมต่ ้องการคลองสง่ นา้ ในโครงการ 4.85 95.15 1
- ขาดการประชาสมั พนั ธ์ 1.21 98.79 1

- สนบั สนนุ พันธุข์ ้าว 1.82 98.18 1

- แนวคลองตา่ ทาใหใ้ ชน้ ้าเพื่อการเกษตรไม่สะดวก 1.82 98.18 1

- ดูแลระบบระบายนา้ ให้ไหลสะดวกและทั่วถงึ 1.21 98.79 1

- ช่วยพยงุ ราคาผลผลิตทีต่ กต่า 0.61 99.39 1
- หาพื้นท่ที าการเกษตรทดแทนพนื้ ท่ีถูกเวนคืน --

- ลดขนาดคลองส่งน้า --

- ส่งเสริมอาชีพเสรมิ 0.61 99.39 1

ทมี่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คอื เกษตรกรหน่งึ รายสามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ

57/58 พน้ื ท่ีไดร้ ับผลประโยชน์ หน่วย : ร้อยละ
เสนอแนะ ไมเ่ สนอแนะ รวม
รวม รวมทั้งโครงการ
100.00 4.70 95.30 100.00 เสนอแนะ ไมเ่ สนอแนะ รวม
100.00 11.54 88.46 100.00 15.29 84.71 100.00
100.00 8.55 91.45 100.00
100.00 5.56 94.44 100.00 7.02 92.98 100.00
100.00 1.71 98.29 100.00 6.02 93.98 100.00
100.00 0.43 99.57 100.00 5.26 94.74 100.00
100.00 0.43 99.57 100.00 1.50 98.50 100.00
100.00 1.00 99.00 100.00
100.00 --- 1.00 99.00 100.00
0.43 99.57 100.00 0.50 99.50 100.00
- 0.43 99.57 100.00 0.50 99.50 100.00
- 0.43 99.57 100.00 0.25 99.75 100.00
100.00 0.25 99.75 100.00
--- 0.25 99.75 100.00

บทท่ี 5
สรุป และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ

จากการสารวจและจัดเก็บข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรตามแผนปฏิบัติการป้องกัน
แก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อมและแผนติดตามตรวจผลกระทบส่ิงแวดล้อม โครงการเขื่อนทดนาผาจุก จังหวัด
อตุ รดิตถ์ ปเี พาะปลูก 2557/58 (1 พฤษภาคม 2557 – 30 เมษายน 2558) โดยสุม่ ตัวอย่างเกษตรกรจานวน 400
ราย(ฝงั่ ขวาเขือ่ นทดนาผาจุก ระยะคลองส่งนาชลประทาน 60 กิโลเมตร) มรี ายละเอยี ดดังนคี ือ

ส่วนใหญ่หัวหน้าครัวเรือนเกษตรเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 79.20 และเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ
20.80 โดยอายุเฉล่ียเท่ากับ 57.44 ปี อายุเฉล่ียของหัวหน้าครัวเรือนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 56–65 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 36.09 รองลงมาช่วงอายุ 46–55 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.33 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่เรียนจบชัน
ประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 55.88 รองลงมาจบชันประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ
18.05 มัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) มีอาชีพหลักคิดเป็นร้อยละ 95.49 โดยประกอบอาชีพการเพาะปลูกพืชคิด
เป็นร้อยละ 88.98 มีอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 44.86 การเป็นสมาชิกกลุ่มฯคิดเป็นร้อยละ 85.46 โดยเป็น
สมาชิกธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)คิดเป็นร้อยละ 58.90 กลุ่มสหกรณ์คิดเป็นร้อยละ
32.58

สมาชิกในครัวเรือนเกษตรเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 61.91 มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 35.75 ปี ส่วนอายุเฉล่ีย
ของสมาชกิ ในครัวเรอื นเกษตรสว่ นใหญ่อยใู่ นชว่ งอายุต่ากว่า 30 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.79 รองลงมาชว่ งอายุ 30 –
45 ปี คดิ เป็นร้อยละ 21.38 ระดบั การศึกษาสว่ นใหญ่เรียนจบชันประถมศึกษาตอนต้น(ป.4)คิดเป็นร้อยละ 28.28
รองลงมาจบชันประถมศึกษาตอนปลาย(ป.6,7)คิดเป็นร้อยละ 16.56 อาชีพสมาชิกในครัวเรือนเกษตรส่วนใหญ่มี
อาชีพคดิ เปน็ ร้อยละ 64.34

จานวนสมาชิกทังหมดในครัวเรือนเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 คน/ครัวเรือน โดยเป็นเพศชายเฉล่ียเท่ากับ 1.82
คน/ครัวเรือน และเปน็ เพศหญิงเฉลย่ี เทา่ กบั 1.88 คน/ครัวเรือน

พืนท่ีการเกษตรปีเพาะปลูก 2557/58 โดยเฉล่ีย 32.67 ไร่/ครัวเรือน ส่วนใหญ่จะเป็นพืนที่ทานาปี/นา
ปรังจานวน 24.25 ไร่/ครัวเรือน รองลงมาเป็นท่ีพืชไร่จานวน 6.80 ไร่/ครัวเรือน ที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้นจานวน 1.10
ไร่/ครัวเรือน ที่พืชผักจานวน 0.18 ไร่/ครัวเรือน ที่เลียงสัตว์(คอก)จานวน 0.14 ไร่/ครัวเรือน ท่ีบ่อเลียงปลา
จานวน 0.10 ไร่/ครัวเรอื น สว่ นพืนที่ไร่นาสวนผสมมีเพยี งเลก็ น้อย การใช้ท่ีดินจริงในการประกอบการเกษตรเฉลี่ย
44.06 ไร่/ครัวเรือน สว่ นใหญ่จะเปน็ พืนทีท่ านาปี/นาปรงั จานวน 35.82 ไร่/ครัวเรือน รองลงมาเป็นที่พืชไร่จานวน
6.72 ไร่/ครัวเรือน ท่ีไม้ผล/ไม้ยืนต้นจานวน 0.78 ไร่/ครัวเรือน ท่ีพืชผักจานวน 0.40 ไร่/ครัวเรือน ท่ีเลียงสัตว์
(คอก)จานวน 0.14 ไร่/ครัวเรือน และท่ีบ่อเลียงปลาจานวน 0.10 ไร่/ครัวเรือน และประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินคิด
เป็นร้อยละ 134.87 มีพืนที่ที่อยู่อาศัย 0.89 ไร่/ครัวเรือน และพืนที่การเกษตรเฉล่ีย 4.73 ผืน/ครัวเรือน ถ้า
พจิ ารณาตามลกั ษณะการถือครองที่ดินจานวน 44.05 ไร่/ครัวเรือน แยกเป็นท่ีดินของตนเอง ท่ีดินเช่า และท่ีดิน
ได้ทาฟรี เนือทป่ี ระมาณ 27.12 15.29 และ 1.64 ไร่/ครัวเรือน พบว่าพืนท่ีส่วนใหญ่อยู่ในโครงการสูบนาด้วย
ไฟฟ้าจานวน 22.36 ไร่/ครัวเรือน และพืนท่ีการเกษตรอาศัยนาฝนมีจานวน 12.29 ไร่/ครัวเรือน ถ้าแยกตาม
ลักษณะการใชท้ ่ดี นิ ในการเกษตร เปน็ ท่ีนา ทไ่ี ร่ ทไ่ี ม้ผล/ไมย้ ืนต้น ทป่ี ลกู ผกั ทเ่ี ลยี งสตั ว์(คอก) ที่บ่อปลา และท่ี
รกรา้ งว่างเปลา่ เนอื ทีป่ ระมาณ 34.47 7.85 1.27 0.19 0.16 0.08 และ 0.03 ไร่/ครัวเรอื น ตามลาดับ

ดา้ นหนีสิน มเี กษตรกรที่ไม่เป็นหนีหรือไม่ได้กู้ยืมเงินคิดเป็นร้อยละ 26.32 ส่วนท่ีเป็นหนีหรือกู้ยืมเงินอยู่
ณ 30 เมษายน 2558 คิดเป็นร้อยละ 73.68 โดยแหล่งกู้ยืมเงินของเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นแหล่งกู้ยืมในระบบคิด
เป็นร้อยละ 72.93 และหนีนอกระบบคิดเป็นร้อยละ 5.51 จานวนหนีสินของเกษตรกรทังหมดเฉลี่ย 242,317

75

บาท/ครัวเรือน โดยเป็นหนีสินในระบบจานวน 237,324 บาท/ครัวเรือน และหนีสินนอกระบบจานวน 4,993
บาท/ครัวเรือน

รายได้เงินสดการเกษตร รวมทังหมดเท่ากับ 255,568 บาท/ครัวเรือน คือ 1) ด้านพืช จานวน
245,160 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นรายได้เงินสดจากการปลูกข้าวเจ้านาปีจานวน 103,391 บาท รองลงมา
เป็นรายได้จากการปลูกข้าวเจ้านาปรังจานวน 51,108 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2-5 จานวน 49,060 บาท อ้อย
โรงงานปีท่ี 1 จานวน 19,103 บาท เป็นต้น 2) ด้านปศุสัตว์ จานวน 9,711 บาท/ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็น
รายได้เงินสดจากการเลียงสุกรจานวน 5,711 บาท รองลงมาเป็นรายได้จากการเลียงโคจานวน 3,333 บาท และ
รายได้จากการเลียงไก่พืนเมือง/ไก่บ้านจานวน 322 บาท เป็นต้น 3) ด้านสัตว์น้า จานวน 697 บาท/ครัวเรือน
เป็นรายได้เงินสดจากการเลียงปลานาจืดจานวน 643 บาท และการเลียงกบจานวน 54 บาท รายจ่ายเงินสด
การเกษตร รวมทังหมดเทา่ กบั 181,421 บาท/ครัวเรือน คือ 1) ด้านพืช จานวน 173,109 บาท/ครัวเรือน โดย
แยกเป็นค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย/ยา ค่านามัน ค่าจ้างแรงงาน และอ่ืน ๆ จานวน 12,088 46,440 10,292 54,880
และ 49,409 บาท/ครัวเรือน ตามลาดับ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายเงินสดจากการปลูกข้าวเจ้านาปีจานวน 81,947
บาท รองลงมาเปน็ รายจา่ ยจากการปลูกข้าวเจ้านาปรังจานวน 41,125 บาท อ้อยโรงงานปีท่ี 2-5 จานวน 25,463
บาท อ้อยโรงงานปีที่ 1 จานวน 13,218 บาท เป็นต้น 2) ด้านปศุสัตว์ จานวน 7,784 บาท/ครัวเรือน โดยแยก
เป็นค่าพันธ์ุ ค่าอาหาร/ยา ค่าจ้างแรงงาน และอ่ืน ๆ จานวน 2,939 4,040 442 และ 363 บาท/ครัวเรือน
ตามลาดับ ส่วนใหญ่เปน็ รายจ่ายเงนิ สดจากการเลยี งสกุ รจานวน 4,438 บาท รองลงมาเปน็ รายจ่ายจากการเลียงโค
จานวน 3,095 บาท และรายจา่ ยจากการเลียงไก่พืนเมือง/ไกบ่ า้ นจานวน 65 บาท เปน็ ตน้ 3) ดา้ นสตั ว์น้า จานวน
528 บาท/ครวั เรอื น โดยแยกเป็นคา่ พันธ์ุ คา่ อาหาร/ยา คา่ จา้ งแรงงาน และอ่ืน ๆ จานวน 224 291 12 และ
1 บาท/ครัวเรือน ตามลาดับ เป็นรายจ่ายเงินสดจากการเลียงปลานาจืดจานวน 500 บาท/ครัวเรือน และการ
เลยี งกบจานวน 28 บาท/ครัวเรือน รายได้เงินสดสุทธิเกษตร รวมทังหมดเท่ากับ 74,147 บาท/ครัวเรือน เป็น
ด้านพืช ด้านปศุสัตว์ ด้านสัตว์นา และอื่นๆ เท่ากับ 72,051 1,927 169 และ -13,770 บาท/ครัวเรือน
ตามลาดับ มลู คา่ ผลิตผลทีน่ า้ มาบรโิ ภคในครวั เรือน รวมทงั หมดเท่ากับ 17,016 บาท/ครัวเรือน คือ 1) ด้านพืช
จานวน 15,196 บาท/ครวั เรอื น 2) ดา้ นปศสุ ตั ว์ จานวน 251 บาท/ครัวเรือน 3) ด้านสัตว์น้า จานวน 190 บาท/
ครัวเรือน 5) รายได้สุทธิเกษตร รวมทังหมดเท่ากับ 91,163 บาท/ครัวเรือน โดยแยกเป็นด้านพืช ด้านปศุสัตว์
ด้านสัตว์นา และอ่ืนๆ เท่ากับ 87,247 3,763 153 และ -13,770 บาท/ครัวเรือน ตามลาดับ 6) รายได้เงินสด
นอกเกษตร รวมทังหมดเท่ากับ 144,698 บาท/ครัวเรือน 7) รายจ่ายเงินสดนอกเกษตร รวมทังหมดเท่ากับ
136,733 บาท/ครัวเรือน 8) รายได้เงินสดคงเหลือเพ่ือใช้จ่ายในครัวเรือน รวมทังหมดเท่ากับ 205,075 บาท/
ครัวเรือน 9) เงินออม เท่ากับ 68,342 บาท/ครัวเรือน 10) เงินออมสุทธิ เท่ากับ 85,358 บาท/ครัวเรือน
11) รายไดเ้ งินสดสุทธิเกษตรเหลือจากการใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น ติดลบเท่ากบั 76,356 บาท/ครวั เรือน

เกษตรกรมปี ญั หาเรือ่ งตา่ งๆ ดังนคี อื เร่ืองดิน คอื ดินและสภาพพืนท่ีทาการเกษตรมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ
9.02 เน่ืองจากสภาพพืนที่การเกษตรเป็นดินปนทรายคิดเป็นร้อยละ 3.26 ดินแข็งคิดเป็นร้อยละ 2.51 สภาพ
พืนทีเ่ ป็นทีล่ ่มุ นาคดิ เปน็ ร้อยละ 2.26 และเป็นดินลูกรัง/หินกรวดคิดเป็นร้อยละ 1.25 คุณสมบัติของดินมีปัญหา
คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.26 เนื่องจากสภาพดินขาดธาตุอาหารคิดเป็นร้อยละ 1.50 สภาพดินเปรียว/กรดคิดเป็นร้อยละ
1.25 และดินเคม็ คดิ เป็นร้อยละ 0.50 ไม่มีความเหมาะสมของสภาพพืนท่ีการปลูกพืชคิดเป็นร้อยละ 2.01 ไม่มี
ความเหมาะสมของสภาพพืนท่ีการเลียงสตั ว์คิดเป็นร้อยละ 23.31 เร่ืองน้า คือ คุณภาพของนามีปัญหาเก่ียวกับ
ความเปรียว/กรดคดิ เป็นรอ้ ยละ 1.00 กรณีมีบ่อนาในไร่นาเกษตรกรไม่ใช้ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 79.26 และใช้
ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 20.74 ได้แก่ ปลูกพืชฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 11.17 เลียงปลาคิดเป็นร้อยละ 6.38 และ
ใช้นาบ่อตอนฝนทิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 4.26 กรณีฝนตกการระบายนามีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 8.52 ไม่มีแหล่งนา
ในหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 27.82 ในรอบปีเพาะปลูกท่ีผ่านมาเกษตรกรประสบปัญหาเก่ียวกับเรื่องนาคิดเป็นร้อย
ละ 56.89 ได้แก่ ฤดูแล้งขาดนาหยุดทานาปรังคิดเป็นร้อยละ 56.60 บางพืนท่ีนาส่งไปไม่ถึงแปลงนาเพราะอยู่

76

บนท่ีสูงคิดเป็นร้อยละ 0.28 และเพลียระบาดทาให้ผลผลิตเสียหายคิดเป็นร้อยละ 0.21 เร่ืองการผลิตและ
การตลาด คอื พืนท่ีทาการเกษตรสามารถทาไดเ้ พยี งหน่ึงครงั ต่อปีคดิ เป็นร้อยละ 47.87 สาหรับเรื่องโรคพืชและ
แมลงระบาดเกษตรกรที่มีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 23.81 มีครัวเรือนเกษตรกรท่ีเลียงปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 26.82
ทงั หมดไมม่ ีปญั หาเกี่ยวกับการเลียงสตั ว์ ขาดแคลนแรงงานคนในท้องถิ่นคิดเป็นร้อยละ 6.02 ขาดแคลนแรงงาน
เครอื่ งจักรในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 0.75 ขาดแคลนปัจจัยการผลิตในท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 0.25 คือ ขาดแคลน
พันธ์ุพืช มีปัญหาดา้ นการตลาด/การจาหน่ายคิดเป็นร้อยละ 0.50 เนือ่ งจากราคาขายไมแ่ น่นอน

การเป็นสมาชิกกล่มุ สบู นาดว้ ยไฟฟา้ ของครัวเรือนเกษตรคิดเป็นร้อยละ 55.39 และไม่เป็นสมาชิกกลุ่มสูบ
นาด้วยไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 44.61 เกษตรกรไม่มีค่าใช้จ่ายในการจัดหานามาใช้เพื่อการเกษตรของครัวเรือนคิด
เป็นร้อยละ 23.06 และมีค่าใช้จ่ายในการจัดหานามาใช้เพ่ือการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 76.94 โดยเฉล่ียจานวน
8,277 บาท/ครวั เรือน โดยแยกเปน็ คา่ นามันในการสบู นาเพ่อื การเกษตรเท่ากับ 5,297 บาท/ครัวเรือน ค่าไฟฟ้าใน
การสูบนาเพอ่ื การเกษตรเทา่ กับ 2,668 บาท/ครวั เรอื น ค่าซือนาทาการเกษตร/สูบนาด้วยไฟฟ้าเท่ากับ 303 บาท/
ครวั เรอื น และอื่นๆเท่ากบั 9 บาท/ครัวเรือน

ความคาดหวังของเกษตรกรต่อการผลิตด้านการเกษตรภายหลังมีโครงการฯ คือ เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่า
เกิดประโยชน์มากคิดเป็นร้อยละ 62.91 รองลงมาเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 18.55 เห็นว่าเกิด
ประโยชน์ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 13.53 และเห็นว่าเกิดประโยชน์น้อยคิดเป็นร้อยละ 5.01 ความคาดหวัง
เกี่ยวกับการแก้ปัญหาเร่ืองนาเพื่อการเกษตรภายหลังมีโครงการฯ คือ ส่วนใหญ่คาดหวังว่าจะสามารถช่วย
แก้ปัญหาเรื่องนาเพื่อการเกษตรภายหลังมีโครงการคิดเป็นร้อยละ 81.70 โดยเห็นว่าจะช่วยแก้ปัญหามีนา
เพียงพอในการทาการเกษตรในฤดูแล้ง มีจานวนรอบการผลิตเพ่ิมขึน ลดค่าใช้จ่ายในการจัดหานา ลดหรือ
บรรเทาภัยจากนาท่วม และขยายพืนท่ีทาการเกษตรเพ่ิมขึน ความสนใจในการทากิจกรรมเพ่ิมเติมภายหลังมี
โครงการฯ คือ เกษตรกรมีความสนใจในการทากิจกรรมเพ่ิมเติมคิดเป็นร้อยละ 40.85 ส่วนใหญ่เป็นด้านการผลิต
พืชคดิ เปน็ ร้อยละ 32.33 ด้านประมงคดิ เป็นรอ้ ยละ 10.28 ดา้ นการจัดทาปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 8.27
ด้านปศุสัตว์คิดเป็นร้อยละ 5.76 ด้านส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริมคิดเป็นร้อยละ 3.51 ด้านการจัดทาบัญชี
ครัวเรือนคดิ เป็นร้อยละ 1.25 และด้านปา่ ไม้คิดเปน็ ร้อยละ 0.75

ระดับความพึงพอใจ และผลกระทบที่มีต่อโครงการ คือ การจัดโครงการตรงกับความต้องการของ
เกษตรกร คือ เกษตรกรเห็นว่าตรงกับความต้องการในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็น
ร้อยละ 58.64 15.79 7.27 และ 18.30 ตามลาดับ ความเหมาะสมกับพืนท่ี คือ เกษตรกรเห็นว่ามีความ
เหมาะสมกับพืนที่ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 54.04 16.39 9.27 และ
20.30 ตามลาดับ พืนที่ท้าการเกษตรเพิ่มขึน คือ เกษตรกรเห็นว่ามีพืนท่ีทาการเกษตรเพ่ิมขึนในระดับมาก
ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 46.11 8.77 10.28 และ 34.84 ตามลาดับ รายได้ทาง
การเกษตรเพ่ิมขึน คือ เกษตรกรเห็นว่ามีรายได้ทางการเกษตรเพ่ิมขึนในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย
และน้อย คิดเป็นร้อยละ 54.39 16.79 9.27 และ 19.55 ตามลาดับ สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ คือ
เกษตรกรเห็นว่าสามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ
58.89 15.29 7.27 และ 18.55 ตามลาดับ สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในช่วงฝนทิงช่วง คือ
เกษตรกรเห็นว่าสามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนาในช่วงฝนทิงช่วงในระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย
และนอ้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 59.15 15.04 8.27 และ 17.54 ตามลาดับ บรรเทาปญั หานา้ ท่วม คือ เกษตรกรเห็น
วา่ สามารถบรรเทาปัญหานาทว่ มในระดับมาก ค่อนขา้ งมาก ค่อนขา้ งนอ้ ย และน้อย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.04 23.31
21.30 และ 41.35 ตามลาดับ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมี คือ เกษตรกรเห็นว่าสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมี
ในระดบั มาก ค่อนขา้ งมาก ค่อนขา้ งน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 9.77 24.56 27.82 และ 37.85 ตามลาดับ
ความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการ คือ เกษตรกรเห็นว่ามีความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการใน
ระดับมาก ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 46.37 17.79 11.78 และ 24.06 ตามลาดับ

77

โครงการจัดรูปที่ดิน คือ เกษตรกรเห็นว่าถ้ามีโครงการจัดรูปที่ดินมีความสนใจเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ
16.54 และไม่สนใจเขา้ รว่ มโครงการคิดเป็นร้อยละ 83.46

ทัศนคติของเกษตรกรในด้านผลกระทบจากโครงการฯ ผลกระทบทางบวกจากโครงการ คือ เกษตรกร
เหน็ ว่าไม่มีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 23.81 ส่วนท่ีเห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจากโครงการ
คิดเป็นร้อยละ 76.18 เก่ียวกับการบรรเทาปัญหาการขาดแคลนนาในช่วงฤดูฝน/ฝนทิงช่วงคิดเป็นร้อยละ 70.93
สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้คิดเป็นร้อยละ 67.92 มีพืนที่การเกษตรเพิ่มขึนคิดเป็นร้อยละ 44.61 และบรรเทา
ปญั หานาท่วมคิดเป็นร้อยละ 11.03 ผลกระทบทางลบจากโครงการ คือ เกษตรกรเห็นว่าไม่มีผลกระทบทางลบ
คิดเป็นร้อยละ 39.10 ส่วนท่ีเห็นว่ามีผลกระทบทางลบคิดเป็นร้อยละ 60.90 เก่ียวกับการสูญเสียพืนท่ีทา
การเกษตรคิดเป็นร้อยละ 40.85 ถูกเวนคืนท่ีดินเพ่ือก่อสร้างคลองคิดเป็นร้อยละ 36.84 และอัตราค่าเช่าท่ีดินมี
แนวโน้มจะเพิม่ สงู ขนึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.07

ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของเกษตรกร คือ ต้องการให้เร่งดาเนินการสร้างคลองเพื่อให้ใช้นาได้
ทันในฤดูกาลต่อไปคิดเป็นร้อยละ 15.29 ให้คิดค่าท่ีดินเวนคืนอย่างเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 7.02 เบ่ียงแนว
คลองให้พ้นจากพืนท่ีทาการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 6.02 ไม่ต้องการคลองส่งนาในโครงการคิดเป็นร้อยละ 5.26
ขาดการประชาสมั พนั ธ์คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.50 สนับสนนุ พันธข์ุ า้ วคิดเปน็ ร้อยละ 1.00 แนวคลองต่าทาให้ใช้นาเพื่อ
การเกษตรไมส่ ะดวกคิดเปน็ ร้อยละ 1.00 ดูแลระบบระบายนาให้ไหลสะดวกและทั่วถึงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.50 ช่วย
พยุงราคาผลผลิตท่ีตกต่าคิดเป็นร้อยละ 0.50 ช่วยหาพืนท่ีทาการเกษตรทดแทนพืนท่ีถูกเวนคืนคิดเป็นร้อยละ
0.25 ลดขนาดคลองสง่ นาคิดเป็นร้อยละ 0.25 และสง่ เสริมการประกอบอาชพี เสรมิ คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.25

5.2 ข้อเสนอแนะ

5.2.1 จานวนสมาชกิ ทังหมดในครัวเรอื นประมาณ 3.70 คน/ครัวเรือน มีพืนท่ีการเกษตรเฉล่ีย 32.67 ไร่/
ครัวเรือน อัตราการคุมพืนที่เท่ากับ 8.83 ไร่/คน ระบบการผลิตมีรายได้จากการปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ และ
แรงงานของหัวหน้าครัวเรือนออกไปทางานอาชีพรองคิดเป็นร้อยละ 44.86 คือ รับจ้างการเกษตร รับจ้างนอก
การเกษตร ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว เป็นต้น เมื่อพิจารณาพบว่า เกษตรกรมีที่ดินและมีเวลาเหลือหลังจากทางานใน
ฟารม์ ตนเอง ยังสามารถประกอบอาชีพเสริมได้ ดังนัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในตัวเกษตรกรมากขึนจึงควรมีการ
วางระบบการผลิตท่เี หมาะสมกบั พนื ที่ในแตล่ ะราย เพอื่ ให้ครอบครวั มีรายไดเ้ พิม่ ขนึ อยา่ งยัง่ ยนื

5.2.2 อายเุ ฉล่ียของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรเทา่ กับ 57.44 ปี และอายุเฉลยี่ สว่ นใหญ่อยใู่ นช่วง 56 – 65 ปี
คิดเปน็ ร้อยละ 36.09 และมากกว่า 65 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 21.80 ถา้ คานงึ ถงึ อนาคตของทายาททางการเกษตร ใน
แต่ละครัวเรอื นนา่ จะมีการปลูกฝงั เตรยี มพรอ้ ม เพ่ือหาผู้สืบสานความเปน็ เกษตรกรทม่ี ีคุณภาพต่อไป

5.2.3 การใช้ที่ดินจริงในการประกอบอาชีพทางการเกษตรมีประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินคิดเป็นร้อยละ
134.87 ส่วนใหญ่เป็นพืนที่ทานาปี/นาปรังจานวน 35.82 ไร่/ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 109.64 ของการถือ
ครองที่ดินในการเกษตร ส่วนข้าวเจ้านาปีและข้าวเจ้านาปรังมีราคา 6.58 บาท/กิโลกรัม และในปีเพาะปลูก
2557/58 รัฐฯได้กาหนดให้จ่ายเงินช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทุกครัวเรือน ตามพืนที่ที่ปลูกข้าวจริงแต่ไม่เกิน
ครัวเรือนละ 15 ไร่ ในอัตราไร่ละ 1,000 บาท ดังนัน ควรมีระบบการผลิตเชิงฟาร์มผสมผสานเพ่ือลดความเส่ียง
จากราคาข้าว และมีแหล่งนาในไร่นาท่ีเหมาะสมถูกกาหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการทาฟาร์มของ
เกษตรกร นอกจากนียังช่วยให้เกิดการใช้ท่ีดินและใช้แรงงานอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึน แต่อย่างไรก็ดีควรศึกษา
ความเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิในแตล่ ะพืนทเี่ พ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพอย่างเปน็ รปู ธรรม

5.2.4 ในรอบปีเพาะปลูกที่ผ่านมาเกษตรกรประสบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนาคิดเป็นร้อยละ 56.89
เน่ืองจากในฤดูแล้งขาดนา หยดุ ทานาปรัง เพลียระบาดทาให้ผลผลิตเสียหาย และบางพืนท่ีนาส่งไปไม่ท่ัวถึงแปลง
นาเพราะอยบู่ นท่สี งู ควรส่งเสรมิ ปลกู พืชทดแทนทใ่ี ชน้ าน้อยในฤดูแล้ง เพอ่ื ลดอตั ราความเสี่ยงในการผลิต

78

5.2.5 ปัญหาของเกษตรกรในพืนที่มีหลายปัญหา ได้แก่ ดินและสภาพพืนที่ทาการเกษตรมีปัญหาคิดเป็น
รอ้ ยละ 9.02 เนื่องจากสภาพพืนท่ีการเกษตรเป็นดินปนทราย ดินแข็ง ดินเป็นลูกรัง/หินกรวด และเป็นที่ลุ่มนา
คุณสมบัติของดินมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 3.26 เนื่องจากสภาพดินขาดธาตุอาหาร ดินเค็ม และสภาพดินเปรียว/
กรด คุณภาพของนามีปัญหาเกี่ยวกับความเปรียว/กรดคิดเป็นร้อยละ 1.00 กรณีมีบ่อนาในไร่นาเกษตรกรไม่ใช้
ประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 79.26 พืนที่ทาการเกษตรทาได้เพียงหนึ่งครังต่อปีคิดเป็นร้อยละ 47.87 โรคพืชและ
แมลงระบาดมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 23.81 ปัญหาเหล่านีควรมีการศึกษาหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขโดยผู้ชานาญ
เฉพาะด้าน เพ่ือกาหนดรูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมกับโครงการเขื่อนทดนาผาจุกให้สามารถบรรลุตาม
วตั ถุประสงค์ของโครงการ

5.2.6 จากการสารวจความคิดเห็นของเกษตรกรในด้านทัศนคติ ระดับความพึงพอใจ และผลกระทบท่ีมี
ตอ่ โครงการ ได้แก่ เกษตรกรมีความคิดเห็นในระดับค่อนข้างน้อยและน้อย(รวม) เกี่ยวกับเร่ืองการจัดโครงการตรง
กับความต้องการของเกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 25.57 ความเหมาะสมกับพืนที่คิดเป็นร้อยละ 29.57 พืนท่ีทา
การเกษตรเพ่มิ ขึนคดิ เปน็ ร้อยละ 45.12 ความเหมาะสมของเกษตรกรต่อโครงการคิดเป็นร้อยละ 35.84 สาหรับ
ความเห็นของเกษตรกรที่เห็นว่ามีผลกระทบทางบวกจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 76.18 ส่วนการมีพืนที่ทา
การเกษตรเพ่ิมขึน สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ บรรเทาปัญหาการขาดแคลนนาในช่วงฤดูฝน/ฝนทิงช่วง และ
บรรเทาปัญหานาท่วม ส่วนมีผลกระทบทางลบจากโครงการคิดเป็นร้อยละ 60.90 เก่ียวกับการสูญเสียพืนที่ทา
การเกษตร ถูกเวนคืนท่ีดินเพ่ือก่อสร้างคลอง และอัตราค่าเช่าท่ีดินที่มีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
จากเกษตรกร ได้แก่ ไม่ต้องการคลองส่งนาในโครงการคิดเป็นร้อยละ 5.26 ให้คิดค่าที่ดินเวนคืนอย่างเหมาะสม
คิดเป็นร้อยละ 7.02 แต่มีเกษตรกรท่ีเสนอแนะให้เร่งดาเนินการสร้างคลองส่งนาเพื่อให้ทันใช้นาในฤดูกาลต่อไป
คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.29 ดงั นัน ควรใหเ้ จา้ หน้าท่ที ี่รบั ผิดชอบโครงการประชาสัมพันธ์และชีแจงรายละเอียดการจ่าย
คา่ ชดเชยเวนคืนทดี่ นิ ท่ีเหมาะสมให้กับเกษตรกรเขา้ ใจ

5.2.7 จากการศึกษาพืนท่ีในโครงการจะเหน็ วา่ ควรไดร้ ับการพัฒนาในภาพรวมทังพืนท่ี ได้แก่ การพัฒนา
พนื ท่ใี หเ้ หมาะสมต่อการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ระบบโครงสร้างพืนฐานที่เหมาะสมและเกือกูลต่อการ
ประกอบการเกษตร การพัฒนาอาชีพเสริมท่ีเหมาะสมในแต่ละพืนท่ี การพัฒนาระดับฟาร์ม เพ่ือให้เกิดระบบการ
ทาฟาร์มท่มี ปี ระสิทธภิ าพและเหมาะสมกบั พืนท่ี.

79

บรรณานุกรม

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2552. โครงการพฒั นาลุ่มนาน่าน งานศึกษาความเหมาะสมและ
ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพฒั นาชลประทานดอุตรดติ ถ์ (เลม่ 1-4)

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2556. โครงการติดตามการปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ัติการป้องกัน
แก้ไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มและติดตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดล้อม โครงการเขื่อนทด
นาผาจกุ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ฉบับท่ี 1 ประจาปีงบประมาณ 2556 (กรกฎาคม 2556)

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2556. รายงานตดิ ตามการปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ัติการป้องกัน
แก้ไขและลดผลกระทบส่งิ แวดล้อมและติดตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดล้อม โครงการเขื่อนทด
นาผาจกุ จงั หวดั อุตรดิตถ์

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2557. รายงานสรุปโครงการเข่ือนทดนาผาจกุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2558. รายงานติดตามการปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบตั ิการป้องกัน

แก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการเขอื่ นทดนาผาจกุ จงั หวดั อตุ รดิตถ์
คณะอนุกรรมการบูรณาการแผนปฏิบัติการพฒั นาดา้ นการเกษตรระดับจังหวดั . 2554. รายงานการสารวจ

ภาวะเศรษฐกิจและสงั คมครวั เรอื นเกษตรกร (Benchmark) พนื ที่บรู ณาการเพ่อื พัฒนาระบบ
การบรหิ ารจดั การนาเพื่อการเกษตร จงั หวดั พิษณุโลก ปี 2554 ภายใตโ้ ครงการพัฒนาและส่ง
เสรมิ อาชีพเกษตรกรรมบริเวณเขอื่ นแควนอ้ ยบารงุ แดน
ผ.ศ.สมศักด์ิ เพยี บพรอ้ ม.หลักและวธิ ีการจัดการฟาร์ม. 2527. ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
และบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2551. รายงานผลการศึกษาเพอ่ื จดั ทาข้อมลู พืนฐานในการติดตามประเมิน
ผลเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากโครงการสร้างเขือ่ นแควน้อย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
จังหวัดพิษณุโลก
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2552. รายงานผลการศึกษาเพอื่ จดั ทาข้อมูลพืนฐานในการติดตามประเมิน
ผลเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากโครงการสรา้ งเขื่อนแควนอ้ ยอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
(ฝ่ังขวาเข่ือนพญาแมน) จงั หวดั พษิ ณุโลก
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2545. ศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ จัดทาขอ้ มูลพืนฐานในการประเมนิ ผลการพฒั นา
โครงการกระแสสินธ์ุ จังหวดั สงขลา
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2557. การตดิ ตามตรวจสอบด้านเศรษฐกิจและสงั คม(Bench Mark)
ตามแผนปฏบิ ตั ิการป้องกันแก้ไขผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มและตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบ
ส่งิ แวดลอ้ ม โครงการเขอ่ื นทดนาผาจกุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ปีงบประมาณ 2557

80

ภาคผนวก

81

ตารางภาคผนวกที่ 1 รายได-้ รายจ่ายเงินสดสทุ ธิเกษตร ปีเพาะปลูก 2556/57

หน่วย : บาท/ครวั เรอื น

รายการ ระดับประเทศ ภาคเหนือ จงั หวดั อตุ รดิตถ์
1. รายไดเ้ งินสดเกษตร 148,240
116,476 173,173 151,887
- พืช 19,023
- ปศุสตั ว์ 7,184 139,388 128,911
- สัตวน์ า 5,557
- อนื่ ๆ 99,770 23,007 13,824
2. รายจา่ ยเงนิ สดเกษตร 68,958
- พชื 15,251 3,271 6,883
- ปศุสตั ว์/สตั วน์ า 15,561
- อื่นๆ 48,470 7,507 2,269
3. รายไดเ้ งินสดสทุ ธิเกษตร (1) - (2) 47,518
10,956 114,572 77,943
- พืช - 10,004
- ปศุสัตว์/สตั วน์ า 81,557 53,648
- อน่ื ๆ
12,400 9,957

20,615 14,338

58,601 73,944

57,831 75,263

13,878 10,750

- 13,108 - 12,069

ทม่ี า : ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
หมายเหตุ : เป็นขอ้ มลู เบืองตน้

ตารางภาคผนวกท่ี 2 ผลผลิตเกษตรในฟารม์ นามาใชส้ อย/บริโภค ปีเพาะปลกู 2556/57

รายการ ระดับประเทศ หนว่ ย : บาท/ครัวเรอื น
ผลผลิตเกษตรในฟาร์มนามาใช้สอย/บริโภค 7,394
6,490 ภาคเหนอื จงั หวัดอุตรดิตถ์
- พืช 904 8,359 6,784
- สตั ว์ 7,633 6,092
726 692

ท่มี า : ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
หมายเหตุ : เป็นขอ้ มูลเบอื งตน้

82

ตารางภาคผนวกที่ 3 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรด้านพชื ในพนื ทโี่ ครงการ ปเี พาะปลูก 2557/58

ชนิดพืช ผลผลิตต่อไร่ รายได้เงนิ สด มลู คา่ ผลผลติ ทใ่ี ช้ หน่วย : บาท/ไร่
(กก./ไร)่ ในครวั เรอื น ราคา
ข้าวเจ้านาปี 4,346 414
ข้าวเหนียวนาปี 743 3,702 1,708 (บาท/กก.)
ข้าวเจา้ นาปรงั 708 4,321 236 6.59
ขา้ วโพดเลยี งสตั วร์ นุ่ 1 691 4,040 - 7.58
ขา้ วโพดเลยี งสตั วร์ นุ่ 2 810 5,600 - 6.61
ข้าวโพดรับประทาน 843 7,415 6 4.99
อ้อยโรงงานปที ่ี 1 1,721 15,659 448 5.84
ออ้ ยโรงงานปีที่ 2-5 15,046 12,299 10 4.31
ถ่ัวเหลืองรนุ่ 1 11,702 10,101 - 1.04
ถ่ัวเหลอื งรนุ่ 2 566 1,000 - 1.01
ถว่ั เลิสงรนุ่ 1 59 13,125 - 17.86
ถัว่ เลสิ งรนุ่ 2 525 9,333 352 17.08
คะนา้ 366 5,600 - 25.00
แตงกวา 227 7,270 204 26.81
ถว่ั ฝักยาว 827 11,773 954 24.71
เผอื ก 824 88,000 - 9.01
ผักกาด 4,400 10,884 116 15.17
ผักชี 1,683 3,097 77 20.00
ผกั บงุ้ จนี 159 13,869 53 6.53
พริก 440 10,228 317 20.00
กวางตุ้ง 487 12,420 180 31.59
มะเขือพวง 1,400 21,761 110 21.70
หอมแดง 1,518 12,510 7,756 9.00
คน่ึ ชา่ ย 2,039 7,508 37 14.44
มะม่วง 313 3,162 47 8.94
มะพร้าว 658 12,000 720 24.07
มะขามหวาน 2,000 2,602 1,597 4.87
กลว้ ยนาว้า 103 1,160 440 6.00
มะนาว 200 13,307 27 41.67
ไมผ้ ลรวมอ่นื ๆ 200 12,123 1,284 7.63
392 66.98
ท่ีมา : จากการวิเคราะห์ 25.00

83

ตารางภาคผนวกที่ 4 ราคาผลผลิตทางการเกษตรด้านพชื นอกพนื ทโ่ี ครงการ ปีเพาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ชนดิ พชื ผลผลิตต่อไร่ รายได้เงินสด มูลค่าผลผลิตทใ่ี ช้ ราคา
(กก./ไร)่ ในครัวเรอื น (บาท/กก.)

ขา้ วเจา้ นาปี 744 7,265 442 6.58

ขา้ วเจ้านาปรงั 591 4,098 144 6.30

ขา้ วโพดเลยี งสัตวร์ ุน่ 1 798 3,815 - 4.78

ขา้ วโพดเลยี งสตั วร์ ุ่น 2 1,053 5,305 - 5.04

ขา้ วโพดรบั ประทาน 1,798 7,518 29 4.20

มันสาปะหลังโรงงาน 3,345 6,845 - 2.05

อ้อยโรงงานปีท่ี 1 12,162 14,160 127 1.18

ออ้ ยโรงงานปีท่ี 2-5 13,737 14,162 1 1.63

ถว่ั เหลืองรุ่น 1 280 3, ,920 - 14

ถั่วเหลืองรนุ่ 2 112 1,893 - 16.84

แตงกวา 4,154 38,462 1,479 9.62

เผือก 4,079 28,605 7 7.01

ผกั บงุ้ จนี 300 13,500 - 45.00

พริก 407 10,000 2,200 30.00

มะเขอื พวง 4,400 30,800 - 7.00

หอมแดง 2,054 11,155 1,693 6.29

ค่ึนช่าย 414 12,643 - 30.52

กาแฟ 460 6,000 - 13.04

ทุเรียน 9 375 338 37.50

มะมว่ ง 1,061 9,338 77 8.89

ลาไย 65 1,000 - 15.38

ลางสาด 327 385 1,250 5.00

ลองกอง 336 500 5,962 19.23

กระทอ้ น 45 120 - 4.00

กล้วยนาว้า 293 2,000 47 6.98

มะม่วงหิมพานต์ 43 1,517 - 35.00

มะนาว 180 2,667 333 16.67

พุทรา 267 5,000 333 20.00

ไม้ผลรวมอื่น ๆ 172 3,180 471 21.02

ทีม่ า : จากการวิเคราะห์

84

ตารางภาคผนวกที่ 5 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรดา้ นพชื รวมพนื ทที่ ังโครงการ ปเี พาะปลูก 2557/58

หน่วย : บาท/ไร่

ชนิดพชื ผลผลติ ต่อไร่ รายได้เงินสด มูลคา่ ผลผลิตที่ใช้ ราคา
(กก./ไร)่ ในครวั เรือน (บาท/กก.)

ขา้ วเจ้านาปี 743 4,339 417 6.58

ข้าวเหนียวนาปี 666 2,612 2,457 7.58

ขา้ วเจา้ นาปรัง 679 4,295 226 6.58

ข้าวโพดเลยี งสัตวร์ ่นุ 1 805 3,951 - 4.91

ขา้ วโพดเลยี งสตั วร์ นุ่ 2 917 5,496 - 5.54

ข้าวโพดรับประทาน 1,760 7,467 18 4.25

มนั สาปะหลงั โรงงาน 3,345 6,845 - 2.05

ออ้ ยโรงงานปที ่ี 1 14,088 15,161 341 1.08

ออ้ ยโรงงานปีที่ 2-5 12,187 12,743 8 1.13

ถั่วเหลอื งรุน่ 1 558 9,941 - 17.81

ถั่วเหลอื งรุ่น 2 71 1,212 - 16.99

ถั่วเลิสงรุน่ 1 525 13,125 - 25.00

ถัว่ เลิสงรนุ่ 2 366 9,333 352 26.81

คะน้า 227 5,600 - 24.71

แตงกวา 848 7,470 212 9.03

ถั่วฝกั ยาว 824 11,773 954 15.17

เผอื ก 4,146 40,979 5 9.88

ผกั กาด 1,683 10,884 116 6.53

ผักชี 159 3,097 77 20.00

ผักบงุ้ จนี 353 13,640 20 38.66

พริก 476 10,198 571 22.52

กวางต้งุ 1,400 12,420 180 9.00

มะเขอื พวง 2,285 24,165 81 10.61

หอมแดง 2,046 11,888 4,975 7.57

ค่นึ ช่าย 324 8,043 33 24.93

กาแฟ 460 6000 - 13.04

ทุเรยี น 9 375 338 37.50

มะม่วง 931 7,350 67 7.98

ลาไย 65 1,000 - 15.38

ลางสาด 327 385 1,250 5.00

ลองกอง 336 500 5,962 19.23

กระท้อน 45 120 - 4.00

มะพร้าว 2,000 12,000 720 6.00

มะขามหวาน 103 2,602 1,597 41.67

กล้วยนาวา้ 218 1,323 364 7.43

มะมว่ งหมิ พานต์ 43 1,517 - 35.00

มะนาว 193 9,760 129 52.54

พทุ รา 267 5,000 333 20.00

ไมผ้ ลรวมอ่ืน ๆ 251 6,416 765 29.02

ไมผ้ ล(ขายก่ิงพันธ)ุ์ 3,636 90,909 - 25.00

85

ตารางภาคผนวกที่ 6 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรด้านพืช ในเขตพนื ท่ีสูบนาด้วยไฟฟ้า

ปีเพาะปลูก 2557/58

หนว่ ย : บาท/ไร่

ชนิดพืช ผลผลิตต่อไร่ รายได้เงนิ สด มลู ค่าผลผลิตท่ีใช้ ราคา
(กก./ไร)่ ในครัวเรือน (บาท/กก.)

ข้าวเจ้านาปี 763 4,595 473 6.59

ข้าวเหนยี วนาปี 400 - 4,000 7.58

ข้าวเจา้ นาปรงั 745 4,707 270 6.60

ข้าวโพดเลยี งสัตวร์ ุน่ 1 990 4,625 - 4.67

ข้าวโพดเลยี งสตั วร์ ่นุ 2 1,014 5,743 - 4.96

ข้าวโพดรับประทาน 2,473 10,630 - 4.30

มันสาปะหลงั โรงงาน 3,345 6,845 - 2.05

อ้อยโรงงานปีที่ 2-5 15,330 10,811 1 0.71

ถว่ั เหลอื งรุน่ 1 222 4,000 - 18.00

ถว่ั เหลืองรนุ่ 2 50 850 - 16.89

ถวั่ เลิสงรุน่ 1 500 12,500 - 25.00

คะนา้ 227 5,600 - 24.71

แตงกวา 1,789 17,522 347 9.9

ถวั่ ฝักยาว 1,313 16,500 173 12.98

ผักกาด 2,125 4,200 50 2.00

ผกั ชี 300 6,000 - 20.00

ผักบุง้ จีน 1,174 24,286 143 20.73

พริก 1,392 26,923 923 20.00

บวบ 2,769 40,385 1,154 15.00

กวางตุ้ง 1,400 12,420 180 9.00

มะเขือพวง 2,285 24,165 81 10.61

คึน่ ช่าย 346 10,188 - 29.41

ฟัก 208 6,000 240 30.00

มะม่วง 71 86 243 10.00

ลาไย 65 1,000 - 15.38

กระท้อน 45 120 - 4.00

กล้วยนาว้า 196 1,200 228 6.98

มะนาว 200 18,000 - 90.00

ไมผ้ ลรวมอน่ื ๆ 967 30,100 1,159 32.37

ไม้ผล(ขายก่งิ พันธ)ุ์ 3,636 90,900 - 25.00

ที่มา : จากการสารวจ

86

ตารางภาคผนวกที่ 7 ราคาผลผลติ ทางการเกษตรดา้ นพืช นอกเขตพนื ท่ีสูบนาดว้ ยไฟฟ้า

ปเี พาะปลูก 2557/58

หน่วย : บาท/ไร่

ชนิดพชื ผลผลิตตอ่ ไร่ รายได้เงนิ สด มูลคา่ ผลผลติ ทีใ่ ช้ ราคา
(กก./ไร)่ ในครัวเรือน (บาท/กก.)

ขา้ วเจา้ นาปี 722 4,068 360 6.58

ข้าวเหนยี วนาปี 686 2,804 2,344 7.58

ขา้ วเจ้านาปรัง 604 3,826 176 6.54

ขา้ วโพดเลยี งสตั วร์ ่นุ 1 547 3,011 - 5.51

ขา้ วโพดเลยี งสัตวร์ ุน่ 2 811 5,231 - 6.45

ขา้ วโพดรบั ประทาน 1,627 6,878 21 4.24

อ้อยโรงงานปที ่ี 1 14,088 15,161 341 1.08

ออ้ ยโรงงานปที ่ี 2-5 12,063 12,819 8 1.15

ถว่ั เหลืองรุ่น 1 569 10,132 - 17.81

ถ่ัวเหลอื งร่นุ 2 74 1,259 - 17.00

ถ่ัวเลสิ งรนุ่ 1 600 15,000 - 25.00

ถวั่ เลิสงรุน่ 2 366 9,333 352 26.81

แตงกวา 792 6,876 204 8.91

ถวั่ ฝักยาว 832 11,738 970 14.98

เผอื ก 4,146 40,979 5 9.88

ผกั กาด 1,565 12,667 133 8.16

ผกั ชี 125 2,400 96 20.00

ผกั บงุ้ จีน 306 13,030 13 42.60

พรกิ 465 10,000 567 22.62

หอมแดง 2,216 11,363 5,959 6.78

ค่นึ ชา่ ย 319 7,614 40 23.96

ฟัก 1,000 36,500 13,500 50.00

กาแฟ 460 6,000 - 13.04

ทุเรยี น 9 375 338 37.50

มะม่วง 1,004 7,962 52 7.98

ลางสาด 327 385 1250 5.00

ลองกอง 336 500 5,962 19.23

มะพรา้ ว 2,000 12,000 720 6.00

มะขามหวาน 103 2,602 1,597 41.67

กล้วยนาว้า 229 1,381 429 7.63

มะม่วงหิมพานต์ 43 1,517 - 35.00

มะนาว 188 3,168 232 18.17

พุทรา 267 5,000 333 20.00

ไม้ผลรวมอื่น ๆ 199 4,678 736 27.67

ท่มี า : จากการสารวจ

87

ตารางภาคผนวกที่ 8 พันธขุ์ ้าวเจา้ ท่ีปลูกในพนื ทท่ี งั โครงการ ปเี พาะปลูก 2557/58

ชนิดพนั ธ์ุข้าว* รอ้ ยละ
พษิ ณุโลก 55.43
สุพรรณบรุ ี 49.58
หอมมะลิ 14.21
กข 29 10.58
ชยั นาท 1.67
กข 21 0.56
กข 23 0.56
ไรซเ์ บอร์รี่ 0.56
อน่ื ๆ 3.90

ท่ีมา : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนึง่ รายสามารถปลกู ไดห้ ลายพันธุ์

ตารางภาคผนวกท่ี 9 สตู รปยุ๋ เคมี ทใ่ี ชป้ ลกู ข้าวในพนื ที่ทังโครงการ ปีเพาะปลูก 2557/58

สูตรปุ๋ยเคมี * รอ้ ยละ
สตู ร 16-20-0 26.31
สูตร 15-15-15 10.75
สตู ร 46-0-0 45.52
สูตร 16-8-8 1.94
สูตร 30-0-0 0.93
สตู ร 36-0-0 0.86
สูตร 0-0-60 0.14
สูตร 16-0-0 0.14
สตู ร 21-0-0 1.43
สูตร 21-4-21 0.22
สูตร 15-7-18 0.36
สตู ร อืน่ ๆ 11.40

ทีม่ า : จากการสารวจ
หมายเหตุ : * คือ เกษตรกรหนง่ึ รายสามารถใช้ปุ๋ยเคมีไดห้ ลายสูตร

สูตร อนื่ ๆ คือ เป็นปุ๋ยเคมีสูตรต่างๆ ทเ่ี กษตรกรใช้หลากหลายสูตร แต่จานวนปรมิ าณไม่มากนกั


Click to View FlipBook Version