ORIGIN OF THE SOLAR SYSTEM
CCOONNTTEENNTTSS PHENOMENA ON THE SUN THE SUN STRATIFICATION OF PLANETS ASTEROIDS HABITABLE ZONE 1 3 5 7 8
ช่วงคลื่นวิทยุ ช่วงคลื่นไมโครเวฟ ช่วงคลื่นอินฟาเรด ช่วงรังสีอัลตราไวโอเลต ช่วงรังสีเอ็กซ์ THE SUN กำ เนิดดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่มองไม่เห็น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมาก ที่สุดและเป็นศูนย์กลางระบบสุริยะโดยมีระยะ ห่างจากโลกประมาณ 149.60 ล้านกิโลเมตร ดวงอาทิตย์มีการปลดปล่อยพลังงานออกมาหลายรูปแบบรวมถึงการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงความยาวคลื่นคลื่นอื่นๆ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นอินฟราเรด รังสีเอ็กซ์ รังสีแกมมา ดังนั้นนักดาราศาสตร์จึงได้พัฒนาเครื่องมือเพื่อศึกษาดวงอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ 1 น.ส.นัทฐริยาพร พลอาจ ที่มา : http://nso.narit.or.th/index.php/
2. เขตการแผลรังสีความ ร้อน (Radioactive Zone) พลังงานความร้อนจากแกน กลางถูกถ่ายทอดออกสู่ส่วน นอกโดยการแผ่รังสีความ หนาประมาณ 380,000 กิโลเมตร 3. เขตการพาความร้อน (Convective Zone) เป็นบริเวณที่ก๊าซร้อนถูก พาขึ้นไปสู่ผิวดวงอาทิตย์ อย่างต่อเนื่องมีความหนา ประมาณ 140,000 กิโลเมตร 1. แกนกลาง (Core) แหล่งกำ เนิดของปฏิกิริยา เทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่น คอโรนา โฟโตสเฟียร์ โครโมสเฟียร์ THE SUN กำ เนิดดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และเป็นศูนย์กลางระบบสุริยะโดยมีระยะห่างจาก โลกประมาณ 149.60 ล้านกิโลเมตร โครงสร้างของดวงอาทิตย์ ชั้นบรรยากาศ บรรยากาศชั่นนอกสุดของดวงอาทิตย์ซึ่งแผ่ออกไปในอวกาศ มีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1 ล้านเคลวิน พื้นผิวของดวงอาทิตย์ บริเวณที่อยู่เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มึอุณหภูมิสูงประมาณ 10,000 เคลวิน 2 น.ส.นัทฐริยาพร พลอาจ ที่มา : https://www.stkc.go.th/info/โครงสร้างของดวงอาทิตย์
แก๊สที่ร้อนจนอะตอมแตกตัวเป็นอิเล็กตรอน และ ไอออน ถูกปลดปล่อยจากบรรยากาศชั้น คอโรนา ของดวงอาทิตย์ ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน และ อิเล็กตรอน เช่นเดียวกับแก๊สภายในดวงอาทิตย์ เกิดจากการปล่อยอนุภาคความเร็วสูงจำ นวนมหาศาล ผลกระทบของพายุสุริยะ โครงสร้างของ DNA ภายใน ร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้ เกิดการรบกวนสนามแม่เหล็ก ของโลก ทำ ให้ระบบสื่อสารโดยวิทยุคลื่นสั้นทั่วโลก และ ระบบส่งกำ ลังไฟฟ้าในประเทศที่อยู่ใกล้ ขั้วแม่เหล็กโลกขัดข้อง สายการบินจึงยกเลิกเที่ยวบินในช่วงเวลาที่เกิดพายุสุริยะ รวมถึงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ใน ดาวเทียมที่โคจรรอบโลก ก็อาจเสียหายได้เช่นกัน แต่สิ่งมีชีวิตบนโลกจะมีชั้นบรรยากาศ และสนามแม่เหล็กโลก ช่วยปกป้องจากรังสีและอนุภาคความเร็วสูงต่างจากอวกาศ เกร็ดความรู้ PHENOMENA ON THE SUN ปรากฏการณ์ณ์ ณ์ บ ณ์ บนดวงอาทิทิทิตทิย์ย์ ย์ย์ พายุสุริยะ ลมสุริยะ 3 น.ส.วรัญญา จำ เริญ https://mgronline.com/ www.thaispaceweather.com/
ออโรรา หรือ แสงเหนือ แสงใต้ เกิดจากลมสุริยะ เคลื่อนที่ผ่านเข้ามา บริเวณสนามแม่เหล็กโลก ที่ขั้วโลกเหนือหรือขั้วโลกใต้ PHENOMENA ON THE SUN ปรากฏการณ์ณ์ ณ์ บ ณ์ บนดวงอาทิทิทิตทิย์ย์ ย์ย์ คือ บริเวณโฟโตสเฟียร์มีอุณหภูมิต่ำ กว่าบริเวณ อื่นๆ และเกิดระเบิดน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ ทำ ให้ มีความเข้มแสงน้อยกว่า จึงเกิดจุดมืดบนดวง อาทิตย์ และจุดมืดจะเกิดไม่ซ้ำ ที่เดิม ออโรรา สนามเเม่เหล็ก คือ เเม่เหล็กสองขั้วชนิดหนึ่ง ด้านหนึ่งอยู่ ใกล้ขั้วเหนือเเละอีกด้านหนึ่งอยู่ใกล้ขั้วใต้ เป็นขั้วสลับกัน จุดมืดบนดวงอาทิตย์ โฟโตสเฟียร์ คือ พื้นผิวของดวงอาทิตย์ที่มีสถานะเป็นเเก๊ส เป็น ชั้นบรรยากาศชั้นสุดในสุดจะมีความสว่างบริเวณส่งคลื่นเเสง เกร็ดความรู้ เกร็ดความรู้ 4 น.ส.วรัญญา จำ เริญ iStockPhoto www.bbc.com/
การแบ่งชั้นของดาวเคราะห์ Jupiter Saturn Uranus Neptune ดาวเคราะห์ชั้นใน { Inner Planets } : กลุ่มดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวโลก และดาวอังคาร เย็นตัวแล้ว ทำ ให้มีผิวเป็นของแข็ง ใช้แถบของดาวเคราะห์น้อยในการแบ่ง ดาวเคราะห์ชั้นนอก { Outer Planets } : กลุ่มดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ คือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เพิ่งเย็นตัว ผิวปกคลุมด้วย ก๊าซเป็นสวนใหญ่ Stratification Of Planets 1 การแบ่งชั้นตามลักษณะทางกายภาพ Mercury Venus Earth Mars น.ส.ภัทรชนน แสงครุธ 5 ่
2 การแบ่งชั้นตามวงโคจร 3 การแบ่งชั้นตามลักษณะพื้นผิว ดาวเคราะห์ก๊ ห์ าก๊ซ : Jupiter Saturn Uranus Neptune Saturn Uranus Jupiter Neptune ดาวเคราะห์หิ ห์ นหิ: ดาวพุธพุดาวศุกศุร์ ดาวโลก และดาวอังอัคาร ทั้งทั้4 ดวง มีพื้ มี น พื้ ผิวผิ แข็ง ข็ เป็น ป็ หินหิชั้นชั้นบรรยากาศบางๆห่อห่หุ้มหุ้ยกเว้นว้ดาวพุธพุที่ไที่ ม่มีม่ชั้ มี นชั้บรรยากาศ ดาวเคราะห์ก๊ ห์ าก๊ซ : ดาวพฤหัสหับดี ดาวเสาร์ ดาวยูเยูรนัสนัและดาวเนปจูนจู มีก๊ มี าก๊ซทั่วทั่ทั้งทั้ดวง อาจมีแ มี กนหินหิขนาดเล็ก ล็ อยู่ภยู่ายใน ปกคลุมลุด้วด้ยก๊าก๊ซมีเ มี ทน แอมโมเนีย นี ไฮโดรเจน และฮีเ ฮี ลีย ลี ม ดาวเคราะห์วงใน { Interior Planets } ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพุธและดาวศุกร์ ดาวเคราะห์วงนอก { Superior Planets } ดาวเคราะห์ที่อยู่ถัดจากโลกออกไป ได้แก่ ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวพฤหัสบดี และ ดาวเนปจูน Thairath.co.th ดาวเคราะห์หิ ห์ นหิ: Mercury Venus Earth Mars Mercury Venus แหล่งล่ที่มที่า : https://docs.google.com น.ส.ภัทภัรชนน แสงครุธรุ 6
ลูเตเชีย (lutetia) ดาวเคราะห์น้อยเกิดขึ้นได้อย่างไร เซเรส (Ceres) ประเภท : ดาวเคราะห์แคระ ขนาด : 952 กม. คือ วัตถุขนาดเล็กที่อยู่ไม่เกินวงโคจรของดาว พฤหัสบดี เป็นเศษซากที่หลงเหลือจากการก่อตัว ของระบบสุริยะ มีมวลไม่มากพอที่จะก่อตัวเป็น ดาวเคราะห์ พบมากระหว่างโคจรของดาวอังคาร และดาวพฤหัสบดี ประเภท : ดาวเคราะห์น้อยหิน ขนาด : 569 555 453 กม. x x ประเภท : ดาวเคราะห์น้อยเหล็ก ขนาด : 124 101 80 กม. x x เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยวัตถุ ขนาดเล็กหลายรูปร่าง เป็นเศษซากที่หลงเหลือในยุคแรกเริ่มของระบบสุริยะ โคจรรอบ ดวงอาทิตย์ อยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดี ทำ ให้ไม่ สามารถก่อตัวเป็นดาวเคราะห์ได้ น.ส. ชนากานต์ เรือนวงค์ เวสตา (Vesta) วัตถุน่าสนใจในแถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์น้อย เกิดจากเศษซากที่เหลืออยู่ในแรกเริ่มของ ระบบสุริยะที่มีมวลไม่มากพอจะก่อตัวเป็น ดาวเคราะห์ แถบดาวเคราะห์น้อย 7 ที่มา : https://www.narit.or.th
น้ำ บนผิวโลกสามารถอยู่ในสถานะของเหลวได้ที่อุณหภูมิ 0 – 100 C อย่างไรก็ตาม ลักษณะภูมิประเทศ ฤดู และการเปลี่ยนแปลงของลักษณะภูมิอากาศภายในรอบวัน สามารถทำ ให้น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งได้ (บริเวณทวีปแอนตาร์กติกาอุณหภูมิ อาจลดต่ำ ถึง -89 C) แต่สิ่งมีชีวิตยังคงสามารถดำ รงชีวิตอยู่ได้ ภายใต้สภาพแวดล้อม ดังกล่าว o o o โลกของเราเป็นตัวอย่างดาวเคราะห์ที่อยู่ในบริเวณเอื้อต่อการมีสิ่งมีชีวิต เพราะมี องค์ประกอบที่สำ คัญคือ มีน้ำ อยู่ในทั้ง 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สถานะของธาตุที่อยู่ในดาวโลก สิ่งที่ห่อหุ้มและปกป้องจากสิ่งแปลกปลอม อุณหภูมิที่เอื้อต่อสิ่งมีชีวิต ถ้าหากโลกอยู่ใกลัดวงอาทิตย์จนเกินไปจะทำ ให้น้ำ ระเหยกลายเป็นไอจนหมด หรือ หากอยู่ห่างมากเกินไป จะทำ ให้น้ำ อยู่ในสถานะของแข็ง ซึ่งสิ่งมีชีวิตจะไม่สามารถ เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้โลกยังมีชั้นบรรยากาศ ซึ่งชั้นบรรยากาศและสนามแม่เหล็กของ โลกจะช่วยป้องกันอนุภาคพลังงานสูงและรังสีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต Habitable Zone นายภูริชา พิศุทธิโชติโชติ https://www.ipst.ac.th เขตเอื้อชีวิต 8