อำเภอเขาฉกรรจ์
คำนำ
ตั้งอยู่บนเขาฉกรรจ์ ซึ่งเป็นเขาหินปูนขนาดใหญ่สามลูกที่ตั้งเรียงตัวติดกัน เป็นภูเขาหินปูน
ดึกดำบรรพ์ อายุราว 2-4 พันปี โดยมีเขาฉกรรจ์เป็นลูกใหญ่ที่สุดและอยู่ตรงกลางมีภูเขามิ่ง
อยู่ด้านซ้ายและเขาผา อยู่ด้านซ้าย และขวาตั้งตระหง่านอยู่ริมทาง ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถ
แวะเที่ยวชมได้อย่างง่ายดายและบริเวณเชิงเขาเป็นสวนรุกขชาติ ใช้เป็นสถานที่ปลูกป่าของ
กรมป่าไม้บริเวณเขาฉกรรจ์นี้ยังเป็นที่ตั้งของ “วัดถ้ำเขาฉกรรจ์” ซึ่งเป็นวัดในพระพุทธ
ศาสนา นิกายมหายาน ภายในวัดประกอบด้วยพระอุโบสถที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2433 มี
ลักษณะเป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้และมีบันได
ประมาณ 300 ขั้น เพื่อขึ้นไปยังยอดเขาจุดชมวิว มีถ้ำที่สำคัญ คือ ถ้ำเขาทะลุมีรอย
พระพุทธบาทจำลองและจุดชมวิว เมื่อปีนขึ้นไปบนถ้ำจะมองลงไปเห็นวิวสวยงาม เพื่อให้
เห็นทัศนียภาพที่สวยงาม ของอำเภอเขาฉกรรจ์ได้อย่างชัดเจนย่อย
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ประวัติความเป็นมา 1
อำเภอเขาฉกรรจ์ 3
4
อ้างอิง
ประวัติความเป็นมา
เขาฉกรรจ์ มีความเชื่อจากชาวบ้านที่ถ่ายทอดสืบ
กันว่า เขาฉกรรจ์แห่งนี้ เป็นจุดที่สมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช สมัยที่ทรงเป็นพระยาวชิร
ปราการ ได้ทรงรวบรวมคนไทยจากชุมนุมต่างๆ
เพื่อกอบกู้เอกราชตอนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
ได้ทรงกระทำพิธี ฉอ-กัณฑ์ ซึ่งถือว่าเป็นพิธีตัดไม้
ข่มนามที่สำคัญ โดยพระผู้มีพลังจิตสูงเป็นผู้ทำ
คำขวัญเขาฉกรรจ์
เขาหินแกร่ง แหล่งอารยธรรม ถ้ำเขาทะลุ กรุโครง
กระดูก เพาะปลูกพืชไร่ ลิงไพรนับหมื่น ค้างคาว
ตื่นนับล้าน"
อ้างอิง
https://www.google.com/search?
q=%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8
%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%
B8%A0%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E
0%B8%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%88
%E0%B9%8C&oq=%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%
B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0
%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%82%
E0%B8%B2%E0%B8%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3
%E0%B8%88%E0%B9%8C&aqs=chrome..69i57.15799j0j1&clien
t=ms-android-oppo-rvo2&sourceid=chrome-mobile&ie=UTF-
8#sbfbu=1&pi=%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8
%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%
B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%82%E
0%B8%B2%E0%B8%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3
%E0%B8%88%E0%B9%8C