The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ที่-10-นายวินัย-สัตถาผล-เลขที่-5-ห้อง-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g.patthapon43, 2022-04-20 03:44:02

หน่วยการเรียนรู้ที่-10-นายวินัย-สัตถาผล-เลขที่-5-ห้อง-1

หน่วยการเรียนรู้ที่-10-นายวินัย-สัตถาผล-เลขที่-5-ห้อง-1

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑๐
เรอื่ ง ปลอดภัยไวก้ อ่ น

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒

ผ้สู อน นายวนิ ัย สตั ถาผล

จานวน ๕ แผนการเรียนรู้ จานวน ๕ ช่วั โมง

องค์ประกอบของหนว่ ยการเรียนรู้

๑. ช่ือหน่วยและสาระสาคัญของหนว่ ย
๒. มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหนว่ ย
๓. ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ดั หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑๐ เร่ือง ปลอดภยั ไว้
กอ่ น
๔. แผนภาพมโนทัศนข์ องหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๐ เรอ่ื ง ปลอดภัยไว้ก่อน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕
๕. ตารางวิเคราะห์บทเรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
๖. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้และสาระการเรยี นรรู้ ะดับหน่วย
๗. กจิ กรรมและชน้ิ งานที่สาคัญ
๘. การวดั และประเมนิ ผล
๙. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๑๐. แผนการจัดการเรยี นรรู้ ะดับหนว่ ย
๑๑. แผนการจดั การเรยี นรู้ระดับปฏบิ ตั กิ าร (รายคาบ)

แผนการจัดการเรยี นร้รู ะดบั หนว่ ย

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑๐ เรอ่ื ง ปลอดภยั ไว้ก่อน
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕
โรงเรยี น โคโรนามิตรภาพท่ี ๑๙ ในราชปู ถัมภ์ พระหาเทวเี จา้ แห่งเมืองทิพย์

จานวน ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา ๕ ช่ัวโมง
ครูพีเ่ ลยี้ ง นายวนิ ัย สตั ถาผล ผสู้ อน นายวนิ ัย สัตถาผล

๑. ช่ือหนว่ ยและสาระสาคัญของหน่วย
ชอื่ หน่วย : ปลอดภยั ไวก้ ่อน
ระดับช้ัน : ประถมศึกษาปีท่ี ๕
จานวน : แผนการจดั การเรียนรู้
เวลา : ๖ ชว่ั โมง
สาระสาคญั : หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑๐

๒. มาตรฐานและตวั ชี้วัดของหน่วย รวมท้ังสนิ้ ๑๑ ตัวชี้วัด

สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่อื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการ

ดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน
ป.๕/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความทเ่ี ป็นการบรรยายและพรรณนา
ป.๕/๗ อ่านหนังสือทีม่ ีคณุ ค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เร่อื งที่

อ่าน
ป.๕/๘ มมี ารยาทในการอ่าน
ป.๕/๕ วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เร่ืองทีอ่ า่ นเพอ่ื นาไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ
ป.๕/๘ มีมารยาทในการอา่ น

สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และผแู้ สดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์
ป.๕/๑ พูดแสดงความรู้ความคิดเหน็ และความร้สู ึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๕ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู
ป.๕/๔ พดู รายงานเร่อื งหรือประเด็นที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา
ป.๕/๕ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด

สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ
ป.๕/๓ เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน

๓. ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๕ เรอื่ ง แรงกระทบ

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ดั แผนที่
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ รวม

สาระท่ี ๑ การอา่ น  ๑
ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง  ๑
ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เปน็ การบรรยายและพรรณนา ๑
 ๑
ท ๑.๑ ป.๕/๓ อธิบายความหมายโดยนยั จากเร่อื งท่ีอ่านอย่างหลากหลาย  ๒
ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองทีอ่ ่าน 
ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เร่อื งท่อี ่านเพือ่ นาไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิต ๑
 ๑
ท ๑.๑ ป.๕/๖ อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คาส่งั ขอ้ แนะนา และปฏบิ ตั ิตาม  ๒
ท ๑.๑ ป.๕/๗ อา่ นหนงั สอื ท่มี คี ณุ ค่าตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอและแสดงความคดิ เห็น
เกยี่ วกับเรอ่ื งที่อ่าน  ๑
ท ๑.๑ ป.๕/๘ มีมารยาทในการอา่ น

สาระที่ ๒ การเขยี น
ท ๒.๑ ป.๕/๑ คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครงึ่ บรรทัด
ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขยี นสอื่ สารดว้ ยคาได้ถูกตอ้ งชดั เจนและเหมาะสม
ท ๒.๑ ป.๕/๓ เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพอื่ ใชพ้ ฒั นางานเขยี น
ท ๒.๑ ป.๕/๔ เขยี นย่อความจากเร่อื งทอ่ี ่าน
ท ๒.๑ ป.๕/๕ เขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ
ท ๒.๑ ป.๕/๖ เขยี นแสดงความรสู้ กึ และความคิดเหน็ ไดต้ รงตามเจตนา
ท ๒.๑ ป.๕/๗ กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ
ท ๒.๑ ป.๕/๘ เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ
ท ๒.๑ ป.๕/๙ มีมารยาทในการเขยี น
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด

ท ๓.๑ ป.๕/๑ พูดแสดงความร้คู วามคดิ เห็นและความรสู้ กึ จากเร่ืองทีฟ่ ังและดู
ท ๓.๑ ป.๕/๒ ตง้ั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ลจากเรื่องทีฟ่ งั และดู
ท ๓.๑ ป.๕/๓ วิเคราะหค์ วามนา่ เชื่อถอื จากเร่อื งทฟ่ี งั และดูอยา่ งมเี หตุผล
ท ๓.๑ ป.๕/๔ พดู รายงานเรือ่ งหรอื ประเดน็ ทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา
ท ๓.๑ ป.๕/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
ท ๔.๑ ป.๕/๑ ระบชุ นิดและหน้าทีข่ องคาในประโยค
ท ๔.๑ ป.๕/๒ จาแนกส่วนประกอบของประโยค
ท ๔.๑ ป.๕/๓ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน
ท ๔.๑ ป.๕/๔ ใชค้ าราชาศัพท์
ท ๔.๑ ป.๕/๕ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ัด แผนท่ี
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ รวม

ท ๔.๑ ป.๕/๖ แตง่ บทรอ้ ยกรอง ๑๑

ท ๔.๑ ป.๕/๗ ใช้สานวนไดถ้ กู ตอ้ ง

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรปุ เรอื่ งจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมที่อา่ น

ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบุความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นาไปใช้ในชีวติ จริง

ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม

ท ๕.๑ ป.๕/๔ ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณคา่ ตามความ
สนใจ

รวม

๔. แผนภาพมโนทัศนข์ องหน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑๐ เรื่อง ปลอดภยั ไว้ก่อน ชั้นมธั

หนว่ ยก

เร่ือง ป

การอา่ น การฟัง การดู

Knowledge Knowledge
- การอ่านออกเสยี ง - การพดู แสดงความร
- หลกั การสรปุ ข้อคดิ จากเรื่องทอ่ี า่ น - การพดู รายงาน

Practice Practice
- ทกั ษะการอ่านออกเสียง - ทักษะการพดู
- ทกั ษะการวิเคราะห์ - ทักษะการใชค้ า
-
Attitude
Attitude - พดู ได้ถูกต้องตามหล
- อ่านออกเสียงร้อยแกว้ ไดถ้ ูกต้อง ประเภทต่าง ๆ
- สรุปขอ้ คิดจากเรือ่ งทอ่ี า่ นได้ถูกต้อง - ใชภ้ าษาได้ถูกต้อง แ

ธยมศกึ ษาปีท่ี 2 หลักการใช้ภาษาไทย

การเรยี นร้ทู ่ี ๑๐ Knowledge
- ภาษาถ่ิน
ปลอดภัยไว้ก่อน
และการพดู Practice
รู้ - ทักษะการใช้คา

ลักการของการพูด Attitude
และเหมาะสม - แต่งจาแนกจากภาษาถิ่นได้ถูกต้อง
- ใช้ภาษาได้ถูกต้อง และเหมาะสม





๕. ตารางวิเคราะห์บทเรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั

หนว่ ยการ การอ่าน การเขยี น การฟัง การดู ห

เรียนรู้ และการพูด ภ

หน่วยการ ๑. อา่ นออก ๑. พดู แสดง ๑. เ

เรียนรทู้ ี่ ๑๐ เสยี งบทร้อย ความรคู้ วาม ภาษ

ปลอดภัยไว้ แก้วและบทร้อย คดิ เห็นและ มาต

ก่อน กรองไดถ้ ูกต้อง ความรู้สึกจาก ภาษ

๒. อธิบาย เรื่องที่ฟังและดู

ความหมายของ ๒. มีมารยาทใน

คา ประโยคและ การฟงั การดู

ข้อความท่เี ปน็ และการพดู

การบรรยาย ๓. พูดรายงาน
และพรรณนา เรอื่ งหรือ
๔. อา่ นหนงั สอื ประเด็นที่ศึกษา
ทีม่ ีคุณคา่ ตาม ค้นควา้ จากการ
ความสนใจ ฟัง การดู และ
อยา่ งสม่าเสมอ การสนทนา
และแสดงความ ๔. มมี ารยาทใน
คดิ เหน็ เกย่ี วกบั การฟัง การดู
เรอื่ งท่ีอา่ น และการพดู

๕. มมี ารยาทใน

การอา่ น

๖. วเิ คราะห์

หลกั การใช้ วรรณคดแี ละ ทกั ษะการคดิ คุณค่าของ
ภาษาไทย วรรณกรรม บทเรยี น
๑. คิดสร้างสรรค์
เปรยี บเทยี บ ๒. คดิ วิเคราะห์
ษาไทย
ตรฐานกบั
ษาถน่ิ

หนว่ ยการ การอ่าน การเขยี น การฟงั การดู ห
เรียนรู้ และการพดู ภ
และแสดงความ
คิดเห็นเก่ียวกับ
เรือ่ งท่ีอา่ นเพื่อ
นาไปใชใ้ นการ
ดาเนินชีวิต
๗. มมี ารยาทใน
การอ่าน

หลกั การใช้ วรรณคดีและ ทกั ษะการคิด คณุ คา่ ของ

ภาษาไทย วรรณกรรม บทเรยี น

๖. จดุ ประสงค์การเรียนรู้และสาระการเรยี นรรู้ ะดบั หน่วย สาระการเรยี นรู้
- หลักการอ่านออกเสยี ง
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. เม่ือนักเรยี นเรยี นเร่ืองการอา่ นออกเสียง แลว้ นักเรยี นสามารถ - หลักการการสรปุ ข้อคิดจากเรอ่ื ง
ทีอ่ ่าน
๑. บอกสาระสาคัญของการอา่ นออกเสยี งได้ถูกต้อง - การพูดแสดงความรู้
๒. อา่ นออกเสียงร้อยแก้วไดถ้ ูกต้อง
๓. เห็นถงึ ความสาคัญของการอา่ นออกเสียงไดถ้ ูกต้อง - การพดู รายงาน
๒. เมอื่ นักเรียนเรียนเรื่องการสรปุ ข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่าน แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. บอกหลักการสรุปข้อคิดจากเร่อื งท่อี ่านได้ถูกต้อง - ภาษาถนิ่
๒. สรปุ ขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
๓. เห็นคุณคา่ ของการสรุปขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอา่ น
๓. เมอ่ื นักเรยี นเรียนเรือ่ งการพดู แสดงความรู้ แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. บอกหลักการการพูดแสดงความรู้ได้ถูกต้อง
๒. พูดแสดงความรู้ได้ถูกต้อง
๓. เห็นถึงความสาคญั ของการพดู แสดงความรู้ไดถ้ ูกต้อง
๔. เมอื่ นกั เรยี นเรียนเรอื่ งการพูดรายงาน แลว้ นักเรยี นสามารถ
๑. บอกหลกั การพูดรายงานการได้ถูกต้อง
๒. พดู รายงานได้ถูกต้อง
๓. เหน็ ความสาคัญของการพูดรายงานไดถ้ ูกต้อง
๕. เมื่อนกั เรียนเรียนเรือ่ งภาษาถิ่น แล้วนักเรียนสามารถ
๑. บอกสาระสาคญั ของภาษาถิ่นไดถ้ ูกตอ้ ง
๒. เปรียบเทียบภาษาไทยกบั ภาษาถ่ินไดถ้ ูกต้อง
๓. เหน็ ถึงความสาคญั ของภาษาถนิ่ ได้ถูกต้อง

๗. กิจกรรมและชน้ิ งานท่สี าคญั / ๘. การวัดและประเมินผล

การวดั และประเมินผล

ที่ กจิ กรรมและชิน้ งานท่ีสาคญั วธิ กี ารวัด เกณฑ์
เครอื่ งมอื ที่ใช้วัด การ

ผา่ น

๑ ๑. บอกสาระสาคัญของการอ่านออกเสียงได้ถกู ต้อง - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน :

๒. อา่ นออกเสียงรอ้ ยแก้วได้ถูกต้อง - ตรวจใบงานที่ ๑ การบอกหลักการ

๓. เหน็ ถงึ ความสาคัญของการอ่านออกเสียงได้ การอ่านออกเสียงบท อา่ นออกเสยี งบท

ถูกต้อง รอ้ ยแกว้ เร่ือง รอ้ ยแกว้

ปลอดภัยไว้ก่อน - แบบประเมนิ :

การอา่ นออกเสียง

รอ้ ยแก้ว

- ใบงานที่ ๑ เร่ือง

๒ ๒. บอกหลกั การสรปุ ข้อคิดจากเร่ืองท่อี ่านได้ถูกต้อง - ตรวจผลงาน การอา่ นออกเสียง นักเรยี น
บทร้อยแก้วเรอื่ ง ตอ้ งได้
๒. สรปุ ขอ้ คดิ จากเร่ืองท่ีอ่านไดถ้ กู ต้อง - ตรวจใบงานที่ ๒ ปลอดภัยไวก้ ่อน คะแนน
- แบบประเมิน : ๖๐ %
๓. เหน็ คุณคา่ ของการสรปุ ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอา่ น สรปุ ขอ้ คดิ เสริม การบอกหลักการ ขึ้นไป
สรปุ ข้อคดิ จากเร่ือง

ความรู้ ท่ีอ่าน

- แบบประเมนิ :

การสรปุ ขอ้ คดิ จาก

เรื่องที่อ่าน

- ใบงานที่ ๒ เร่ือง

สรปุ ข้อคิดเสริม

ความรู้

๓ ๑. บอกหลกั การการพูดแสดงความรไู้ ด้ถูกต้อง - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน :

๒. พดู แสดงความรูไ้ ด้ถูกต้อง - ตรวจใบงานที่ ๓ การบอก

๓. เหน็ ถึงความสาคญั ของการพูดแสดงความรไู้ ด้ พูดแสดงความรู้ สาระสาคญั ของ

ถกู ต้อง หรรษา การคัดลายมือ

- แบบประเมนิ :

การคัดลายมือ

- ใบงานท่ี ๓ เรื่อง

พดู แสดงความรู้

การวัดและประเมนิ ผล

ท่ี กจิ กรรมและชิ้นงานทส่ี าคัญ วิธกี ารวัด เคร่อื งมือทใี่ ช้วดั เกณฑ์
การ
๔ ๑. บอกหลกั การพูดรายงานการไดถ้ ูกต้อง - ตรวจผลงาน หรรษา ผา่ น
๒. พดู รายงานได้ถูกต้อง - ตรวจใบงานท่ี ๔
๓. เหน็ ความสาคญั ของการพูดรายงานได้ถกู ต้อง พูดรายงานมหาสนกุ - แบบประเมนิ : นักเรยี น
บอกสาระสาคัญ ต้องได้
๕ ๑. บอกสาระสาคัญของภาษาถน่ิ ได้ถูกต้อง - ตรวจผลงาน ของการเขียน คะแนน
๒. เปรียบเทยี บภาษาไทยกับภาษาถน่ิ ได้ถูกต้อง - ตรวจใบงานท่ี ๕ แผนภาพความคิด ๖๐ %
๓. เห็นถงึ ความสาคัญของภาษาถ่นิ ไดถ้ ูกต้อง ภาษาถิน่ ภาษาใจ - แบบประเมิน : ข้ึนไป
การเขียนแผนภาพ
ความคิด
- ใบงานท่ี ๔ เรอ่ื ง
พูดรายงานมหา
สนกุ

- แบบประเมนิ :
บอกสาระสาคัญ
ของการแต่ง
ประโยค
- แบบประเมิน :
แตง่ ประโยค
- ใบงานที่ ๕ เรอ่ื ง
ภาษาถน่ิ ภาษาใจ

๙. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ สื่อและแหล่งการเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ใบความรู้ เรอื่ ง หลักการอ่านออกเสยี ง

- ใบงาน เร่ือง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเรื่อง ปลอดภัยไว้กอ่ น

- Powerpoint เรื่อง หลักการอ่านออกเสียง

- หนงั สือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5

- สอ่ื

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ - ใบความรู้ เรือ่ ง หลักการการสรุปข้อคดิ จากเรื่องที่อา่ น

- ใบงาน เรื่อง สรปุ ข้อคิดเสริมความรู้

- Powerpoint เรือ่ ง หลกั การการสรุปข้อคิดจากเร่ืองทีอ่ า่ น

- หนงั สอื เรียนภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5

- สื่อ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ - ใบความรู้ เรื่อง พูดแสดงความรู้

- ใบงาน เร่ือง พดู แสดงความร้หู รรษา

- Powerpoint เรือ่ ง พดู แสดงความรู้

- หนังสือเรยี นภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5

- สื่อ

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ - ใบความรู้ เร่ือง พูดรายงาน

- ใบงาน เรอ่ื ง พูดรายงานมหาสนกุ

- Powerpoint เรือ่ ง พูดรายงาน

- หนังสอื เรียนภาษาพาที ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

- ส่อื

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ - ใบความรู้ เรื่อง ภาษาถ่นิ

- ใบงาน เรอ่ื ง ภาษาถน่ิ ภาษาใจ

- Powerpoint เรื่อง ภาษาถ่ิน

- หนงั สอื เรียนภาษาพาที ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5

- สื่อ

๑๐. แผนการจัดการเรยี นรรู้ ะดบั หนว่ ย

ชื่อแผนการจัดการเรยี นรู้ / จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมสาคญั
แผนท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้และ

ตัวชว้ี ดั

๑ - หลักการอา่ นออกเสียง เม่อื นักเรยี นเรียนเรื่องการอ่านออกเสียง แล้ว

ท ๑.๑ ป.๕/๑ นักเรียนสามารถ

ท ๑.๑ ป.๕/๒ ๑. บอกสาระสาคัญของการอา่ นออกเสียงได้

ท ๑.๑ ป.๕/๗ ถกู ต้อง

ท ๑.๑ ป.๕/๘ ๒. อ่านออกเสยี งร้อยแกว้ ได้ถูกต้อง

๓. เหน็ ถึงความสาคญั ของการอา่ นออกเสียงได้

ถกู ต้อง

๒ - หลกั การการสรปุ ข้อคดิ เมื่อนักเรียนเรียนเรือ่ งการสรุปข้อคิดจากเรื่องที่

จากเรือ่ งท่ีอ่าน อา่ น แล้วนักเรียนสามารถ

ท ๑.๑ ป.๕/๕ ๑. บอกหลักการสรปุ ขอ้ คดิ จากเรือ่ งท่อี า่ นได้

ท ๑.๑ ป.๕/๘ ถูกต้อง

๒. สรปุ ขอ้ คดิ จากเร่อื งทอ่ี า่ นไดถ้ ูกตอ้ ง

๓. เห็นคณุ คา่ ของการสรปุ ข้อคิดจากเร่ืองที่

อ่าน

๓ - การพดู แสดงความรู้ เมื่อนักเรยี นเรยี นเร่อื งการพูดแสดงความรู้ แล้ว

ท ๓.๑ ป.๕/๑ นกั เรียนสามารถ

ท ๓.๑ ป.๕/๕ ๑. บอกหลักการการพดู แสดงความร้ไู ด้

ถูกต้อง

๒. พดู แสดงความรู้ไดถ้ ูกต้อง

๓. เหน็ ถึงความสาคญั ของการพูดแสดงความรู้

ไดถ้ ูกตอ้ ง

๔ - การพูดรายงาน เม่ือนกั เรยี นเรยี นเรือ่ งการพูดรายงาน แลว้

ท ๓.๑ ป.๕/๔ นักเรียนสามารถ

ท ๓.๑ ป.๕/๕ ๑. บอกหลกั การพดู รายงานการได้ถูกต้อง

๒. พูดรายงานได้ถูกต้อง

๓. เห็นความสาคัญของการพดู รายงานได้

ถกู ต้อง

๕ - ภาษาถ่นิ เมอ่ื นกั เรยี นเรียนเรอื่ งภาษาถิ่น แลว้ นกั เรยี น

ท ๔.๑ ป.๕/๓ สามารถ

๑. บอกสาระสาคัญของภาษาถนิ่ ไดถ้ ูกตอ้ ง

ชอื่ แผนการจัดการเรียนรู้ / จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมสาคญั
แผนท่ี มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ

ตวั ชวี้ ดั

๒. เปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาถน่ิ ได้

ถกู ต้อง

๓. เหน็ ถงึ ความสาคญั ของภาษาถน่ิ ไดถ้ กู ตอ้ ง

๑๑. แผนการจัดการเรยี นรู้ระดบั ปฏบิ ตั ิการ (รายคาบ)

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑๐ ปลอดภยั ไว้กอ่ น

เรอื่ ง ภาษาถ่นิ

รหัส ท ๒๑๑๐๒ ช่อื รายวชิ าภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๑ ชัว่ โมง

ครวู ินยั สตั ถาผล

_________________________________________________________________________

มาตรฐานการเรยี นรู้
ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

ตวั ช้ีวัด
ป.๕/๓ เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่น

สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ภาษาถ่ิน คือ เป็นภาษาที่ใช้พูดจากันในแต่ละถ่ินต่าง ๆ ซ่ึงเกิดจากการใช้ภาษาเพื่อกา ร

ส่ือความหมาย ความเข้าใจกันระหว่างผู้คนท่ีอาศัยอยู่ตามถ่ินน้ัน ๆ ซึ่งอาจจะแตกต่างไปจาก
มาตรฐานหรือภาษาท่ีคนส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กัน และอาจจะแตกต่างจากภาษาในท้องถ่ิน
อ่นื ทั้งเสยี ง คาและ การใชค้ า

สาระการเรยี นรู/้ เนอื้ หายอ่ ย
ความรู้ (K)
๑. เพ่ือให้นกั เรยี นมีความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ภาษ
ทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. เพื่อให้นักเรียนสามารถนาภาษาถ่ินไปเป็นแนวทางในการคิด วิเคราะห์ และ จาแนกภาษา

ไดถ้ ูกต้อง

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
๑. เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาภาษาถิ่นไปเป็นแนวทางในการคิด วิเคราะห์ และ จาแนกภาษา

เร่อื งอ่ืน ๆ ได้

การประเมนิ ผลรวบยอด
ช้ินงานหรือภาระงาน
ใบงาน “ภาษาถิ่น ภาษาใจ”

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนา
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และครูให้นักเรียนดูบัตรภาพภาษาถ่ิน ครูและนักเรียนร่วม

สนทนา ครูเชอื่ มโยงเขา้ สบู่ ทเรยี น (K, P)
ขน้ั สอน
๑. ครูแจกใบความรู้เร่ือง ภาษาถิ่น พร้อมท้ังอธิบายความหมายของภาษาถ่ิน การจาแนก

ภาษาถิ่น ประเภทของภาษาถิ่น สาเหตุการเกิดภาษาถิ่น และยกตัวอย่าง พร้อมใช้ส่ือประกอบการ
สอน (K, P)

๒. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กันและให้นักเรียนทากิจกรรม “ภาษาถ่ิน
ภาษาใจ” ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจาแนกภาษาถิ่นครูช้ีแจงให้นักเรียนแต่ละจาแนก
ภาษาถนิ่ แตล่ ะภมู ิภาคใหถ้ กู ตอ้ ง พรอ้ มทงั้ ออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน (K)

๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มจาแนกภาษาถ่ิน พร้อมทั้งคัดเลือกตัวแทน และเตรียมตัวออกมา
นาเสนอหน้าชัน้ เรียน (P)

๔. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหน้าช้ัน ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
พร้อมทงั้ ครใู ห้ขอ้ เสนอแนะและให้ความรเู้ พ่ิมเติม (P, K)

ขั้นสรปุ
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรม “ภาษาถิ่นภาษาใจ” เป็นกิจกรรมท่ีให้นักเรียนได้

จาแนกภาษาถิ่น (K) นักเรียนสามารถทากิจกรรมได้ถูกต้อง สะท้อนให้เห็นว่านักเรียนมีความรู้ความ
เข้าใจ และสามารถนาความรูม้ าใชใ้ นการทากจิ กรรม (P)

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้เรื่อง ภาษาถ่ิน เป็นภาษาท่ีใช้พูดจากันในแต่ละถิ่น
ต่าง ๆ ซง่ึ เกิดจากการใช้ภาษาเพ่ือการ ส่ือความหมาย ความเข้าใจกันระหว่างผู้คนที่อาศัยอยู่ตามถ่ิน
นั้น ๆ ซ่ึงอาจจะแตกต่างไปจากมาตรฐานหรือภาษาท่ีคนส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กัน และ
อาจจะแตกต่างจากภาษาในท้องถิ่นอื่นท้ังเสียง คาและ การใช้คา (K) จากท่ีนักเรียนได้เรียนและทา
กิจกรรม ทานักเรียนเกิดองค์ความรู้ (P) และสามารถนาความรู้เกี่ยวกับภาษาถิ่นไปเป็นแนวทางใน
การคดิ วเิ คราะห์ และ จาแนกภาษาเรื่องอ่ืน ๆ ได้ (A)

การวดั และประเมนิ ผล
วธิ กี ารวัดประเมนิ ผล
๑. แบบประเมินกจิ กรรม “ภาษาถิ่นภาษาใจ” เป็นการวัดผลประเมินผลของนักเรียนรายกลุ่ม

เกี่ยวกับการจาแนกภาษาถิ่น โดยมีประเด็นการวัดผล ดังน้ี มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับภาษาถ่ิน
สามารถจาแนกภาษาถิ่นไดถ้ ูกตอ้ ง ความร่วมมอื ในการทางานกลุ่มอยา่ งสามัคคี และความสะอาดเป็น
ระเบียบของใบกิจกรรม จากน้ันครูประเมินกิจกรรม “ภาษาถิ่นภาษาใจ” เพ่ือใช้ไปเป็นแนวทางใน
การปรับปรุงพฒั นานักเรยี นและการจัดการเรยี นการสอนของครูในครั้งต่อ ๆ ไป

เครอื่ งมือในการวดั ผลประเมนิ ผล
๑. กิจกรรม “ภาษาถิ่นภาษาใจ” เป็นกิจกรรมกลุ่มท่ีให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้ความรู้ความ

เข้าใจเก่ียวกับภาษาถ่ิน (K) พร้อมท้ังสามารถจาแนกภาษาถิ่นได้ถูกต้อง ซึ่งทาให้นักเรียนเกิดองค์
ความรู้ (P) และสามารถนาความรู้เกี่ยวกับภาษาถ่ินไปเป็นแนวทางในการคิด วิเคราะห์ และ จาแนก
ภาษาเร่อื งอน่ื ๆ ได้ (A)

เกณฑ์การวัดประเมนิ ผล
๑. แบบประเมินกิจกรรม “ภาษาถิ่นภาษาใจ” ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ คิดเป็นคะแนน ๗

คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน อย่ใู นระดับดี

ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
๑. ใบความรู้ เรอ่ื ง ภาษาถ่นิ
๒. บัตรภาพภาษาถ่ิน
๓. กระดานสานวนชวนฝนั

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น

แบบทดสอบก่อนเรยี น

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ จานวน ๑๐ ขอ้
คาสง่ั ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องทสี่ ุด

๑. ข้อใดจบั คู่ภาษาถนิ่ ถูกต้อง ค. ขนนุ ง. ฝรงั่
ก. พี (อ้วน) :ภาษาถิน่ เหนือ
ข. เว้า (พูด) :ภาษาถ่นิ อสี าน ๗. คาในข้อใดเป็นภาษาถิ่นเหนือทุกคา
ค. แต๊ (จรงิ ) :ภาษาถิ่นใต้
ง. แล(ด)ู :ภาษาถน่ิ อสี าน ก. ลา สม้ ปา้ ก

ข. ขจี้ ุ๊ ล่น หวกั

ค. แม่ญงิ เขา่ โพด ตะล่อม

ง. ข้าวสาลี พอซ่าย กาสะลอง

๒. คาภาษาถ่ินว่า “คดิ ฮอด” มคี วามหมายว่าอะไร ๘. ขอ้ ใดเป็นประโยคภาษาถน่ิ เหนือ
ก. สนกุ ข. โกหก ค.คิดถึง ง. ความคิด
ก. ฉานอยู่เชียงใหม่

ข. เฮาอยู่เชยี งใหม่เจ้า

๓. คาว่า “แอ่ว” เปน็ คาในภาษาถ่ินภาคใด ค. ขอ่ ยอยู่เชียงใหม่เด้อ
ก. ภาษาถน่ิ กลาง
ข. ภาษาถน่ิ เหนอื ง. ฉนั อยเู่ ชยี งใหม่จ้า
ค. ภาษาถิ่นอีสาน
ง. ภาคใต้ ๙. ปิ๊ก เป็นภาษาถ่นิ ใด
ก. ภาษาถน่ิ อีสาน
๔. ข้อใดเปน็ ภาษาถ่ินเหนือของ “ฉนั จะไปตลาด” ข. ภาษาถ่ินกลาง
ค. ภาษาถิน่ เหนอื
ก. เฮาจะไปลาด ข. เฮาจะไปกาด ง. ภาษาถ่ินใต้

ค. เฮาจะไปหลาด ง. เฮาจะปก๊ิ กาด ๑๐. ข้อใดไม่ใช่ภาษาถิ่นใต้

๕. ขอ้ ใดเป็นภาษาถน่ิ ใตท้ ุกคา ก. ทาไหร ข. หรอย

ก. ขอ้ ย เวา้ ข. ขจ้ี ุ๊ ฮัก ค.แหรง ง.เฮา

ค. แหลง หรอย ง. แซบ รา

๖. คาวา่ “ชมพู่” ภาษาถ่นิ ใต้แปลว่าอะไร

ก. ลาไย ข. สบั ปะรด

แบบทดสอบหลังเรยี น

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ จานวน ๑๐ ข้อ
คาสั่ง ใหน้ กั เรียนเลอื กคาตอบท่ถี กู ต้องทีส่ ดุ

๑. คาวา่ “ อู้ “ มีความหมายว่า พดู เป็นคาภาษาถนิ่ ๕.ข้อใดเปน็ ประโยคภาษาถ่นิ เหนอื
ของภาคใด ก. ฉานอยเู่ ชียงใหม่
ข. เฮาอย่เู ชยี งใหมเ่ จา้
ก. ภาษาเหนือ ค. ขอ่ ยอยู่เชยี งใหมเ่ ดอ้
ข. ภาษากลาง ง. ฉันอยเู่ ชียงใหมจ่ ้า
ค. ภาษาอสี าน
ง. ภาษาใต้ ๖. คาในขอ้ ใดมีความหมายต่างจากพวก
๒. คาในข้อใดมคี วามหมายว่า ”กะลามะพรา้ ว” ก. หรอย
ก. หวัก ข. ลา
ข. จอ้ ง ค. แซบ
ค. กะโป๋ ง. พรก
ง. เตว่

๓. คาว่า “เกีย๊ ด” เป็นคาภาษาถน่ิ ใด มีความหมายว่า ๗. คาในขอ้ ใดเปน็ ภาษาถ่ินเหนือทุกคา
อย่างไร ก. ลา สม้ ป้าก
ก. ภาษาเหนอื แปลว่า โมโห ข. ขจี้ ุ๊ ล่น หวัก
ข. ภาษาใต้ แปลวา่ โมโห ค. ข้าวสาลี พอซา่ ย กาสะลอง
ค. ภาษาอีสาน แปลวา่ โมโห ง. แมญ่ งิ เข่าโพด ตะล่อม
ง. ภาษากลาง แปลวา่ โมโห

๔. ในภาษาอีสาน คาว่า “บักสีดา” หมายถงึ ผลไม้ชนดิ ๘. ขอ้ ใดเป็นภาษาถนิ่ ใต้ทุกคา
ใด
ก. ฝร่ัง ข. สับปะรด ก. ขอ้ ย เวา้ ข. ขีจ้ ุ๊ ฮัก
ค. มะละกอ ง. ลาไย
ค. แหลง หรอย ง. แซบ รา

๙. ขอ้ ใดจับคภู่ าษาถ่นิ ถูกตอ้ ง
ก. พี (อว้ น) :ภาษาถ่ินเหนือ
ข. เวา้ (พูด) :ภาษาถ่ินอีสาน
ค. แต๊ (จรงิ ) :ภาษาถ่นิ ใต้
ง. แล(ดู) :ภาษาถน่ิ อสี าน

๑๐. เมอื เฮอื น เป็นภาษาภน่ิ ภาคใด
ก. ภาษาเหนอื
ข. ภาษากลาง
ค. ภาษาอสี าน
ง. ภาษาใต้

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรยี น

ก่อนเรยี น หลงั เรียน

๑. ก ๑. ก
๒. ค ๒. ค
๓. ข ๓. ก
๔. ข ๔. ก
๕. ค ๕. ง
๖. ง ๖. ง
๗. ง ๗. ง
๘. ข ๘. ค
๙. ค ๙. ก
๑๐. ง ๑๐. ค

ส่อื /นวตั กรรม

ใบความรู้ เร่ือง ภาษาถน่ิ

ภาษาถนิ่

ภาษาถิ่น คือ เป็นภาษาท่ีใช้พูดจากันในแต่ละถ่ินต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการใช้ภาษาเพ่ือการ
สื่อความหมาย ความเข้าใจกันระหว่างผู้คนที่อาศัยอยู่ตามถิ่นนั้น ๆ ซึ่งอาจจะแตกต่างไปจาก
มาตรฐานหรือภาษาท่ีคนส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กัน และอาจจะแตกต่างจากภาษาในท้องถิ่น
อน่ื ทั้งเสียง คาและ การใชค้ า

สาเหตุการเกดิ ภาษาถ่ิน

สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กดิ ภาษาถ่ินมีอยู่ ๒ สาเหตุดว้ ยกัน ได้แก่
สภาพภมู ศิ าสตร์
เมอื่ กลมุ่ คนอาศัยอยู่ในสถานทเี่ ดยี วกนั ย่อมตอ้ งใช้ภาษาเดียวกันในการส่ือสาร แต่หาก

กลุม่ ชนอพยพยา้ ยถิน่ ฐานไป ไมว่ า่ จะเปน็ ผลจากการรุกรานของศัตรู หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ย่อม
ส่งผลใหภ้ าษาของชนกลุ่มน้ันมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยอาจออกเสียงเปล่ียนไป ทาให้คาและ
ความหมายของแต่ละคาน้ันเปลี่ยนไปเชน่ กัน จึงเปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ภาษาถิ่นขน้ึ นั่นเอง

สภาพแวดล้อม
เมื่อกลุ่มคนอาศัยอยู่ใกล้ชิดกัน ย่อมเกิดการรับและการผสมผสานกันทางด้านภาษา

และวัฒนธรรม เช่น ภาษาถิ่นใต้ ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาชวา-มลายู ภาษาถ่ินเหนือ ได้รับอิทธิพล
จากภาษาพม่าและมอญ ภาษาถ่นิ อีสาน ได้รบั อทิ ธพิ ลมาจาก ภาษาเขมร และลาว เปน็ ต้น

ประเภทของภาษาถ่ิน

ประเภทของภาษาถิ่น มีดังน้ี
ภาษาถ่นิ กลาง เป็นภาษาราชการของชาวกรุงเทพฯ แล้วเรายงั สามารถไดย้ นิ สาเนียงภาษา

เหนอ่ ของคนจังหวัดนครปฐม และสุพรรณบุรีดว้ ย
ภาษาถิ่นเหนอื เปน็ ภาษาท่มี ีสาเนียงการออกเสียงท่โี ดดเด่นนา่ รกั ไม่เหมือนใคร เช่น คาวา่

เด๋ิก แปลว่า ดกึ , ปวดตอ้ ง แปลวา่ ปวดท้อง , วนั พกู่ หมายถึง พรุ่งนี้ , ต๋นี หมายถึง เท้า และมกั ลงทา้ ย
ประโยคพูดอยา่ งอ่อนหวานด้วยคาว่า “เจ้า” เป็นต้น

ภาษาถน่ิ อีสาน มักเปน็ คาหรือสาเนยี งทเ่ี ราได้ยินคุ้นหู เชน่ คาวา่ ไปบ่ แปลว่า ไปหรอื เปลา่ ,
ชั่วโมง พูดวา่ ซัวโมง , ขา้ งแรมพดู ว่า เดอื นด๋บั ฯลฯ

ภาษาถ่นิ ใต้ มักจะเปน็ คาพูดห้วน ๆ สั้น ๆ เช่น คาวา่ ตะกร้า พูดว่า กร้า , กระทะ พูดว่า ทะ ,
ถังนา้ พูดว่า ทุงน้า , เมษายน พดู วา่ เมษรา , วนั พฤหสั บดี พูดว่า วันหัด เปน็ ต้น
ตัวอยา่ งภาษาถนิ่

คานาม

กลาง เหนือ อสี าน ใต้

มะละกอ ป่าก๋วยเด็ต บงั หุง่ ลอกอ๋

ฟกั ทอง มะฟกั แกว้ บกั อึ นา้ เต้า

จงิ้ จก จกั เกยี้ ม ขเี้ กยี้ ม จ้ิงจก

กะลา กะล่ง กะโป้ พลก

ร่ม จอ้ ง รม่ รม่

กางเกง เตี่ยว โล้ง เหนบ็ เพลา

คาสรรพนาม

กลาง เหนอื อีสาน ใต้
ฉัน เรา
พวกเรา เฮา,ขา้ เจ้า ขอ่ ย โหมเรา

กลาง หมู่เฮา หมูเ่ ฮา ใต้
โกหก ขหี้ อ๊ ก
คากริยา แล
ดู แหลง
พูด เหนอื อีสาน
ข้ีจุ๊ ขีต้ ๋ัว
ผอ่ เบิ่ง
อู้ เว้า

ประโยชน์ในการศกึ ษาภาษาถ่นิ

- เกิดความเข้าใจในเร่ืองของภาษาว่าภาษาในโลกนี้ นอกจากจะมีหลายตระกูลแลว้ ในตระกลู หนึ่ง ๆ
ยังมีภาษาย่อยอีกหลายภาษา

- เขา้ ใจความเปน็ มาของภาษาและซาบซ้ึงในวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา และเห็นความสาคัญของ
ภาษาไทยถิน่ นัน้ ๆ

- เขา้ ใจในเร่ืองการกลายเสยี งและความหมายของคาในภาษาไทยถนิ่ หนึ่งอาจเหน็ การใชค้ าบางคา
บางถ่นิ ฟังแลว้ อาจถือว่าเปน็ คาหยาบ แตค่ วามหมายไม่ใช่อย่างท่ีเขา้ ใจ เป็นตน้

- เป็นแนวทางในการเรียนร้วู ิธกี ารและวเิ คราะห์ภาษาในระบบต่าง ๆ เชน่ เสียงพยญั ชนะเสยี งสระ
เสยี งวรรณยุกต์และอน่ื ๆ

- เป็นประโยชนใ์ นการสอนภาษาแกเ่ ด็กนกั เรยี นทพ่ี ูดภาษาถ่นิ และแก้ไขปญั หาเด็กนักเรียนที่ออก
เสียงภาษาไทยมาตรฐานไมช่ ดั พรอ้ มนาความรู้ไปแกป้ ญั หาในการเรยี นการสอนภาษาไทยแกเ่ ดก็ นักเรยี น

คมู่ อื การใชส้ ่ือ
“กระดานภาษาถน่ิ สื่อความรู้” (ขน้ั สอน)

กระดานภาษาถน่ิ สื่อความรู้

ภาค คา

สอ่ื การสอนภาษาถ่ิน ส่ือความรู้
กระดานภาษาถิน่ ส่อื ความรู้ คอื สอื่ ที่ใชป้ ระกอบแผนการจดั การเรยี นรูเ้ ร่อื งภาษาถ่นิ ซึง่ ใชเ้ ป็นสอื่

ประกอบกจิ กรรมในข้นั สอน โดยจะใหน้ ักเรียนจับค่ภู าษาถ่ินแตล่ ะถิ่น และใหน้ ักเรยี นเลือกบตั รคามาติดใน
ชอ่ งตารางให้ถูกต้อง เพ่อื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิของนกั เรียน
วธิ ใี ชส้ อื่ การสอน

๒. ครูอธิบายการใช้สอื่ โดยครูใหน้ กั เรยี นดบู ัตรคาว่าในบตั รคามีข้อความสอดคล้องกบั บัตรขอ้ ความ
ในขอ้ ใด

๓. ครใู ห้นักเรียนส่งตัวแทนออกมาเลอื กบตั รคาข้อความ ไปติดในกระดานภาษาถนิ่ ส่อื ความรู้ ให้
สอดคล้องกบั บตั รคา

๔. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยบัตรคาในกระดานภาษาถิน่ สอ่ื ความรู้



คู่มือการใชส้ ่ือ
คลปิ วดี โี อเรื่อง ตลก ๖ ฉาก สาว ๔ ภาคจบี หนุ่ม

ส่อื การสอนคลปิ วีดีโอเรอ่ื ง “ตลก ๖ ฉาก สาว ๔ ภาคจีบหนุม่ (ขน้ั นา)
คลปิ วดี ีโอเรอ่ื ง ตลก ๖ ฉาก สาว ๔ ภาคจีบหน่มุ คือ สอ่ื ที่ใชป้ ระกอบแผนการจดั การเรียนรู้เร่ือง

ภาษาถนิ่ ซึง่ ใช้เป็นสอื่ ประกอบกิจกรรมในขน้ั นา โดยใหน้ ักเรียนดูคลิปวดี โี อเร่อื ง ตลก ๖ ฉาก สาว ๔ ภาค
จบี หนุ่ม และให้นกั เรียนพูดแสดงความคิดเห็น เพื่อทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นก่อนเข้าสู่บทเรียน
วิธีการใชส้ ื่อ

๑. ครูเปดิ วดี โี อเรอ่ื ง ตลก ๖ ฉาก สาว ๔ ภาคจบี หนุม่ ให้นกั เรยี นทุกคนดู
๒. ครูและนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็
๓. ครเู ชื่อมโยงเข้าสภู่ าษาถิ่น

แบบฝึกหดั

ใบงาน
เรอ่ื ง “ภาษาถ่นิ ภาษาใจ”

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มจาแนกภาษาถ่นิ ในแต่ละภูมิภาคให้ถูกต้อง พร้อมส่งตัวแทนออกมานาเสนอ
หน้าชน้ั เรยี น

เบ่งิ จ๊าง เรือน หลาด โคมไฟ
เว้า มะละกอ อู้คาเมือง แหลง บกั หงุ่ หรอย

ภาษาไทยถน่ิ เหนอื ภาษาไทยถ่ินอสี าน

............................................... ...............................................
............................................... ...............................................
............................................... ...............................................
............................................... ...............................................

ภาษาไทยถ่ินใต้ ภาษาไทยมาตรฐาน

............................................... ...............................................
............................................... ...............................................
............................................... ...............................................
............................................... ...............................................

สมาชกิ ในกลุ่ม
1. ....................................................................................................เลขที่......ชน้ั ......................
2. ....................................................................................................เลขที่......ชั้น......................
3. ....................................................................................................เลขที่......ชน้ั ......................
4. ....................................................................................................เลขที่......ชน้ั ......................
5. ....................................................................................................เลขที่......ชั้น......................
6. ....................................................................................................เลขที่......ชั้น......................
7. ....................................................................................................เลขที่......ชน้ั ......................
8. ....................................................................................................เลขที่......ชั้น......................

แบบวัดและประเมนิ ผล

แบบประเมนิ “ภาษาถน่ิ ภาษาใจ

กลมุ่ มีความรู้ความ สามารถนา
ที่ เข้าใจเก่ยี วกบั จาแนกภาษาถ่ิน

ชอื่ - นามสกุล ภาษาถนิ่ ได้ถกู ต้อง

๑๒๓๑๒๓


จ” ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ สรปุ ผล

ความร่วมมือใน ความสะอาดเป็น คะแนน
การทางานกลุ่ม ระเบยี บของ เต็ม

กจิ กรรม

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑๒ ผา่ น ไม่ผา่ น

ลงชือ่ ………………………………….ผ้ปู ระเมิน
(……………………….…………………..…)
…………/..…………/……….....

เกณฑ์การใหค้ ะแนนใบงาน
เรอ่ื ง ภาษาถน่ิ ภาษาใจ

ประเด็นการประเมนิ รายละเอยี ดการให้คะแนน

มคี วามร้คู วามเข้าใจ ๑ คะแนน คอื ขาดความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ภาษาถิ่น
เกยี่ วกับภาษาถน่ิ ๒ คะแนน คือ มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับภาษาถิน่ ได้บางประเด็น
๓ คะแนน คือ มีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั ภาษาถน่ิ
(๓ คะแนน)

สามารถจาแนกภาษาถิน่ ๑ คะแนน คอื สามารถแยกคาภาษาถ่ินในแต่ละภาค จากเรื่อง ภาษา
ไดถ้ ูกต้อง ถน่ิ ได้บางคา
(๓ คะแนน)
๒ คะแนน คือ สามารถแยกคาภาษาถิ่นในแต่ละภาค จากเรื่อง ภาษา
ถน่ิ ได้

๓ คะแนน คอื สามารถแยกคาภาษาถน่ิ ในแต่ละภาค จากเรื่อง ภาษา
ถิ่น ไดถ้ กู ต้อง

สง่ งานตรงตามเวลา ๑ คะแนน คอื สง่ งานเลยเวลาทกี่ าหนด
ท่ีกาหนด ๒ คะแนน คือ ส่งงานเลยเวลาทก่ี าหนดเลก็ น้อย
(๓ คะแนน) ๓ คะแนน คอื ส่งงานตรงตามเวลาท่กี าหนด

มีความสะอาดเป็น ๑ คะแนน คอื ไมม่ ีความสะอาดเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยของใบกิจกรรม
ระเบยี บเรยี บร้อยของ ๒ คะแนน คือ มีความสะอาดเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยของใบกจิ กรรม

ใบกจิ กรรม ในบางสว่ น
(๓ คะแนน) ๓ คะแนน คือ มีความสะอาดเปน็ ระเบียบเรียบร้อยของใบกจิ กรรม

เกณฑก์ ารประเมินใบงาน
เรอ่ื ง ภาษาถน่ิ ภาษาใจ

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

๑-๔ ปรบั ปรุง
๕-๙ ดี
๑๐ - ๑๒ ดมี าก

*หมายเหตุ แบบประเมินใบกจิ กรรม ภาษาถิน่ ภาษาใจ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐ คดิ เปน็ ๗
คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน อยูใ่ นระดบั ดี


Click to View FlipBook Version