36
3.4.22 หนา้ เว็บตอนบันทึกข้อมูลเสรจ็ คลกิ กลบั สู่หน้าหลักเพื่อทำรายการถดั ไป
รปู ท่ี 3.27 การเบิกอปุ กรณเ์ สรจ็
3.4.23 หน้าเว็บไซตฟ์ อรม์ เพิ่มอปุ กรณ์
รปู ที่ 3.28 หนา้ ฟอรม์ อุปกรณ์การเพ่ิม
3.4.24 หน้าเวบ็ ตอนบนั ทึกข้อมลู เสรจ็ คลกิ กลับสูห่ น้าหลักเพ่ือทำรายการถัดไป
รปู ท่ี 3.29 การเพิม่ อปุ กรณ์เสร็จ
37
3.4.25 ขอ้ มูลใน google sheet resform และadd formท่ีเราตง้ั ชื่อไว้ดา้ นหลงั ซ้ายมือ
รูปท่ี 3.30 ข้อมลู ใน google sheet
3.4.26 สรา้ งเว็บไซต์ หน้าเวบ็ ไปเชือ่ มกบั หนา้ login ไปทเี่ ผยแพร่ >> ใช้เปน็ แอปพลิเคชัน
รูปท่ี 3.31 วธิ กี ารนำขอ้ มลู ไปเช่ือมกับหน้า login
3.4.27 ต้ังค่าตามรปู ดา้ นล่างแล้วกดอัปเดต
รปู ท่ี 3.32 การเลือกคำส่ัง
38
3.4.28 Copy ลิงคเ์ พื่อจะนำไปวางในไฟล์ welcome.html ที่สร้างไวใ้ นส่วนของ Login
รูปท่ี 3.33 Copy ลงิ คเ์ พ่ือนำไปใชท้ ดสอบ
3.4.29 นำลิงค์ไปวาง ไฟล์ welcome.html ตามขดี ทเ่ี หลอื งตามรูปดา้ นล่างแลว้ กดบันทึก
รูปท่ี 3.34 นำลิงค์ไปวางไวท้ ่ี ไฟล์ welcome.html
3.4.30 ระบบเวบ็ ไซต์ฉบบั สมบรู ณ์
รปู ท่ี 3.35 ระบบแบบสมบรู ณ์
39
3.4.31 การขอToken ทำเวบ็ ไซต์
รปู ที่ 3.36 เข้า google ไปที่ https://notify-bot.line.me/en/
3.4.32 เขา้ สู่ระบบ คลิกตามข้ันตอนรปู ที่ 3.37
รูปท่ี 3.37 ขอ to ken
3.4.33 คลกิ Generate token
รปู ที่ 3.38 คลิก Generate token
40
3.4.34 ตั้งชอื่ กลุ่มว่า NT stock-เบกิ และเลือกตามลำดบั รูป 3.39
รูปท่ี 3.39 ตง้ั ช่ือกลุ่ม Line เบิกอปุ กรณ์
3.4.35 คลกิ Copy to ken
รูปท่ี 3.40 To ken ท่ไี ด้เบิกอุปกรณ์
41
3.4.36 ต้งั ชื่อกลมุ่ วา่ NT stock-เพิ่ม และเลอื กตามลำดบั รูป 3.41
รปู ที่ 3.41 ตัง้ ช่อื กลุ่ม Lineเพ่ิมอปุ กรณ์
3.4.37 คลิก Copy to ken
รปู ที่ 3.42 To ken ท่ไี ด้เพิ่มอุปกรณ์
3.4.38 แอด Line Notify เป็นเพอ่ื น โดยค้นหาคำวา่ Line Notify แล้วแอดเปน็ เพื่อนให้ครบ
รูปท่ี 3.43 แอด line Notify
42
3.4.39 กลมุ่ ที่สรา้ งเสรจ็ เรยี บร้อย
รปู ท่ี 3.44 กลุม่ แจง้ เตอื นเบิกและเพิ่มอุปกรณ์
3.4.40 สรา้ งระบบแจ้งเตือน นำ To ken ทไี่ ด้ไปใส่ในไฟล์ Code.gs
รปู ท่ี 3.45 นำ To ken มาใส่ในโค้ด Cord.gs
43
3.4.41 ตัวอยา่ งข้อมลู ท่ีแจง้ เตอื น NT stock-เบิก/เพ่ิม
รูปที่ 3.46 แสดงข้อมูลการแจ้งเตือนของกลุ่ม NT stock-เบิก/เพม่ิ
44
3.5 การออกแบบและพฒั นาระบบจดจำใบหนา้
โดยการดำเนินงานออกแบบและพัฒนาระบบจดจดใบหน้าโปรแกรมที่ใช้งานระบบจดจำ
ใบหน้านั้นได้มีลิขสิทธ์ิผู้จัดทำจึงได้มีการขอลิขสิทธ์ิ License ในฐานะนักศึกษา ได้ทดลองใช้งาน
จำนวนนาน 6 เดือนเพื่อนำมาพัฒนาความรู้ในส่วนของระบบจดจำใบหน้าและได้นำโปรแกรมมา
ประกอบพัฒนาเป็นโครงานในสว่ นของระบบจดจำใบหนา้ ใช้เพื่อจดจำใบหนา้ บุคคลภายในบริษัทเพ่ือ
ตรวจสอบการใช้บรริการการเข้าห้องอปุ กรณ์ให้สะดวกต่อการตรวจสอบข้อมลู อปุ กรณ์และข้อมูลของ
บุคคลในบรษิ ทั ได้
รปู ที่ 3.47 ออกแบบ Flow chart การทำงานของระบบจดจำใบหนา้
อธบิ ายบล็อกการทำงาน
เมื่อเริ่มกดปุ่ม Run ระบบกล้องจะเริ่มทำการตรวจจับใบหน้าบุคคลที่อยู่ภายในเฟรมของ
กล้องถ้าเป็นบุคคลที่รู้จักจะทำการ Capture และส่งผลแจ้งเตือนมายัง Line พร้อมรูปภาพกับ
ขอ้ ความ ในส่วนของบุคคลไม่รจู้ ักก็จะทำการ Capture และส่งผลแจง้ เตือนมายงั Line พรอ้ มรูปภาพ
45
กับข้อความเช่นเดียวกันและจะแสดงรูปภาพที่ได้ทำการ Capture ไว้ผ่านทางจอ Debug ของตัว
ระบบและเปน็ อนั สน้ิ สุดการทำงานของระบบ
รปู ท่ี 3.48 บล็อกไดอะแกรมการทำงานของระบบจดจำใบหนา้
อธบิ ายบล็อกการทำงาน
ในสว่ นของระบบจดจำใบหนา้ นน้ั จะประกอบไปด้วย
1. Button Run คือ บลอ็ กในการสั่งใหร้ ะบบเรม่ิ ทำงาน
2. Webcam คอื บล็อกของการเชอ่ื มต่อของกลอ้ ง Notebook หรือ กล้องทเ่ี ราไดต้ ิดตั้ง
3. Face Rec คอื บลอ็ กในการปรบั ระยะในการโฟกสั ของกลอ้ งและความแมน่ ยำในการ
ตรวจจบั
4. Payload Selections คือ บล็อกทเี่ อาไว้ตั้งคา่ เพ่ือที่จะใหแ้ สดงคา่ ใน Logical
5. Logical คือ บล็อกท่ตี ้งั ค่า Out put ท่จี ะแสดงผลรบั ออกมา
6. If Else คือ บล็อกทเ่ี อาไว้เขียนระบบคำสั่ง
7. Delay คอื บล็อกในการหน่วงเวลาในการแคปรปู ภาพ
8. Line Notify คอื บล็อกทีเ่ อาไว้ใชใ้ นการแจ้งเตอื นผ่านแอพ Line
9. Debug คอื บล็อกจอทเี่ อาไวแ้ สดงผลรบั ของระบบจดจำใบหนา้
46
3.6 ขัน้ ตอนการดาวโหลดโปรแกรมรบบจดจำใบหน้า
3.6.1 เขา้ ไปที่เวบ็ ไซต์ https://git.cira-lab.com/cira/cira-core-windows
รูปท่ี 3.49 Download โปรแกรมจดจำใบหน้า
3.6.2 Download โปรแกรมไฟล์ที่ 1 และ 2 เมอื่ ทำการ Download เสรจ็ ให้ทำการแตก
ไฟล์ทั้ง 2 ไฟล์ให้เรียบร้อย
รูปท่ี 3.50 Download โปรแกรม
3.6.3 เมื่อติดต้งั โปรแกรมเสร็จ โปรแกรมจะอย่หู น้า Desktop ดังรปู ที่ 3.49
รปู ท่ี 3.51 โปรแกรมพรอ้ มใช้งาน
47
3.6.4 ทำการขอ License โปรแกรมประมาณ 1-2 วัน ทางบรษิ ทั จะสง่ รหัส Licenseผ่าน
ทางEmailมา (อายุ license ประมาณ 4-6 เดือน)
รูปที่ 3.52 ขอ License โปรแกรม
3.6.5 Copy Licenseหรือรหัสทส่ี ่งมาทาง Email กดเข้าโปรแกรมคลิกตรงคำวา่ Help
รปู ที่ 3.53 คลกิ ตรงคำว่า Help
3.6.6 คลิกตรงคำว่า Register License นำ Licenseใส่ในช่อง Signature จากนั้นคลิก
Enter license key
รูปท่ี 3.54 รหัสทีเ่ รา Copy ใสใ่ นชอ่ ง Signature
48
3.7 ขนั้ ตอนการทำระบบจำจำใบหนา้
3.7.1 คลิกแทบเมนูอุปกรณจ์ ะออกมานำButton Run , Web Cam , Face Rec และ
Debug ออกมาและทำการต่อสาย
รูปท่ี 3.55 การสรา้ งระบบจดจำใบหนา้
3.7.2 นำ Face Trainer ออกมาดังรปู ที่ 3.56
รูปท่ี 3.56 Face Trainer
3.7.3 ตั้งค่า Add Person ต้งั ช่อื บคุ คลท่ีต้องการเทรนใบหน้าและตั้งชอ่ื
รูปท่ี 3.57 ตัง้ ชื่อบคุ คลท่ตี ้องการจะเทรนใบหน้า
49
3.7.4 คลิกที่ชื่อเพื่อทำการแอดรูปภาพ จากนั้นคลิกตรงคำว่า Add sample เพื่อที่จะเลือก
รูปจากในเครอื่ งของเรา (รูปภาพอย่างนอ้ ย 4 มุม)
รปู ที่ 3.58 แอดรปู ภาพ ท่ีเราต้องการจะเทรนใบหน้า
3.7.5 นำตัว Payload Selections ออกมาและลากเสน้ ให้ตอ่ กับตัว Face Rec และคลิกตั้ง
คา่ ตวั ของ Payload Selections
รูปที่ 3.59 นำตัว Payload Selections ออกมา
3.7.6 คลกิ ถกู ท่ีช่อง Face Rec เพื่อทีจ่ ะใชข้ ้อมูล Payload
รูปที่ 3.60 คลกิ ถูกทช่ี ่อง Face Rec
50
3.7.7 ใหเ้ รานำตวั Logical ออกมาและทำการต่อสายเข้ากับ Payload Selections
รปู ท่ี 3.61 นำตัว Logical ตอ่ สายเขา้ กับ Payload Selections
3.7.8 ต้งั คา่ Logical คลิกตรงชอ่ ง Key และเลอื กเปลี่ยนเป็น name operation เป็น !=
รูปท่ี 3.62 การตั้งค่า Logical
3.7.9 นำ if Else ออกมาทั้งหมด 3 ตัว ดงั น้ี
รปู ที่ 3.63 นำ if Else ออกมาทัง้ หมด 3 ตวั
51
3.7.10 ทำการเขียนโค้ด if Elseตวั ที่ 1 ดว้ ยภาษา Java หนา้ ทต่ี รวจจบั ใบหน้าแบบเรียวทาม
รูปท่ี 3.64 เขียนโคด้ คำส่ังของบลอ็ ก if Else ตวั ที่1
3.7.11 เทำการหน่วงเวลาด้วย Delay(1) เป็นเวลา 5 วินาที ด้วย Delay(1) ต่อเข้ากับ true
ของ if Else ตวั แรกและปรบั ไปที่ 5000 mS
รูปที่ 3.65 การหนว่ งเวลาดว้ ย Delay(1)
3.7.12 if else ตัวท่ี 2 หนา้ ที่ตรวจเชค็ วา่ มีใบหนา้ หรอื ไม่ ทำการไปต้งั ค่าและทำการเขียน
Code ภาษา Java ใหก้ ับ if else ตัวที่ 2
รูปที่ 3.66 ตัง้ คา่ และเขยี นโค้ด คำส่งั ของบล็อก if Else ท่ี 2
52
3.7.13 ทำการเขยี นโคด้ if Elseตัวที่ 1 ดว้ ยภาษา Java ตรวจสอบว่ามีคนอย่ใู นกล้องหรือไม่
รปู ที่ 3.67 ตั้งค่าและเขยี นโค้ด คำสั่งของบลอ็ ก if Else ท่ี 3
3.7.14 หนว่ งเวลาด้วย Delay(2) เป็นเวลา 10 วนิ าที และนำตัว Delay(2) ออกมาต่อเข้ากับ
true ของ if Else ตัวท่ี3 ตง้ั คา่ ไปที่ 10000 ms
รูปที่ 3.68 การหนว่ งเวลาด้วย Delay(2)
3.7.15 ใช้ Box ของ Wait(1) เชื่อมต่อไปยัง Box ของ if else(2) ว่ามีใบหน้าหรือไม่ถ้ามีก็
ต้องรอจนกว่า Delay จะทำงานครบ 10 วินาทแี ละจะถกู ส่งไปยงั Wait(2)
รูปที่ 3.69 ใช้ Box ของ Wait(1) เชื่อมตอ่ ไปยงั Box ของ if else(2)
53
3.7.16 นำ Box ของ Line Notify ออกมาท้งั หมด 2 ตวั ตัวแรกให้ต่อเข้ากับ Delay(1) ตวั ท่ี
2 ให้ต่อเข้ากับ Wait(2) เพื่อจะทำการแจ้งเตือนผา่ นทาง Line
รปู ที่ 3.70 Box ของ Line Notify ออกมาท้ังหมด 2 ตวั
3.7.17 สร้างกลุม่ ไลน์แจ้งเตือน
รปู ท่ี 3.71 สร้าง Line กลมุ่ พรอ้ มตง้ั ชื่อกลุ่ม
3.7.18 ออก token และคัดลอกลงิ ค์ token ไปใส่ Box ของ Line Notify
รปู ท่ี 3.72 to ken สำหรับเขยี นโค้ด
54
3.7.19 ตัง้ คา่ Box ของ Line Notify วาง Token ท่ไี ด้ Copy ไวแ้ ละวา่ งในช่อง Token ทง้ั
สอง Box
รูปท่ี 3.73 คลกิ Box ของ Line Notify
3.7.20 ทำการเขียน Script ใน Box ของ Line Notify(1) คลกิ Script
รปู ท่ี 3.74 เขียน Script ใน Box ของ Line Notify(1)
3.7.21 ทำการเขยี น Script ใน Box ของ Line Notify(2) คลิกScript
รปู ท่ี 3.75 เขียน Script ใน Box ของ Line Notify(2)
55
3.7.22 นำ Box Debug ออกมาเพิ่มอีก 2 Box และในส่วน Box Debug(2) ให้ต่อเข้ากับ
Box Line notify(1) Box Debug(3) ใหต้ ่อเข้ากับ Box Line notify(2) Box Debug(1) คอื จอแสดง
แบบ Real Time Box Debug(2) คอื จอที่แสดงใบหน้าที่รจู้ กั พรอ้ มช่ือและแคบไว้รปู แจ้งเตือนไปแจ้ง
เตือนไป Line ระบบจะทำการแคบใหม่ เรื่อย ๆจนกว่าจะไม่มีใครอยู่ในกลอ้ งนั้น Box Debug(3) คือ
คือ จอที่แสดงใบหน้าที่ไม่รู้จักพร้อมคำว่า พบบุคคลไม่รู้จัก แจ้งเตือนไป Line ระบบจะทำการแคบ
ใหม่ เร่ือย ๆ จนกว่าจะไมม่ ใี ครอยู่ในกลอ้ งน้ัน ดงั รปู ท่ี 3.73
รูปท่ี 3.76 แสดงระบบจดจำใบหนา้ และแจง้ เตือนผ่านไลน์ทส่ี มบรู ณ์
3.7.23 กล้องทีใ่ ช้ในระบบจดจำใบหน้า
สำหรับรุ่นนี้ เปน็ กล้องเว็บแคมราคาประหยดั กลอ้ งความละเอียด 2 ลา้ นพกิ เซล ให้
ความคมชัดระดับ 1080P โดยใช้เซ็นเซอร์ CMOS ซึ่งมีอัตราเฟรมอยู่ที่ 30 fps สามารถปรับความ
คมชัดที่หนา้ เลนส์ได้ ซึ่งจะช่วยให้ภาพจะนวลสวยมากยิง่ ขึ้น สำหรับตัวเลนส์นั้นรุน่ นี้ใช้เลนสค์ ุณภาพ
ดี ซงึ่ มคี วามแมน่ ยำสูง ทำให้ภาพมีความคมชัด ไม่มกี ารบิดเบือน ในด้านรูปทรงของกล้อง ก็ออกแบบ
มาใหส้ ามารถใช้ได้ทั้งกับจอ LCD หรอื จะต้งั วางแบบปกติก็ได้ และสามารถปรับระดับของมุมกล้องได้
มาพร้อมไมโครโฟนในตัว และมีตัวช่วยลดเสียงรบกวนอีกด้วย รุ่นนี้สามารถใช้ได้ทั้ง Mac OS และ
Window เพยี งแคเ่ สยี บกบั USB โดยไม่ต้องลง Driver ใด ๆ ทัง้ สิ้น ถอื วา่ สะดวกมาก
รูปที่ 3.77 กล้องเวบ็ แคม รุน่ YG79
(ที่มา: กล้องเวบ็ แคม รุ่นYG79-กลอ้ งเว็บแคม)
56
3.8 การออกแบบของแผงวงจรแจง้ เตือนผา่ นเสยี งตรวจรู้คนเดนิ ผ่าน
บอรด์ Arduino ในการตอ่ อปุ กรณ์เสรมิ ต่างๆ คือผใู้ ชง้ านสามารถต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์จาก
ภายนอกแล้วเชื่อมต่อเข้ามาที่ขา I/O ของบอรด์ หรอื เพอื่ ความสะดวกสามารถเลือกต่อกบั บอร์ดเสริม
(Arduino Shield) ประเภทต่างๆ เช่น Arduino X Bee Shield, Arduino Music Shield, Arduino
Relay Shield, Arduino Wireless Shield, Arduino GPRS Shield เป็นต้น มาเสียบกับบอร์ดบน
บอร์ด Arduino แล้วเขียนโปรแกรมพัฒนาบอร์ด Arduino มีขนาดประมาณ 68.6x53.4mmบอร์ด
Arduino Uno ไดม้ กี ารพฒั นาเรอ่ื ยมา ตั้งแต่ R2 R3 และรุน่ ย่อยทเี่ ปลี่ยนชิปไอซเี ป็นแบบ SMD
รูปที่ 3.78 การออกแบบ Flow chart ของวงจรเคร่ืองตรวจรู้คนเดนิ ผา่ น
อธิบายบล็อคการทำงาน
เม่อื Sensor ตรวจจบั ไมพ่ บวัตถจุ ะเคร่อื งตรวจรคู้ นเดนิ ผา่ นจะไม่ทำงาน เมื่อ Sensor ตรวจ
เจอหรือพบวัตถุจะทำการแจง้ เตอื นส่งเสียงและในแต่ละครั้งที่ตรวจพบวตั ถจุ ะทำการหนว่ งเวลา 5
วินาทถี งึ จะทำการตรวจจบั อกี ครง้ั
57
รูปท่ี 3.79 บลอ็ กไดอะแกรมการทำงานของเครื่องตรวจรู้คนเดนิ ผ่าน
อธบิ ายบล็อคการทำงาน
1. Sensor คือ บล็อคในสว่ นของการตรวจจับวัตถุ
2. Arduino R3 คือ บล็อคในสว่ นการเกบ็ ขอ้ มูลหรือ Code และทำการประมวลผล
3. 5V คอื บล็อคของภาคจ่ายไฟ
4. MP3 คอื บลอ็ คของการบนั ทึกเสยี งและส่งสัญญานเสยี ง
5. Speaker คอื บลอ็ คของการส่งเสียง
บล็อคที่ 1 เป็นเซ็นเซอร์ทำการตรวจจับวัตถุเมื่อตรวจพบวัตถุจะส่งสัญญานไปที่บล็อคที่ 2
Arduino R3 ซึ่งต่อกับบล็อค 5V จะประมวลผลส่งไปท่ีบล็อค MP3 ที่ทำการบันทึกเสียงไว้แล้วจะสง่
สญั ญานเสียงไปทบี่ ลอ็ ค Speake
3.8.1 การออกแบบแผงวงจรแจง้ เตือนผ่านเสยี งตรวจรู้คนเดินผ่าน
รปู ท่ี 3.80 การออกแบบแผงวงจรแจ้งเตือนผา่ นเสียงตรวจรู้คนเดนิ ผา่ น
58
รายการอุปกรณ์ระบบจดจำใบหนา้ และเครื่องแจ้งเตอื นผา่ นเสียง
ตารางท่ี 3.1 รายการอปุ กรณ์ระบบจดจำใบหน้าและเครื่องแจง้ เตือนผา่ นเสยี งตรวจรูค้ นเดนิ ผ่าน
ลำดับ รายชอื่ รุน่ จำนวน ราคา
1 PC - 10
2 กลอ้ งwed cam YG79 webcam 1 300
2 โมดูลอดั เสียง ISD1802 1 90
3 Arduino OUN Arduino UNO R3 1 230
4 เซนเซอร์ตรวจจบั HC-SR04 1 40
5 Rods Shaped Power Bank NM6010424 1 60
6 ลำโพง - 1 30
7 กลอ่ งพาลาสตกิ กันนำ้ ELE 6*8 ฝาใส่ 1 150
8 สายjumper ขว้ั เมีย-เมยี - 1 30
9 Pin Header 1*40 - 2 20
10 นำ้ ยาเคลอื บแผน่ ปรน้ิ - 1 40
11 ทอ่ หด 2.0*40mm - 2 10
12 น็อตหัวไขควงเกลียว 1 นิ้ว ผู้-เมยี - 1 25
รวม 1,025 บาท
3.8.2 เมอ่ื ทำการกำหนดอุปกรณท์ ่ีจะสรา้ งวงจรเครอ่ื งแจ้งเตือนผ่านเสยี งตรวจร้คู นเดนิ ผ่านก็
ได้ทำการออกแบบ PCB สำหรับสรา้ งวงจรดงั รูปท่ี 3.95 และจำลองวงจรเคร่ืองแจ้งเตือนผ่านเสียง
ตรวจรู้คนเดนิ ผ่านแบบ 3D ดังรทู ่ี
(ก) ดา้ นบน (ข)ดา้ นล่าง
รูปที่ 3.81 แสดงลายวงจรของวงจรแจ้งเตือนผา่ นเสียงตรวจรู้คนเดินผา่ น
59
3.8.3 การสรา้ งวงจรจริงเพื่อทำการทดลองเครื่องแจง้ เตือนผ่านเสยี ง โดยประกอบดว้ ย โมดูล
บันทึกเสียง บอร์ดArduino UNO เซนเซอร์ HC-RS04 และลำโพง เมื่อทำการประกอบทั้ง 3ส่วนเข้า
ดว้ ยกนั แสดงดังรปู ที่ 3.95
(ก) ดา้ นบน (ข)ดา้ นลา่ ง
รปู ท่ี 3.82 วงจรจริงเพอ่ื ทำการทดลองเคร่ืองแจ้งเตอื นผ่านเสียง
3.8.4 วงจรทป่ี ระกอบเสรจ็ ด้านในและดา้ นนอก
(ก)ดา้ นใน (ข)ดา้ นนอก
รูปที่ 3.83 วงจรท่ปี ระกอบเสร็จด้านในและดา้ นนอก
60
3.8.5 แสดงการเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณข์ องแผงวงจรเคร่ืองแจง้ เตือนผ่านเสยี งตรวจรูค้ นเดนิ ผ่าน
รปู ที่ 3.84 แสดงการเช่ือมต่ออปุ กรณ์ของแผงวงจร
3.8.6 แสดงถึงการตอ่ ใชง้ านวงจรตน้ แบบเครื่องแจง้ เตือนผ่านเสียงตรวจรู้คนเดนิ ผ่าน เริ่ม
จากต่อ Power Bank โดยใช้ไฟ +5vต่อ เขา้ กับบอรด์ Arduino uno R3 เพ่ือทำให้เครือ่ งแจง้ เตือน
ผา่ นเสยี งตรวจรู้คนเดินผา่ นทำงานและสามารถใช้งานได้เลย ขัน้ ตอนการตอ่ ใชง้ านดไู ด้ดังรปู ท่ี 3.98
รูปท่ี 3.85 แสดงถงึ การต่อใช้งานวงจรตน้ แบบ
บทที่ 4
ผลการทดลอง
4.1 บทนำ
ผลของการทดสอบบทนีจ้ ะมที ั้งหมดอยู่ 7 ส่วนดว้ ยกัน ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย
1. ผลการทดสอบระบบจัดเก็บอุปกรณ์บนเว็บไซต์ จำกัดสิทธิ์ใช้งานเฉพาะพนักงาน
บรษิ ทั ศนู ย์สือ่ สารขอ้ มลู จงั หวดั ขอนแก่น
2. ผลการทดสอบเวบ็ ไซตก์ ารใช้ google sheet เป็นฐานขอ้ มลู
3. ผลการทดสอบเว็บไซต์สแกนคิวอาร์โค้ดและคิวบาร์โคด้ ที่มีขนาดไม่ต่ำกว่า 0.8 × 0.8
น้วิ หรือ 2 × 2 เซนติเมตร
4. ผลการทดสอบการเทรนใบหนา้ เพ่อื จดจาํ ใบหนา้ ให้แจ้งเตอื นผ้เู ข้าใช้งานผ่าน line
5. ผลการทดสอบจดจำใบหน้าไดไ้ ม่น้อยกวา่ 10 คน
6. ผลการทดสอบเครือ่ งตรวจจับสามารถตรวจรู้คนเดินผา่ นได้
4.2 ผลการทดสอบระบบจัดเก็บอุปกรณ์บนเว็บไซต์จำกัดสิทธิ์ใช้งานเฉพาะพนักงานบริษัท ศูนย์
ส่อื สารข้อมลู จังหวัดขอนแกน่
4.2.1 ผลการทดสอบระบบจัดเกบ็ อปุ กรณ์บนเว็บไซตจ์ ำกัดสทิ ธ์ิใชง้ านเฉพาะพนกั งานบริษทั
ศูนยส์ อื่ สารข้อมลู จังหวดั ขอนแกน่ ดังนี้
ตาราง 4.1 แสดงผลการทดสอบจำกดั สทิ ธิใ์ นการใชง้ าน
ลำดับ รายการ ผ่าน ไมผ่ ่าน
1 กรอกUserneme Password ไม่ถูกต้อง
✓
2 กรอกUserneme Password ไมถ่ ูกต้อง
✓
62
จากผลการทดสอบตางรางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบจำกัดสิทธิ์ใช้งานเฉพาะพนักงานบริษัท ศูนย์
สื่อสารข้อมูล จังหวัดขอนแก่น สรุปผลดังนี้คือกระบบ login จะมีการป้องกันการเข้าระบบจัดเก็บ
อุปกรณ์ เม่อื มีการเขา้ รหัสท่ีไมถ่ ูกต้องระบบจะมีการแจ้งเตือนว่าให้กรอบชอื่ ผู้ใช้หรือรหัสผ่านใหม่ ดัง
ตารางท่ี 4.1
ตารางท่ี 4.2 แสดงผลการทดสอบสิทธ์ิการเขา้ ใชง้ านระบบจดั เกบ็ อุปกรณ์
ลำดบั รายการ ผา่ น ไมผ่ า่ น
1 ผลการทดสอบสิทธ์ิ PPOP
✓
2 ผลการทดสอบสิทธิ์ ADMIN
✓
จากผลการทดสอบตางรางที่ 4.2 สรุปผลการทดสอบได้ดังนี้แสดงสิทธิ์ในการเข้าใช้ระบบ
โดยผจู้ ดั ทำไดจ้ ำกดั สิทธ์ทิ ี่ถกู ตอ้ งคือ PPOP รหัส 789O และ ADMIN รหสั 456B เมอื่ เขา้ ใช้งานแล้ว
จะเว็บไซตจ์ ะแสดงช่ือสทิ ธิ์ และแสดงการเขา้ สูร่ ะบบเรียบรอ้ ยแลว้
63
4.3 ผลการทดสอบเว็บไซตก์ ารใช้ google sheet เป็นฐานข้อมลู
4.3.1 ผลการทดสอบเวบ็ ไซตโ์ ดยการใช้ google sheet เปน็ ฐานข้อมลู ในการเบิกอุปกรณ์
โดยมีการตรวจสอบข้อมูลผ่าน Google Drive และเขา้ ไปดูฐานข้อมูลใน Google sheet มผี ลดังน้ี
รูปท่ี 4.1 แสดงผลการทดสอบการใช้ google sheet เป็นฐานข้อมูลในการเบกิ อปุ กรณ์
จากผลการทดสอบรปู ที่ 4.1 สรปุ ผลได้ดงั นี้ เมอื่ ผู้ใชง้ านเข้าสรู่ ะบบและทำการเบิกอุปกรณ์
ขอ้ มูลของการเบิกอุปกรณ์ จะบนั ทกึ เกบ็ ไว้ในฐานข้อมูลของ google sheet ดังรูปที่ 4.1
4.3.2 ผลการทดสอบเว็บไซตโ์ ดยการใช้ google sheet เปน็ ฐานข้อมูลในการเพ่มิ อุปกรณ์
โดยมีการตรวจสอบข้อมูลผา่ น Google Drive และเข้าไปดฐู านข้อมูลใน Google sheet มผี ลดงั นี้
รูปท่ี 4.2 แสดงผลการทดสอบการใช้ google sheet เป็นฐานขอ้ มลู ในการเบกิ อปุ กรณ์
จากผลการทดสอบรปู ท่ี 4.2 สรปุ ผลไดด้ ังน้ี เม่อื ผูใ้ ชง้ านเข้าสรู่ ะบบ และทำการเพ่ิมอุปกรณ์
ข้อมลู ของการเพม่ิ อปุ กรณ์ จะบนั ทกึ เก็บไว้ในฐานขอ้ มูลของ google sheet ดังรูปที่ 4.2
64
4.4 ผลการทดสอบเว็บไซต์สามารถสแกนคิวอาร์โคด้ และควิ บาร์โคด้ ทม่ี ขี นาดไมต่ ำ่ กว่า 0.8 × 0.8
นิว้ หรอื 2 × 2 เซนตเิ มตร
4.4.1 ผลการทดลสอบควิ บาร์โคด้ ท่มี ขี นาดต่ำกวา่ 0.8 × 0.8 นวิ้ หรอื 2 × 2 เซนตเิ มตร
ตารางท่ี 4.3 แสดงผลการทดสอบคิวบาร์โคด้ มีขนาดตำ่ กวา่ 0.8 × 0.8 นวิ้ หรอื 2 × 2 เซนตเิ มตร
ลำดบั ขนาดของคิวบารโ์ ค้ด ผา่ น ไม่ผา่ น
1 ขนาด 1.5 x 1 เซนติเมตร ✓
2 ขนาด 1.8x1 เซนตเิ มตร
✓
65
ตารางที่ 4.3 (ต่อ) แสดงผลการทดสอบคิวบาร์โค้ดมีขนาดต่ำกวา่ 0.8 × 0.8 นิ้ว หรือ 2 × 2
เซนติเมตร
ลำดบั ขนาดของควิ บารโ์ ค้ด ผ่าน ไมผ่ ่าน
3 ขนาด 2 x 2 เซนติเมตร ✓
จากการทดสอบระบบการสแกนนคิวบาร์โค้ดที่มีขนาดต่ำกว่า 0.8 × 0.8 นิ้ว หรือ 2 × 2
เซนติเมตรมีผลสรุปผลได้ดังนี้ ขนาดคิวบาร์โค้ดที่มีขนาด 1.5 x 1 ซม. ไม่สามารถสแกนคิวบาร์โค้ด
อปุ กรณ์ได้ ขนาด 1.8 x 1 ซม. ไมส่ ามารถสแกนคิวบาร์โค้ดอุปกรณไ์ ด้เช่นกัน เน่อื งจากมขี นาดต่ำกว่า
ขอบเขตที่ได้กำหนด และในสว่ น ขนาด 2 x 2 ซม.ตามที่ได้แจง้ ขอบเขตไว้เบ้ืองต้น ลกั ษณะการสแกน
เม่อื สแกนได้ จะมกี รอบสเี ขยี ว เปน็ สญั ลกั ษณบ์ อกไดว้ า่ สแกนผา่ นแล้วดังตางรางที่ 4.3
66
4.4.2 ผลการทดสอบควิ บาร์โค้ดโค้ดทม่ี ีขนาดต่ำกวา่ 0.8 × 0.8 นิ้ว หรือ 2 × 2 เซนติเมตร
ตารางที่ 4.4 แสดงผลการทดสอบควิ บารโ์ คด้ มีขนาดตำ่ กว่า 0.8 × 0.8 น้วิ หรอื 2 × 2 เซนตเิ มตร
ลำดบั ขนาดของคิวบารโ์ คด้ ผา่ น ไมผ่ า่ น
1 ขนาด 1 x 1 เซนตเิ มตร ✓
2 ✓
ขนาด 1.5 x 1 เซนตเิ มตร
67
ตารางท่ี 4.4 (ต่อ) แสดงผลการทดสอบควิ บาร์โค้ดมีขนาดต่ำกวา่ 0.8 × 0.8 นิ้ว หรือ 2 × 2
เซนติเมตร
ลำดับ ขนาดของควิ บารโ์ คด้ ผา่ น ไม่ผ่าน
3 ขนาด 2 x 2 เซนติเมตร ✓
จากการทดสอบระบบการสแกนนคิวอาร์โค้ดที่มีขนาดต่ำกว่า 0.8 × 0.8 นิ้ว หรือ 2 × 2
เซนติเมตร มีผลสรุปผลได้ดังนี้ ขนาดคิวอาร์โค้ดที่มีขนาด 1x1 เซนติเมตร ไม่สามารถสแกนคิวอาร์
โค้ดอปุ กรณ์ได้ ขนาด 1.5x1 เซนตเิ มตรซม. ไมส่ ามารถสแกนควิ อาร์โค้ดอุปกรณ์ไดเ้ ชน่ กนั เน่ืองจากมี
ขนาดต่ำกวา่ ขอบเขตท่ีได้กำหนด และในส่วน ขนาด 2x2 เซนตเิ มตร ตามทีไ่ ด้แจง้ ขอบเขตไว้เบื้องต้น
ลักษณะการสแกนเมื่อสแกนได้จะมีกรอบสีเขียวเป็นสัญลักษณ์บอกได้ว่าสแกนผ่านแล้วดังตางรางท่ี
4.4
68
4.5 ผลการทดสอบการเทรนใบหนา้ เพื่อจดจาํ ใบหนา้ ใหแ้ จ้งเตือนผู้เข้าใชง้ านผ่าน line
ตารางท่ี 4.5 แสดงผลการทดสอบการเทรนใบหน้าเพ่ือจดจําใบหนา้ ใหแ้ จง้ เตือนผู้เขา้ ใชง้ านผา่ น line
ลำดับ แสดงรายการ ผ่าน ไม่ผ่าน
1 บุคคลที่ร้จู ัก ✓
2 บคุ คลทรี่ ูจ้ ัก
✓
69
ตารางที่ 4.5 (ต่อ) แสดงผลการทดสอบการเทรนใบหน้าเพื่อจดจาํ ใบหน้าให้แจ้งเตือนผเู้ ขา้ ใชง้ านผา่ น
line
ลำดับ แสดงรายการ ผา่ น ไม่ผ่าน
1 บุคคลที่ไม่รู้จกั ✓
2 บุคคลที่ไมร่ ู้จกั
✓
จากการทดสอบระบบแจ้งเตือนผ่านไลน์ของระบบจดจำใบหน้า สรุปผลได้ดังนี้ เมื่อบุคคล
ภายในบริษัทหรือได้มีการเทรนใบหน้าไว้ในระบบจะมีการแจ้งเตือนชื่อของบุคคลพร้อมแคปรูปภาพ
ส่งไปท่ไี ลน์ และในส่วนของบุคคลท่ีไม่ไดเ้ ทรนใบหน้าไว้ จะมกี ารแจ้งเตือนพบบุคคลไม่รู้จัก พร้อมกับ
แคปรูปสง่ ขอ้ มลู ไปที่ไลน์ดังตารางที่ 4.5
4.6 ผลการทดสอบระบบจดจำใบหนา้ ได้ไม่น้อยกว่า 10 คน 70
ตารางที่ 4.6 แสดงผลการทดสอบระบบจดจำใบหน้าได้ไม่น้อยกวา่ 10 คน ไมผ่ ่าน
ลำดับ รายการแสดงผล ผ่าน
1
✓
2
✓
3
✓
ตารางที่ 4.6 (ต่อ) แสดงผลการทดสอบระบบจดจำใบหน้าได้ไม่น้อยกวา่ 10 คน 71
ไมผ่ ่าน
ลำดับ รายการแสดงผล ผ่าน
4
✓
5
✓
6
✓
ตารางท่ี 4.6 (ต่อ) แสดงผลการทดสอบระบบจดจำใบหนา้ ได้ไม่น้อยกวา่ 10 คน 72
ไมผ่ า่ น
ลำดับ รายการแสดงผล ผ่าน
7
✓
8
✓
9
✓
10
✓
73
จากการทดสอบตารางที่ 4.6 ระบบจดจำใบหน้าได้ไม่น้อยกว่า10 คน สรปุ ผลได้ดังนี้รายการ
แสดงผล สแกนใบหนา้ ลำดบั คนท่ี 1- 8 เปน็ บคุ คลท่ีไดท้ ำการเทรนใบหนา้ ไว้ สามารถสแกนใบหน้าได้
และในลำดับที่ 9-10 ที่ไม่ได้เทรนใบหน้าไว้ แสดงผลการทดสอบการจดจำใบหน้าที่ไม่รู้จักได้ ตาม
ขอบเขตทีก่ ำหนดไว้ ขา้ งต้น
4.7 ผลการทดสอบเครือ่ งตรวจจบั สามารถตรวจรู้คนเดนิ ผ่านได้
4.7.1 ทดสอบระยะการตรวจรู้
ตารางท่ี 4.7 แสดงผลการทดสอบระยะทตี่ รวจจบั เครื่องตรวจร้คู นเดินผา่ นเข้าหอ้ งอปุ กรณ์
ลำดบั รายการ ผ่าน ไมผ่ า่ น
1 ระยะ 0.1 เมตร ✓
2 ระยะ 0.2 เมตร ✓
3 ระยะ 0.3 เมตร ✓
4 ระยะ 0.4 เมตร ✓
5 ระยะ 0.5 เมตร ✓
6 ระยะ 0.6 เมตร ✓
7 ระยะ 0.7 เมตร ✓
8 ระยะ 0.8 เมตร ✓
9 ระยะ 0.9 เมตร ✓
10 ระยะ 1 เมตร ✓
11 ระยะ 2 เมตร ✓
12 ระยะ 3 เมตร ✓
13 ระยะ 4 เมตร ✓
จากผลการทดสอบ เครื่องตรวจจับสามารถตรวจรู้คนเดินผ่านได้ สรุปผลได้ดังนี้ มีรายการ
ระยะ 0.1 เมตร ถึง ระยะ 1 เมตร สามารถตรวจรู้คนเดินผ่านได้ แต่ในส่วนระยะ 2 เมตร ถึง 4 เมตร
ไมส่ ามารถตรวจรคู้ นเดนิ ผ่านไดด้ งั ตารางท่ี 4.7
บทท่ี 5
สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ
5.1 บทนำ
จากการจัดทำปริญญานิพนธ์เร่ืองระบบจัดเก็บอปุ กรณ์บนเว็บไซต์และระบบจดจำใบหน้าซงึ่
สามารถสรุปผลการดำเนนิ งาน ปัญหาที่เกดิ ขนึ้ ในการออกแบบ การพฒั นา และทำการทดลอง รวมไป
ถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ที่สนใจนำไปศึกษาและพัฒนาโครงงานในโอกาสต่อไป
โดยมีผลการดำเนินงานสามารถสรุปได้ดงั นี้
5.2 สรุปผลทีไ่ ด้จากการดำเนินงาน
โครงงานนี้นำเสนอการออกแบบและพัฒนาระบบจดั เกบ็ อุปกรณ์บนเว็บไซต์และระบบจดจำ
ใบหน้า เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้งานกับบริษัท ศูนย์สื่อสารข้อมลู จังหวัดขอนแก่น เพื่อใช้ในการการ
จัดเก็บอุปกรณ์การตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆภายในบริษัท โดยมีหลักการทำงานของเว็บไซต์คือการ
บันทึกข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆที่พนักงานภายในบริษัทได้มีการเบิกเพิ่มอุปกรณ์และยังได้รู้ข้อมูลที่มี
การเบิกการเพ่ิมอุปกรณ์ผา่ นไลน์ได้และยงั มรี ะบบสแกนใบหน้าท่ีสามารถจดจำใบหนา้ ของพนักงานได้
โดยมีหลกั การทำงานคือระบบจะจดจำใบหน้าของพนักงานภายในบริษัทเพ่ือตรวจสอบการเข้าใช้ห้อง
อุปกรณ์และแจ้งเตือนบุคคลเข้าใช้งานผ่านไลน์และยังเช็คบุคคลที่ไม่รู้จักเข้าห้องอุปกรณ์ผ่านไลน์ได้
อกี ด้วย
จากการทดสอบระบบจดั เก็บอุปกรณบ์ นเวบ็ ไซตจ์ ำกดั สิทธิ์ใชง้ านเฉพาะพนักงานบรษิ ัท ศูนย์
สื่อสารข้อมูล จังหวัดขอนแก่น สรุปผลดังนี้คือกระบบ login จะมีการป้องกันการเข้าระบบจัดเก็บ
อุปกรณ์ เมื่อมีการเข้ารหัสที่ไม่ถูกต้องระบบจะมีการแจ้งเตือนว่าให้กรอกชื่อผู้ใช้หรือรหัสผ่านใหม่
แสดงสิทธิ์ในการเข้าใช้ระบบ โดยผู้จัดทำได้จำกัดสิทธิ์ที่ถูกต้องคือ PPOP รหัส 789O และ ADMIN
รหัส 456B เมอื่ เข้าใช้งานแล้วจะเว็บไซต์จะแสดงช่ือสิทธ์ิ และและแสดงการเข้าสรู่ ะบบเรียบร้อยแล้ว
จากการทดสอบเว็บไซต์โดยการใช้ google sheet เป็นฐานข้อมูลในการเบกิ อุปกรณ์สรุปผล
ได้ดังนี้ เมื่อผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบและทำการเบิกอุปกรณ์ ข้อมูลของการเบิกอุปกรณ์ จะบันทึกเก็บไว้ใน
ฐานข้อมูลของ google sheet เมื่อผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบ และทำการเพิ่มอุปกรณ์ ข้อมูลของการเพ่ิม
อุปกรณ์ จะบันทกึ เก็บไว้ในฐานข้อมลู ของ google sheet
จากการทดสอบระบบการสแกนนคิวบาร์โค้ดที่มีขนาดต่ำกว่า 0.8×0.8 นิ้วหรือ2×2
เซนติเมตร มีผลสรุปผลได้ดังนี้ ขนาดคิวบาร์โค้ดที่มีขนาด 1.5x1 เซนติเมตร ไม่สามารถสแกนคิว
บาร์โค้ดอปุ กรณ์ได้ ขนาด 1.8x1 เซนตเิ มตร ไมส่ ามารถสแกนควิ บารโ์ ค้ดอปุ กรณ์ไดเ้ ชน่ กัน เน่ืองจาก
มีขนาดต่ำกว่าขอบเขตที่ได้กำหนด และในส่วน ขนาด 2x2 เซนติเมตร ตามที่ได้แจ้งขอบเขตไว้
เบื้องต้น ลักษณะการสแกนเมื่อสแกนได้ จะมีกรอบสีเขียว เป็นสัญลักษณ์บอกได้ว่าสแกนผ่านแล้ว
และระบบการสแกนนคิวอาร์โค้ดที่มีขนาดต่ำกว่า 0.8×0.8 นิ้ว หรือ 2×2 เซนติเมตรมีผลสรุปผลได้
ดังนี้ ขนาดคิวอาร์โค้ดที่มีขนาด 1x1 เซนติเมตร ไม่สามารถสแกนคิวอาร์โค้ดอุปกรณ์ได้ ขนาด1.5x1
เซนติเมตร ไมส่ ามารถสแกนคิวอารโ์ ค้ด
75
อุปกรณ์ได้เช่นกัน เนื่องจากมีขนาดต่ำกว่าขอบเขตที่ได้กำหนด และในส่วน ขนาด 2x2เซนติเมตร
ตามที่ได้แจ้งขอบเขตไว้เบื้องต้น ลักษณะการสแกนเมื่อสแกนได้จะมีกรอบสีเขียวเป็นสัญลักษณ์บอก
ได้ว่าสแกนผ่านแล้ว
จากผลการทดสอบ ระบบแจ้งเตือนผ่านไลน์ของระบบจดจำใบหน้า สรุปผลได้ดังนี้ เม่ือ
บุคคลภายในบริษัทหรือได้มีการเทรนใบหนา้ ไว้ในระบบจะมีการแจ้งเตือนช่ือของบุคคลพร้อมแคปรูป
ภาพส่งไปที่ไลน์ และในส่วนของบุคคลที่ไม่ได้เทรนใบหน้าไว้ จะมีการแจ้งเตือนพบบุคคลไม่รู้จัก
พร้อมกับแคปรปู สง่ ขอ้ มูลไปที่ไลน์
จากการทดสอบระบบจดจำใบหน้าไม่น้อยกว่า10 คน สรุปผลได้ดังนี้รายการแสดงผล
รายการแสดงผล สแกนใบหน้าลำดับคนที่ 1- 8 เป็นบุคคลที่ได้ทำการเทรนใบหน้าไว้ สามารถสแกน
ใบหน้าได้ และในลำดับท่ี 9-10 ท่ไี มไ่ ดเ้ ทรนใบหน้าไว้ แสดงผลการทดสอบสแกนใบหนา้ ทีไ่ มร่ ้จู กั ได้
จากการทดสอบเครื่องตรวจจับสามารถตรวจรู้คนเดินผ่านได้ สรุปผลได้ดังนี้ มีรายการระยะ
0.1 เมตร ถึง ระยะ 1 เมตร สามารถตรวจรู้คนเดินผ่านได้ แต่ในส่วนระยะ 2 เมตร ถึง 4 เมตร ไม่
สามารถตรวจรคู้ นเดนิ ผา่ น
5.3 ปัญหาและแนวทางการแกไ้ ข
5.3.1 ระบบเว็บไซต์ที่ใช้ภาษาJavaScriptมีความเข้าใจยากแนวทางการแก้ปัญหาคือ
การศึกษาเวบ็ ไซต์ตา่ งๆ จากหลายช่องทางเพ่มิ เติม
5.3.2 ระบบจดจำใบหนา้ ใชโ้ ปรแกรมทม่ี ีลิขสทิ ธ์ิ ท่สี ามารถให้เฉพาะนกั ศกึ ษาเทา่ นนั้ ดังนั้นจึง
มีระยะเวลาทจ่ี ำกดั ใช้งานไลน์เสน้ ได้ไม่เกิน6 เดือนต่อ1บัญชี จงึ นำโปรแกรมดงั กลา่ วมาศึกษาทดสอบ
และพัฒนาในการทำโครงงาน แนวทางการแกไ้ ขปัญหาแจง้ ในกบั ทาง บรษิ ัททราบเรือ่ งของอายุการใช้
งานของโปรแกรมและค่าใช้จ่ายของโปรแกรม
5.3.3 อปุ กรณ์ตา่ งๆใช้เป็นอุปกรณ์เกรดระดับทัว่ ไปเพ่ือใหล้ ดต้นทุนของแผงวงจรเครื่องตรวจ
รู้คนเดนิ ผ่าน มคี า่ ความคลาดเคลื่อนของตัวแปรต่าง ๆในวงจรแนวทางการแกไ้ ข คอื การใชอ้ ปุ กรณ์ท่ีมี
เกรดที่รองรบั กบั การใช้งานทค่ี วามถี่สูงแตร่ าคาของอปุ กรณจ์ ะสูงขน้ึ
5.4 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ โครงงานปรญิ ญานิพนธ์
5.4.1 ควรเลอื กใช้ภาษาเขยี นโคด้ ทีเ่ ข้าใจงา่ ยเพอ่ื ลดความผดิ พลาดในการเขียนเว็บไซต์
5.4.2 ควรศกึ ษาแนวทางการออกแบบเวบ็ ไซต์ให้มาก
5.4.3 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเทรนใบหน้าเป็นVersionในการทดลองการใช้งานเท่านั้นมี
ระยะเวลาการใช้งานประมาณ 6 เดือน
5.4.4 ควรเลอื กใช้เซนเซอร์ท่ีมเี กรดคณุ ภาพทสี่ ูงข้นึ
76
บรรณานกุ รม
เกรยี งศกั ดิ์ จันทนี อก. (2017) . Java & JavaScript คอื อะไร. [ออนไลน์]
สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 3 ตลุ าคม 2564, :http://www.bc.msu.ac.th/kc/javascript.pdf
ครูอภวิ ัฒน์"สอนสรา้ งส่ือ" สอนสร้างสือ่ การสรา้ งและออกแบบระบบเวบ็ ไซต์. [ออนไลน์]
สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 3 ตุลาคม 2564,
:youtube.com/channel/UCN_2g1sSAmUzm1ha1A9lgmQ
ทนั พงษ์ ภู่รักษ.์ (2015). ความรู้เกีย่ วกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์เบอ้ื งต้น. [ออนไลน์]
สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 7 ตุลาคม 2564,
:http://www.sbt.ac.th/new/sites/default/files/TNP_Unit_1.pdf
มานพ กองอุ่น. (2016). Bootstrap คืออะไร. [ออนไลน์]
สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 5 ตุลาคม 2564, จาก
:https://www.programmerthailand.com/tutorial/post/view/96/bootstrap
Designil Bootstrap 5. [ออนไลน์]
สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 5 ตุลาคม 2564, :https://www.designil.com/bootstrap-5-new/
THAIEASYELEC. (2017). Arduino คืออะไร. [ออนไลน์]
สืบค้นเม่ือวนั ที่ 9 พฤศจกิ ายน 2564, :https://blog.thaieasyelec.com/what-is-
arduino-ch1/
Lwn shop .Ultrasonic Module HC- SR04 หลักการทำงาน. [ออนไลน์]
สบื ค้นเม่ือวนั ที่ 12 พฤศจกิ ายน 2564,
:https://www.arduitronics.com/product/20/ultrasonic-sensor-module-hc-sr04-5v
Components101. (2021). ISD1820 Record and Playback Module. [ออนไลน์]
สบื คน้ เม่อื 22 พฤศจกิ ายน 2564, :https://components101.com/modules/isd1820-
record-and-playback-module
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ขอ้ มูล Arduino ONU R3
79
Arduino Uno
Overview
The Arduino Uno is a microcontroller board based on the ATmega328 (datasheet). It
has 14 digital input/output pins (of which 6 can be used as PWM outputs), 6 analog inputs, a
16 MHz ceramic resonator, a USB connection, a power jack, an ICSP header, and a reset
button. It contains everything needed to support the microcontroller; simply connect it to a
computer with a USB cable or power it with a AC-to-DC adapter or battery to get started. The
Uno differs from all preceding boards in that it does not use the FTDI USB-to-serial driver chip.
Instead, it features the Atmega16U2 (Atmega8U2 up to version R2) programmed as a USB-to-
serial converter. Revision 2 of the Uno board has a resistor pulling the 8U2 HWB line to ground,
making it easier to put into DFU mode.
Revision 3 of the board has the following new features:
• 1.0 pinout: added SDA and SCL pins that are near to the AREF pin and two other new
pins placed near to the RESET pin, the IOREF that allow the shields to adapt to the voltage
provided from the board. In future, shields will be compatible both with the board that use
the AVR, which operate with 5V and with the Arduino Due that operate with 3.3V. The second
one is a not connected pin, that is reserved for future purposes.
• Stronger RESET circuit.
• Atmega 16U2 replace the 8U2.
"Uno" means one in Italian and is named to mark the upcoming release of Arduino 1.0. The
Uno and version 1.0 will be the reference versions of Arduino, moving forward. The Uno is the
80
latest in a series of USB Arduino boards, and the reference model for the Arduino platform;
for a comparison with previous versions, see the index of Arduino boards.
Summary
Microcontroller ATmega328
Operating Voltage 5V
Input Voltage (recommended) 7-12V
Input Voltage (limits) 6-20V
Digital I/O Pins 14 (of which 6 provide PWM output)
Analog Input Pins 6
DC Current per I/O Pin 40 mA
DC Current for 3.3V Pin 50 mA
Flash Memory 32 KB (ATmega328) of which 0.5 KB used by
bootloader
SRAM 2 KB (ATmega328)
EEPROM 1 KB (ATmega328)
Clock Speed 16 MHz
Schematic & Reference Design
EAGLE files: arduino-uno-Rev3-reference-design.zip (NOTE: works with Eagle 6.0 and
newer) Schematic: arduino-uno-Rev3-schematic.pdf Note: The Arduino reference design can
use an Atmega8, 168, or 328, Current models use an ATmega328, but an Atmega8 is shown in
the schematic for reference. The pin configuration is identical on all three processors.
Power
The Arduino Uno can be powered via the USB connection or with an external power
supply. The power source is selected automatically. External (non-USB) power can come either
from an AC-to-DC adapter (wall-wart) or battery. The adapter can be connected by plugging a
2.1mm center-positive plug into the board's power jack. Leads from a battery can be inserted
in the Gnd and Vin pin headers of the POWER connector. The board can operate on an external
supply of 6 to 20 volts. If supplied with less than 7V, however, the 5V pin may supply less than
five volts and the board may be unstable. If using more than 12V, the voltage regulator may
overheat and damage the board. The recommended range is 7 to 12 volts. The power pins are
as follows:
• VIN. The input voltage to the Arduino board when it's using an external power
source (as opposed to 5 volts from the USB connection or other regulated power source). You
81
can supply voltage through this pin, or, if supplying voltage via the power jack, access it
through this pin.
• 5V.This pin outputs a regulated 5V from the regulator on the board. The board can
be supplied with power either from the DC power jack (7 - 12V), the USB connector (5V), or
the VIN pin of the board (7-12V). Supplying voltage via the 5V or 3.3V pins bypasses the
regulator, and can damage your board. We don't advise it.
• 3V3. A 3.3 volt supply generated by the on-board regulator. Maximum current draw
is 50 mA.
• GND. Ground pins.
Memory
The ATmega328 has 32 KB (with 0.5 KB used for the bootloader). It also has 2 KB of
SRAM and 1 KB of EEPROM (which can be read and written with the EEPROM library).
Input and Output
Each of the 14 digital pins on the Uno can be used as an input or output, using
pinMode(), digitalWrite(), and digitalRead() functions. They operate at 5 volts. Each pin can
provide or receive a maximum of 40 mA and has an internal pull-up resistor (disconnected by
default) of 20-50 kOhms. In addition, some pins have specialized functions:
• Serial: 0 (RX) and 1 (TX). Used to receive (RX) and transmit (TX) TTL serial data. These
pins are connected to the corresponding pins of the ATmega8U2 USB-to-TTL Serial chip.
• External Interrupts: 2 and 3. These pins can be configured to trigger an interrupt on
a low value, a rising or falling edge, or a change in value. See the attachInterrupt() function for
details.
• PWM: 3, 5, 6, 9, 10, and 11. Provide 8-bit PWM output with the analogWrite()
function.
• SPI: 10 (SS), 11 (MOSI), 12 (MISO), 13 (SCK). These pins support SPI communication
using the SPI library.
• LED: 13. There is a built-in LED connected to digital pin 13. When the pin is HIGH
value, the LED is on, when the pin is LOW, it's off. The Uno has 6 analog inputs, labeled A0
through A5, each of which provide 10 bits of resolution (i.e. 1024 different values). By default
they measure from ground to 5 volts, though is it possible to change the upper end of their
range using the AREF pin and the analogReference() function. Additionally, some pins have
specialized functionality:
• TWI: A4 or SDA pin and A5 or SCL pin. Support TWI communication using the Wire
library. There are a couple of other pins on the board:
• AREF. Reference voltage for the analog inputs. Used with analogReference().
82
• Reset. Bring this line LOW to reset the microcontroller. Typically used to add a reset
button to shields which block the one on the board.
See also the mapping between Arduino pins and ATmega328 ports. The mapping for the
Atmega8, 168, and 328 is identical.
Communication
The Arduino Uno has a number of facilities for communicating with a computer,
another Arduino, or other microcontrollers. The ATmega328 provides UART TTL (5V) serial
communication, which is available on digital pins 0 (RX) and 1 (TX). An ATmega16U2 on the
board channels this serial communication over USB and appears as a virtual com port to
software on the computer. The '16U2 firmware uses the standard USB COM drivers, and no
external driver is needed. However, on Windows, a .inf file is required. The Arduino software
includes a serial monitor which allows simple textual data to be sent to and from the Arduino
board. The RX and TX LEDs on the board will flash when data is being transmitted via the USB-
to-serial chip and USB connection to the computer (but not for serial communication on pins
0 and 1). A SoftwareSerial library allows for serial communication on any of the Uno's digital
pins. The ATmega328 also supports I2C (TWI) and SPI communication. The Arduino software
includes a Wire library to simplify use of the I2C bus; see the documentation for details. For
SPI communication, use the SPI library.
Programming
The Arduino Uno can be programmed with the Arduino software (download). Select
"Arduino Uno from the Tools > Board menu (according to the microcontroller on your board).
For details, see the reference and tutorials. The ATmega328 on the Arduino Uno comes
preburned with a bootloader that allows you to upload new code to it without the use of an
external hardware programmer. It communicates using the original STK500 protocol
(reference, C header files). You can also bypass the bootloader and program the
microcontroller through the ICSP (In-Circuit Serial Programming) header; see these
instructions for details. The ATmega16U2 (or 8U2 in the rev1 and rev2 boards) firmware
source code is available . The ATmega16U2/8U2 is loaded with a DFU bootloader, which can
be activated by:
• On Rev1 boards: connecting the solder jumper on the back of the board (near the
map of Italy) and then resetting the 8U2.
• On Rev2 or later boards: there is a resistor that pulling the 8U2/16U2 HWB line to
ground, making it easier to put into DFU mode.
You can then use Atmel's FLIP software (Windows) or the DFU programmer (Mac OS X and
Linux) to load a new firmware. Or you can use the ISP header with an external programmer
(overwriting the DFU bootloader). See this user-contributed tutorial for more information.
83
Automatic (Software) Reset
Rather than requiring a physical press of the reset button before an upload, the
Arduino Uno is designed in a way that allows it to be reset by software running on a connected
computer. One of the hardware flow control lines (DTR) of the ATmega8U2/16U2 is connected
to the reset line of the ATmega328 via a 100 nanofarad capacitor. When this line is asserted
(taken low), the reset line drops long enough to reset the chip. The Arduino software uses this
capability to allow you to upload code by simply pressing the upload button in the Arduino
environment. This means that the bootloader can have a shorter timeout, as the lowering of
DTR can be well-coordinated with the start of the upload. This setup has other implications.
When the Uno is connected to either a computer running Mac OS X or Linux, it resets each
time a connection is made to it from software (via USB). For the following halfsecond or so,
the bootloader is running on the Uno. While it is programmed to ignore malformed data (i.e.
anything besides an upload of new code), it will intercept the first few bytes of data sent to
the board after a connection is opened. If a sketch running on the board receives one-time
configuration or other data when it first starts, make sure that the software with which it
communicates waits a second after opening the connection and before sending this data. The
Uno contains a trace that can be cut to disable the auto-reset. The pads on either side of the
trace can be soldered together to re-enable it. It's labeled "RESET-EN". You may also be able
to disable the auto-reset by connecting a 110 ohm resistor from 5V to the reset line; see this
forum thread for details.
USB Overcurrent Protection
The Arduino Uno has a resettable polyfuse that protects your computer's USB ports
from shorts and overcurrent. Although most computers provide their own internal protection,
the fuse provides an extra layer of protection. If more than 500 mA is applied to the USB port,
the fuse will automatically break the connection until the short or overload is removed.
Physical Characteristics
The maximum length and width of the Uno PCB are 2.7 and 2.1 inches respectively,
with the USB connector and power jack extending beyond the former dimension. Four screw
holes allow the board to be attached to a surface or case. Note that the distance between
digital pins 7 and 8 is 160 mil (0.16"), not an even multiple of the 100 mil spacing of the other
pins.
ภาคผนวก ข
ข้อมูลโมดลู บันทกึ เสียง ISD1820
85
ISD1820 Voice
RecorderModule User
Guide
Rev 1.0, Oct 2012