ภาษาคอมพวิ เตอร์
ภาษาคอมพวิ เตอร์
มนุษย์ ใชภ้ าษาในการส่ือสารมาต้งั แต่สมยั โบราณ การใชภ้ าษาเป็นเรื่องที่มนุษยพ์ ยายาม
ถา่ ยทอดความคิดและความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อการโตต้ อบและสื่อความหมาย ภาษาท่ีมนุษยใ์ ช้
ติดตอ่ สื่อสารในชีวิตประจาวนั เชน่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ หรือภาษาจีน ต่างเรียกว่า
“ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language) เพราะมีการศึกษา ไดย้ นิ ไดฟ้ ัง กนั มาต้งั แตเ่ กิดการใชง้ าน
คอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นเครื่องมือทางอิเลก็ ทรอนิกส์ใหท้ างานตามที่ตอ้ งการ จาเป็นตอ้ งมีการ
กาหนดภาษา สาหรับใชต้ ิดตอ่ สง่ั งานกบั คอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จะเป็น ”ภาษา
ประดิษฐ”์ (Artificial Language) ท่ีมนุษยค์ ิดสร้างมาเอง เป็นภาษาท่ีมีจุดมงุ่ หมายเฉพาะ มี
กฎเกณฑท์ ี่ตายตวั และจากดั คืออยใู่ นกรอบใหใ้ ชค้ าและไวยากรณ์ท่ีกาหนดและมีการ
ตีความหมายท่ีชดั เจน จึงจดั ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็นทางการ (Formal
Language) ต่างกบั ภาษาธรรมชาติที่มีขอบเขตกวา้ งมาก ไม่มีรูปแบบตายตวั ท่ีแน่นอน กฎเกณฑ์
ของภาษาจะข้ึนกบั หลกั ไวยากรณ์และการยอมรับของกลมุ่ ผใู้ ชน้ ้นั ๆ
ภาษา คอมพิวเตอร์อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ระดบั คือ ภาษาเคร่ือง (Machine Language) ภาษาระดบั ต่า
(Low Level Language) และภาษาระดบั สูง (High Level Language)
1 ภาษาเครื่อง (Machine Language) การ เขียนโปรแกรมเพื่อสง่ั ใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานใน
ยคุ แรก ๆ จะตอ้ งเขียนดว้ ยภาษาซ่ึงเป็นที่ยอมรับของเครื่องคอมพิวเตอร์ทเ่ี รียกวา่ “ภาษาเครื่อง”
ภาษาน้ีประกอบดว้ ยตวั เลขลว้ น ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานไดท้ นั ที ผทู้ ี่จะเขียน
โปรแกรมภาษาเคร่ืองได้ ตอ้ งสามารถจารหสั แทนคาสงั่ ต่าง ๆ ได้ และในการคานวณตอ้ ง
สามารถจาไดว้ ่าจานวนต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการคานวณน้นั ถกู เก็บไวท้ ี่ตาแหน่งใด ดงั น้นั โอกาสท่ีจะ
เกิดความผดิ พลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก นอกจากน้ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละระบบมี
ภาษาเครื่องท่ีแตกต่างกนั ออก ทาให้เกิดความไมส่ ะดวกเมื่อมีการเปลี่ยนเคร่ืองคอมพิวเตอร์
เพราะจะตอ้ งเขียน โปรแกรมใหม่ท้งั หมด
2 ภาษาระดับตา่ (Low Level Language) เนื่อง จากภาษาเคร่ืองเป็นภาษาที่มีความยงุ่ ยาก
ในการเขียนดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ จึงไมม่ ีผนู้ ิยมและมีการใชน้ อ้ ย ดงั น้นั ไดม้ ีการพฒั นา
ภาษาคอมพิวเตอร์ข้ึนอีกระดบั หน่ึง โดยการใชต้ วั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั แทนการทางาน
การใชแ้ ละการต้งั ชื่อตวั แปรแทนตาแหน่งที่ใชเ้ กบ็ จานวนตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นค่าของตวั แปรน้นั ๆ การ
ใชส้ ญั ลกั ษณ์ช่วยใหก้ ารเขียนโปรแกรมน้ีเรียกว่า “ภาษาระดบั ต่า”ภาษาระดบั ต่าเป็นภาษาที่มี
ความหมายใกลเ้ คียงกบั ภาษาเคร่ือง มากบางคร้ังจึงเรียกภาษาน้ีวา่ “ภาษาอิงเคร่ือง” (Machine –
Oriented Language) ตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่า ไดแ้ ก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาท่ีใชค้ าใน
อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นคาสง่ั ให้เครื่องทางาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็น
ตน้ การใชค้ าเหลา่ น้ีช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายข้นึ กว่าการใชภ้ าษาเคร่ืองซ่ึง เป็นตวั เลขลว้ น
ดงั ตารางแสดงตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่าและภาษาเครื่องท่ีสง่ั ใหม้ ีการบวกจานวน ที่เก็บอยใู่ น
หน่วยความจา
3 ภาษาระดบั สูง (High Level Language) ภาษา ระดบั สูงเป็นภาษาท่ีสร้างข้ึนเพ่ือช่วย
อานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม กลา่ วคือลกั ษณะของคาสง่ั จะประกอบดว้ ยคาต่าง ๆ
ในภาษาองั กฤษ ซ่ึงผอู้ า่ นสามารถเขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที ผเู้ ขียนโปรแกรมจึงเขียนโปรแกรม
ดว้ ยภาษาระดบั สูงไดง้ ่ายกว่าเขียนดว้ ยภาษาแอ สเซมบลีหรือภาษาเคร่ือง ภาษาระดบั สูงมี
มากมายหลายภาษา อาทิเช่น ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษา
ปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก(BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจา
วา (Java) เป็นตน้ โปรแกรมท่ีเขียนดว้ ยภาษาระดบั สูงแตล่ ะภาษาจะตอ้ งมีโปรแกรมที่ทาหนา้ ท่ี
แปล ภาษาระดบั สูงใหเ้ ป็นภาษาเคร่ือง เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเคร่ือง
โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คาสงั่ หน่ึงคาสง่ั ในภาษาระดบั สูงจะถูกแปลเป็น
ภาษาเครื่องหลายคาสง่ั ภาษาระดบั สูงที่จะกลา่ วถึงในท่ีน้ี ไดแ้ ก่
4. ภาษาระดับสูงมาก เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 4 ซ่ึงเป็นภาษาระดบั สูงมาก จดั เป็นภาษาไร้
กระบวนคาสง่ั หมายความว่าผใู้ ช้ เพียงบอกแตว่ ่าใหค้ อมพิวเตอร์ทาอะไร โดยไมต่ อ้ งบอก
คอมพิวเตอร์ว่าสิ่งน้นั ทาอยา่ งไร เรียกวา่ เป็นภาษาเชิงผลลพั ธ์ คือเนน้ ว่าทาอะไร ไม่ใช่ทา
อยา่ งไร ดงั น้นั จึงเป็นภาษาโปรแกรมที่เขียนง่าย
5. ภาษาธรรมชาติ
เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ที่ 5 ซ่ึงคลา้ ยกบั ภาษาพูดตามธรรมชาติของคน การเขียนโปรแกรมง่าย
ที่สุด คือการเขียนคาพดู ของเราเองว่าเราตอ้ งการอะไร ไมต่ อ้ งใชค้ าสง่ั งานใดๆ เลย
ตวั อยา่ งภาษาในยคุ ตา่ งๆ ดงั น้ี
Fortran : ภาษาระดบั สูงภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมที่ใชง้ านดา้ นวิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ และดา้ นคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์เทนจะประกอบดว้ ยขอ้ ความ คาสงั่ ทีละ
บรรทดั
Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธุรกิจ ที่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ภาษาองั กฤษ และที่สาคญั คือ เป็น
ภาษาโปรแกรมท่ีอิสระจากเคร่ือง หมายความว่า โปรแกรมที่เขียนข้ึนใชง้ านบนคอมพิวเตอร์
ชนิดหน่ึงเพียงแคป่ รับปรุงเลก็ นอ้ ย ก็สามารถรันไดบ้ นคอมพิวเตอร์อีกชนิดหน่ึง
Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผเู้ ร่ิมตน้ เป็นภาษาโปรแกรมท่ีเรียนรู้ง่าย ไมซ่ บั ซอ้ น เหมาะ
สาหรับใชใ้ นวงการศึกษา
Pascal : เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ เป็นภาษาท่ีเขียนง่าย ใชถ้ อ้ ยคานอ้ ย
Ada : ภาษามาตรฐาน ซ่ึงพฒั นาข้ึนโดย โปรแกรมเมอร์คนแรก คือ เคาต์ Add Lovelace เป็น
ภาษาที่ประสบความเร็จกบั งานดา้ นธุรกิจ
C : ภาษาสมบั ใหม่ เป็นภาษาท่ีใชส้ าหรับเขียนโปรแกรมระบบปฎิบตั ิการ เหมาะสาหรับ
โปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูง
ALGOL : เป็นภาษาที่ใชเ้ ขียนโปรแกรมดา้ นวิทยาศาสตร์
LISP : เป็นภาษาท่ีใชเ้ มื่อประมวลผลดา้ นสญั ลกั ษณ์, อกั ขระ,หรือคาต่างๆ ซ่ึงเป็นการไดต้ อบ
ระหว่างคนกบั คอมพิวเตอร์ ภาษาน้ีนิยมใชเ้ ขียนโปรแกรมดา้ นปัญญาประดิษฐ์
Prolog : เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับงานดา้ นปัญญาประดิษฐ์ ซ่ึงแทนการใชภ้ าษาLISP
PL/1 : เป็นภาษาท่ีเรียนรู้ง่าย ใชง้ านท้งั ดา้ นวิทยาศาสตร์ และดา้ นธุรกิจ ดงั น้นั ภาษาน้ีจะมีขนาด
ใหญ่ มี option มาก
ALP : เป็นภาษที่เหมาะสมกบั การทาตาราง มีสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ มาก
Logo : เป็นภาษายอ่ ยของ lisp เป็นโปรแกรมสาหรับเดก็ มีการสนทนาโตต้ อบกบั คอมพิวเตอร์
โดยใช้ "เต่า" เป็นสญั ลกั ษณ์โตต้ อบกบั คาสงั่ ง่ายเช่น forward, left
Pilot : เป็นภาษาโปรแกรมท่ีนิยมใชม้ ากท่ีสุดในการเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ย
สอน(CAI) เช่น งานเกี่ยวกบั คาสง่ั ฝึกหดั การทดสอบ เป็นตน้
Smalltalk : เป็นภาษาเชิงโตต้ อบกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ยการจา และการพิมพ์ เป็น
ภาษาท่ีสนบั สนุนระบบคอมพิวเตอร์ภาพ เป็นภาษาเชิงวตั ถไุ มใ่ ชเ่ ชิงกระบวนการ
Forth : เป็นภาษาสาหรับงานควบคุมแบบทนั ที เชน่ การแนะนากลอ้ งดาราศาสตร์ และเป็นภาษา
โปรแกรมที่มีความเร็วสูง
Modula-2 : คลา้ ยคลึงกบั ภาษาปาสคาล ออกแบบมาเพื่อใหเ้ ขยี นซอฟตแ์ วร์ระบบ
RPG : เป็นภาษาเชิงปัญหา ออกแบบมาเพื่อใชแ้ กป้ ัญหาการทารายงานเชิงธุรกิจ เชน่ การ
ปรับปรุงแฟ้ มขอ้ มูล