E-BOOK
กลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ
วชิ าสงั คมศกึ ษาพนื้ ฐาน ส 23101
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
จดั ทาโดย
ครจู รญั รอดโกบ
โรงเรยี นคเู ตา่ วทิ ยา อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู
ตลาด(Market)
ความหมาย ตลาดเปน็ ตวั กลางในการติดตอ่ ซ้อื ขาย
แลกเปล่ยี นสนิ ค้าและบริการโดยไมส่ นใจว่าจะมีสถานท่ีหรือไมม่ กี ไ็ ด้
หากมกี ารซือ้ ขายสนิ คา้ และบรกิ ารในสถานท่ใี ด ๆ ก็ถือว่าสถานท่นี ัน้
เป็นตลาดแลว้ เช่นกนั
ความหมายนัยท่ี 1
สถานทีท่ ีม่ ผี ซู้ อ้ื ผู้ขายมาติดต่อ
ทำการซื้อขายกัน เชน่ ตลาดทา่ เตียน ตลาดนำ้ คลองแห
เปน็ ต้น
ความหมายนยั ท่ี 2
การติดตอ่ ระหวา่ งผู้ซื้อกบั ผู้ขาย
เชน่ ทางจดหมาย โทรศพั ท์ โทรสารคอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น
ลักษณะทัว่ ไปของตลาด
การแบง่ ตลาด
แบ่งตามชนิดสนิ ค้า
❑ ตลาดสินค้าเกษตร ทำการซอื้ ขายสินคา้ เกษตร เชน่ ข้าว ผลไม้
เนอ้ื สตั ว์
❑ ตลาดสนิ ค้าอตุ สาหกรรม ทำการซ้อื ขายสนิ คา้ อตุ สาหกรรม เชน่
เครอื่ งจกั ร รถยนต์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า
❑ ตลาดบรกิ าร การซ้อื -ขายบรกิ ารตา่ ง ๆ เช่น การขนสง่
ประกนั ภยั ธนาคาร ร้านตดั ผม เปน็ ต้น
ลกั ษณะทวั่ ไปของตลาด
การแบ่งตลาด
แบง่ ตามลกั ษณะการขายสินคา้
❑ ตลาดขายสง่ ทำการซ้ือขายสินคา้ จำนวนมาก โดย
ผขู้ ายจะขายสง่ สนิ ค้าให้พอ่ ค้าขายส่งในระดับรองลงไป
หรือขายให้พ่อคา้ ปลีกแตไ่ มข่ ายให้ผบู้ รโิ ภคโดยตรง
❑ ตลาดขายปลกี ทำการซอื้ ขายสนิ ค้าให้กบั ผ้บู รโิ ภค
โดยตรง สินคา้ ท่ีทำการซื้อขายในแตล่ ะครง้ั มจี ำนวนไมม่ าก
ลักษณะทัว่ ไปของตลาด
การแบ่งตลาด
แบง่ ตามลกั ษณะการแข่งขนั ที่มีอยู่ในตลาด
❑ ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ มกี ารแขง่ ขนั อยา่ งเตม็ ทร่ี ะหวา่ งผ้ซู อ้ื กบั ผขู้ าย
ราคาสินค้าถูกกำหนดโดยกลไกตลาด
❑ ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์ ผ้ซู อ้ื หรอื ผ้ขู ายมีอทิ ธพิ ลในการกำหนด
ราคาหรอื ปรมิ าณซ้อื ขายสนิ คา้ มากบ้างนอ้ ยบ้างตามความไมส่ มบรู ณ์
ของตลาด
ลักษณะทั่วไปของตลาด
การแบง่ ตลาด
แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการใชส้ นิ คา้
❑ ตลาดสนิ ค้าผบู้ รโิ ภค ตลาดทผี่ ้บู รโิ ภคซอ้ื สนิ คา้ ไปบรโิ ภคโดยตรง
เชน่ เสอ้ื ผ้า
❑ ตลาดปจั จยั การผลติ ตลาดที่ผ้ซู อ้ื นำไปใช้ในการผลติ อีกทอดหนง่ึ
มักอยู่ในรูปของวตั ถดุ บิ เช่น นำ้ มัน
❑ ตลาดเงนิ และตลาดทนุ ตลาดเงนิ เปน็ ตลาดทมี่ ีการระดมทนุ และให้
กยู้ มื ระยะสน้ั ไมเ่ กิน 1 ปี ส่วนตลาดทุนเปน็ ตลาดท่กี ารระดมทนุ และให้
ก้ยู ืมระยะยาวเกนิ 1 ปี
ตลาดตามลกั ษณะการแข่งขนั
“ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์”
มีผซู้ ื้อและผูข้ ายจำนวนมาก
สนิ ค้าทีซ่ ือ้ ขายมีลกั ษณะเหมอื นกนั ทกุ ประการ
ผซู้ อ้ื และผู้ขายรสู้ ภาพการณใ์ นตลาดอยา่ งดี
การตดิ ต่อซ้ือขายตอ้ งกระทำโดยสะดวก
หน่วยธุรกิจเข้า-ออกจากธุรกจิ การคา้ โดยเสรี
ตลาดตามลักษณะการแขง่ ขัน
“ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์”
ข้อดี
• ผผู้ ลติ ผลติ สนิ คา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ
เพ่อื ใหต้ น้ ทุนตำ่ ท่ีสุด การแขง่ ขนั กระตุ้นใหม้ ี
ผผู้ ลิตรายใหมเ่ ขา้ มาแข่งขัน
• ผู้บรโิ ภคไดร้ ับความพอใจสูงสดุ ในการเลือกซื้อ
สนิ คา้ และบรกิ าร
• การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธภิ าพ การกระจาย
รายไดค้ ่อนขา้ งเสมอภาค
ตลาดตามลกั ษณะการแข่งขนั
“ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์”
ข้อเสีย
• ในระยะยาวผผู้ ลติ จะไดก้ ำไรนอ้ ยมากหรือได้
เทา่ ทุนเท่านน้ั
• ไม่มกี ารแข่งขันระหว่างผผู้ ลิตอยา่ งแทจ้ รงิ
• ผู้ผลิตไมม่ กี ารลงทุนจำนวนมากเพราะไดก้ ำไร
น้อย
ตลาดตามลักษณะการแขง่ ขนั
“ตลาดแขง่ ขนั ไม่สมบูรณ์”
แบ่งออกได้ 3 ประเภท
ตลาดกึ่งแขง่ ขัน ตลาดที่ผู้ขาย
กง่ึ ผกู ขาด นอ้ ยราย
ตลาดผกู ขาด
ตลาดตามลักษณะการแขง่ ขัน
“ตลาดแข่งขนั ไมส่ มบูรณ์”
ขอ้ ดี
• รัฐสามารถควบคมุ การบรโิ ภคและการให้
สวัสดกิ ารแก่ประชาชนได้
• รฐั สามารถควบคมุ สภาพแวดลอ้ มได้
• เป็นผลดตี ่อการผลติ สนิ ค้าพน้ื ฐานทาง
เศรษฐกิจทใ่ี ชเ้ งินลงทนุ สูง
• เปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจให้ภาคเอกชน
ตลาดตามลกั ษณะการแขง่ ขัน
“ตลาดแขง่ ขันไม่สมบรู ณ์”
ข้อเสยี • การจัดสรรทรพั ยากรไม่
เป็นธรรม
• ส่งผลกระทบตอ่ การ
บรโิ ภค
• มกี ารแข่งขนั นอ้ ย
ตารางเปรียบเทียบประเภทของตลาดตามการแข่งขัน
ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์
ประเภท ตลาด ตลาดผขู้ าย ตลาด
ของ แขง่ ขัน ตลาด นอ้ ยราย กงึ่ แขง่ ขนั -
ตลาด สมบรู ณ์ ผกู ขาด กงึ่ ผกู ขาด
แทจ้ รงิ
จำนวน มากทส่ี ดุ 1 ราย 2-3 จำนวนมาก
ผ้ขู าย รายขน้ึ ไป
ลกั ษณะ เหมอื นกัน ไมม่ สี ินค้า เหมอื นกันหรอื แตกตา่ งกันและ
สนิ คา้ ที่ อย่าง ใดทดแทน ต่างกนั แต่มี
ขาย สมบูรณ์ สนิ ค้าท่ี สินค้าทดแทน หาสนิ ค้าทดแทน
ขายได้ ได้ ได้
ทุกประการ
ตารางเปรยี บเทยี บประเภทของตลาดตามการแขง่ ขนั
ประเภทของ ตลาดแขง่ ขนั ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์
ตลาด สมบรู ณ์
ตลาด ตลาด ตลาด
พลังตลาดหรอื ไม่มี ผกู ขาดแทจ้ รงิ ผขู้ ายนอ้ ยราย กง่ึ แขง่ ขนั -
อำนาจในการ กง่ึ ผกู ขาด
กำหนดราคา ไมจ่ ำเปน็
มมี ากทสี่ ุด มี แตต่ ้องเป็นไป มบี ้าง แตต่ ้องระวัง
กลยุทธ์ทาง ในทิศทาง เรอื่ งการรักษาฐาน
การตลาดเพ่อื เดยี วกับผู้ขาย ลูกค้า หากราคา
เพิ่มยอด รายอื่น ที่ต้งั สงู กว่าคแู่ ข่ง
จำหน่าย เกินไป
เน้นไปท่กี าร เน้นไปท่กี ารสรา้ ง
โฆษณา เนน้ ไปที่การ ความแตกตา่ งให้กบั
ประชาสัมพนั ธ์ โฆษณา สนิ ค้า โดยเฉพาะ
และปรบั ปรุง ประชาสัมพันธ์ ยห่ี อ้ และราคา
คุณภาพสินค้า และปรับปรงุ
โดยอาจไมค่ ำนึง คณุ ภาพสนิ ค้า
เรอื่ งลดราคา
ตารางเปรยี บเทยี บประเภทของตลาดตามการแขง่ ขนั
ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์
ประเภท ตลาด ตลาด ตลาด ตลาด
ของตลาด แขง่ ขนั ผกู ขาดแทจ้ รงิ ผขู้ ายนอ้ ยราย กงึ่ แขง่ ขนั -
สมบรู ณ์ กงึ่ ผกู ขาด
ระดับของราคา ตำ่ กว่าตลาด สูงกว่าตลาด สงู กวา่ ตลาด สงู กว่าตลาด
สนิ ค้า อ่นื อนื่ กึ่งแข่งขนั - แขง่ ขันสมบรู ณ์
ก่งึ ผกู ขาด
การจดั สรร มี มี มี มปี ระสิทธภิ าพ
ทรัพยากรใน ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพ มากกวา่ ตลาด
ระบบ สงู สุด ต่ำสุด มากกวา่ ตลาด ผู้ขายนอ้ ยราย
เศรษฐกิจ ผูกขาดแท้จริง
กลไกราคา(Price Mechanism)
หมายถึง การเปลีย่ นแปลงในระดับราคาสินคา้
ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน เมื่อ
ผู้ผลิตพยายามทำการปรับปรุงการผลิตของตนให้
สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในตลาด
เมอ่ื ใดทป่ี รมิ าณสินคา้ และบริการทผ่ี ู้ผลติ ได้ผลิตข้ึนมีเป็น
จำนวนมาก ขณะที่ปริมาณความต้องการของผู้บริโภค
ยังคงมีเท่าเดมิ ระดับราคาสินคา้ ชนดิ นัน้ จะลดลง
อปุ สงค์
หมายถึง ปริมาณสินคา้ และบรกิ ารที่ผบู้ ริโภค
ตอ้ งการและสามารถซ้ือสินคา้ ในระยะเวลาหนง่ึ ณ ระดบั
ราคาต่างๆ ของสินคา้ และบริการชนิดนน้ั
กฎของอปุ สงค์
➢ถา้ ราคาสนิ ค้าและบริการเพมิ่ ขน้ึ ความตอ้ งการซอ้ื จะลดลง
➢ถา้ ราคาสนิ ค้าและบริการลดลง ความต้องการซ้ือจะเพ่ิมขน้ึ
➢ราคาสินค้าและความตอ้ งการซือ้ สินคา้ มีความสัมพนั ธใ์ นทศิ ทางตรงข้ามกนั
ตารางอุปสงคใ์ นการซือ้ นอ้ ยหนา่
ราคาตอ่ กิโลกรมั ปริมาณซอื้
(บาท) (กโิ ลกรมั )
20
15 1
10 2
5 3
4
P (ราคา : กโิ ลกรมั )
20 เส้นอปุ สงค์
15
10
5
D
0 1 2 34 Q
(ปรมิ าณ : กิโลกรัม)
ปจั จัยในการกาหนดอปุ สงค์ การ
ราคาสินคา้
รายไดข้ องผู้บรโิ ภค
ราคาสนิ ค้าอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
จำนวนประชากร
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
รสนิยมของผู้บรโิ ภค
การเปลย่ี นแปลงปรมิ าณอุปสงค์
เป็นการเปลีย่ นแปลงปรมิ าณการซ้ือ
ทีเ่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงราคา
การเปลย่ี นแปลงระดบั อปุ สงค์
เป็นการเปลี่ยนแปลงความต้องการซื้อ ในขณะ
ทีร่ าคาสินค้าและบรกิ ารยงั คงเดิม แต่เป็นผลมา
จากปัจจัยต่างๆ เช่น รายได้ จำนวนประชากร
ฤดูกาล การโฆษณา มีผลให้ปริมาณซื้อ
เพิม่ ข้ึนหรอื ลดลง
อุปทาน
หมายถงึ ปริมาณสนิ ค้าและบรกิ ารท่ีผผู้ ลติ พร้อม
ท่ีจะผลิตออกขายณ ระดับราคาตา่ งๆ ภายในระยะเวลา
ทีก่ ำหนด
กฎของอปุ ทาน
➢ถา้ ราคาสนิ ค้าและบรกิ ารเพิ่มข้ึน ผผู้ ลิตจะผลติ สินคา้ ออกมาขายเพ่ิมข้ึน
➢ถ้าราคาสินคา้ และบรกิ ารลดลง ผู้ผลติ จะผลิตสนิ ค้าออกมาขายลดลง
➢ราคาสินคา้ และความตอ้ งการขายสินคา้ มีความสมั พันธ์ในทศิ ทางเดยี วกัน
ตารางอปุ ทานในการผลิตขนม
ราคาขนม(บาท) ปรมิ าณผลิต(ห่อ)
20 4
15 3
10 2
51
P (ราคา : S
เส้นอุปทาน
20
15
10
5
0 1 2 34 Q
(ปริมาณ : ห่อ)
ปจั จัยในการกาหนดอปุ ทาน
ราคาสนิ ค้า
จำนวนผู้ผลติ หรือผู้ขาย
ราคาปัจจยั การผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายของรฐั บาล
การเปลย่ี นแปลงของเทคนิคการผลติ
การเปลย่ี นแปลงปรมิ าณอุปทาน
เป็นการเปลย่ี นแปลงปริมาณการผลิตทเี่ กิดจาก
การเปลีย่ นแปลงของราคาสนิ คา้ โดยให้ปัจจยั
อ่นื ๆ ทีไ่ ม่ใชร่ าคาคงท่ี
การเปลยี่ นแปลงระดบั อปุ ทาน
เป็นการเปล่ียนแปลงปริมาณการผลิต ในขณะที่
ราคาและบริการยังคงเท่าเดิมซง่ึ เป็นไปไดท้ ง้ั เพมิ่ ขน้ึ
และลดลง สาเหตอุ าจมาจากการเปลีย่ นแปลงของ
ปจั จัยอื่นทไี่ มใ่ ช่ราคาของสินคา้ ชนดิ นัน้
หลกั การปรบั และเปล่ียนแปลงราคาสนิ คา้
และบรกิ าร
จากตารางจะเหน็ ได้วา่ หากน้ำผลไมร้ าคากลอ่ งละ 16 บาท
ปรมิ าณซ้อื (อุปสงค์) กับปรมิ าณขาย (อปุ ทาน) จะเทา่ กนั พอดี
ที่ 4 กลอ่ ง ทำใหส้ นิ คา้ หมดพอดี เกดิ เปน็ ราคาดุลยภาพ
ภาวะดลุ ยภาพ ราคาดลุ ยภาพ = ราคาที่เกดิ จากปริมาณซ้ ือ
และปริมาณขายเท่ากนั
ปรมิ าณดลุ ยภาพ = ปริมาณซ้ ือขายท่ีเท่ากนั
พอดี (สนิ คา้ หมด)
หากราคาน้ำผลไมอ้ ยู่สงู กวา่ ดุลยภาพ (กลอ่ งละ 20, 24, 28 บาท) กจ็ ะ
ทำใหอ้ ุปทานมากกวา่ อุปสงคซ์ ่งึ เรียกว่า อุปทานสว่ นเกนิ ซึง่ ทำให้ปริมาณสนิ ค้าเหลือ
หากผขู้ ายต้องการขายให้หมด กต็ อ้ งปรบั ราคาสนิ คา้ ใหล้ ดลงมาสู่ราคาดลุ ยภาพ
ในทางตรงข้าม หากราคานำ้ ผลไมอ้ ยู่ตำ่ กว่าดลุ ยภาพ (กลอ่ งละ 12, 8, 4 บาท) ก็
จะทำให้อุปสงคม์ ากกว่าอุปทาน ซ่งึ เรยี กว่า อุปสงคส์ ว่ นเกนิ ทำใหป้ ริมาณสินค้าขาด
ตลาด ผู้ซอ้ื จะแย่งกนั ซ้อื โดยเสนอราคาให้สูงข้ึน โดยอปุ สงค์ส่วนเกินจะลดลงเรอ่ื ยๆ
จนถึงจดุ ดุลยภาพในท่สี ุด ทง้ั หมดนี้สามารถแสดงเป็นกราฟได้ ดงั น้ี
การกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
หลกั การกาหนดราคา
อุปสงค์และอปุ ทานของสนิ ค้าและบริการมคี วามสัมพนั ธ์ข้นึ อย่กู ับราคาสนิ คา้
ดังนน้ั ปรมิ าณสนิ ค้าและบริการทีผ่ บู้ ริโภคตอ้ งการซื้อและผ้ขู ายต้องการขายจะ
ปรบั ตัวตามระดบั ของราคาสินค้าและบรกิ ารที่เปลย่ี นแปลงไป แต่เน่อื งจากการ
ปรับตัวของปรมิ าณซอ้ื และปรมิ าณขายตอ่ ราคาจะมีลกั ษณะตรงกนั ขา้ ม
กลา่ วคือ ในขณะทร่ี าคาสินคา้ และบรกิ ารลดลง ผซู้ อ้ื จะซอ้ื สินคา้ มากข้นึ
แต่สำหรบั ผู้ขายหรอื ผู้ผลิต กจ็ ะนำสนิ คา้ มาจำหน่ายน้อยลง
การกาหนดราคาในระบบเศรษฐกจิ
การปรบั และเปลยี่ นแปลงราคาสนิ คา้ และบรกิ าร
เกดิ ข้นึ ได้ 3 กรณี ได้แก่
1. ความต้องการของผูบ้ รโิ ภคเปลี่ยนแปลงไปและความตอ้ งการผลิตคงท่ี
2. ความต้องการบริโภคคงที่และความต้องการผลติ เปลย่ี นแปลงไป
3. ความตอ้ งการบริโภคและความตอ้ งการผลติ เปลย่ี นไปพร้อมกัน
การกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
การกาหนดราคาในทางปฏิบัติ
เกิดขึน้ ได้ 2 กรณี ไดแ้ ก่
1. การกำหนดราคาโดยกำหนดส่วนบวกเพมิ่ เข้าไปกับตน้ ทุน
2. การกำหนดราคาเพื่อใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนจากเงินลงทนุ
ตามเป้าหมายส่วนบวกเพมิ่ เขา้ ไปกับต้นทุน
ขอบคุณครบั
ครูจรัญ รอดโกบ