The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cdoae1 cdoae, 2020-06-29 04:18:33

Annual2019

Annual2019

โครงการ สมั มนาเชิงปฏบิ ัติการเวทเี ครือข่ายแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ต้นแบบอาสาสมัครเกษตร ระดับเขต 1

กิจกรรม จัดทาเวทเี ครือข่ายแลกเปลีย่ นเรียนร้ตู ้นแบบอาสาสมัครเกษตร ระดบั เขต

สำนักส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท คัดเลือกอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน
ที่ผ่ำนเวทีเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ระดับจังหวัด หรือบุคคลท่ีมีผลงำนด้ำนอำสำสมัครเกษตรดีเด่นภำยในจังหวัด
ของสำนักส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนำท จำนวน 180 รำย เข้ำร่วมเวทีเครือข่ำย ระดับเขต
เพ่ือเป็นกำรยกย่อง เชิดชูเกียรติ และประชำสัมพันธ์ผลงำน และเช่ือมโยงเครือข่ำยแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ของอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน (อกม.) ตำมบทบำทหน้ำที่ ท่ีได้รับมอบหมำยจำกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ซึง่ ผลกำรดำเนินงำนสรุปได้ ดงั น้ี

1 บรรยำพิเศษ “อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำนกับกำรพัฒนำกำรเกษตรไทย” โดย ผู้อำนวยกำรกลุ่ม
พัฒนำเกษตรกรและอำสำสมัครเกษตร

2. โครงกำร ดแี ทคฟำร์มแม่นยำ ควำมรว่ มมอื กนั ของ ดีแทค กรมสง่ เสริมกำรเกษตร โดย ทีมวทิ ยำกร
ดแี ทค

3. กจิ กรรมทำงจติ วทิ ยำเพื่อกำรพฒั นำศกั ยภำพสูก่ ำรเป็นตน้ แบบเกษตรกรในพื้นท่ี
- คดิ ในทำงบวก (Positive thinking) คอื คดิ ในทำงท่ีดตี อ่ คนอ่นื
- มีส่วนร่วม (Participation) คือ กำรมีส่วนร่วมในกำรอยู่ร่วมกับผู้อื่น รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง

ของสังคม กำรอย่รู ว่ มกันอยำ่ งกลมกลืน เกื้อกลู เป็นธรรมชำติ
- ทำตัวเป็นประโยชน์ (Useful) คือ เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืน ต่อสำธำรณะ ต่อสังคม ไม่นิ่งดูดำย

อะไรที่เป็นประโยชนต์ ่อสำธำรณะแม้เพียงเล็กน้อยก็จะทำ เปรยี บเสมอื นสุภำษิตที่กล่ำวไว้วำ่ " ปิดทองหลงั พระ "
- ไมเ่ หน็ แกต่ ัว (Unselfish) คอื กำรฝกึ เอ้อื เฟ้ือเผื่อแผซ่ ่งึ กันและกนั
- มีควำมเข้ำใจ (Understand) คือ เข้ำใจผู้อื่น (Empathy) ไม่ทับถมผู้อื่น ไม่ซ้ำเติมผู้อื่น

ไมท่ ำใหผ้ ูอ้ ่ืนเดือดรอ้ น
- มีใจกว้ำง (Broad Mind) คือ มีจิตท่ีกว้ำงใหญ่ เปิดกว้ำง ไม่คับแคบ รับฟังควำมคิดเห็น

ของผ้อู ื่น รบั ฟังขอ้ มูล แสวง หำควำมรู้ใหม่อยเู่ สมอ
- มคี วำมรกั (Love) คอื รกั เพ่ือน รกั ผู้อืน่ เมตตำต่อสตั ว์ และพชื
- มีกำรส่ือสำรที่ดี (Communication) คือ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น เล่น และทำงำน

ร่วมกับผ้อู ืน่ ได้
- ควำมกล้ำหำญ ( courage; bravery; intripidity) คือควำมสำมำรถในกำรทำงำนหรือกิจกำรต่ำงๆ

อย่ำงถูกต้องเป็นธรรม ถึงแม้ว่ำจะต้องพบกับกำรคัดค้ำนอย่ำงกว้ำงขวำง ถึงแม้ว่ำจะต้องพบกับควำมอับอำย
เรอ่ื งอ้ือฉำว และกำรบ่ันทอนกำลังใจ โดย ทีมวทิ ยำกรกองพันปฏบิ ัติกำรจติ วทิ ยำ

4. สัมมนำกลุ่มย่อย ”อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน ปัจจัยสำคัญท่ีส่งผลต่อประสิทธิภำพกำรขับเคลื่อน
งำนส่งเสริมกำรเกษตรในพื้นที่ตำมบทบำทและหน้ำที่ กำรพัฒนำศักยภำพ กำรกระตุ้นและสร้ำงแรงจูงใจ
และกำรสรำ้ งระบบสนับสนุน”

๔๖

5. พิธีมอบใบประกำศยกย่องเชิดชูเกียรติอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำนผู้ปฏิบตั ิหน้ำท่ีดเี ด่น และ สรุปผล
กำรจัดโครงกำรสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรเวทีเครือข่ำยแลกเปล่ียนเรียนรู้ต้นแบบอำสำสมัครเกษตรระดับเขต 1
และกล่ำวปดิ โครงกำรฯ โดย ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชยั นำท

สงิ่ ทีเ่ กษตรกรไดร้ ับจากกจิ กรรมดงั กลา่ วคอื
1. อำสำสมัครเกษตร/อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน (อกม.) ได้รับกำรเพิ่มศักยภำพให้ มีควำมรู้
ควำมเข้ำใจในงำนส่งเสริมกำรเกษตร สำมำรถสนับสนุนกำรขับเคลื่อนงำนส่งเสริมกำรเกษตรและภำรกิจ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2. อำสำสมัครเกษตร/อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน(อกม.) มีระบบกำรทำงำนเป็นกลไกและมีส่วนร่วม
ในกำรพฒั นำงำนส่งเสริมกำรเกษตรในพืน้ ท่ี เชือ่ มโยงเครอื ข่ำยกำรทำงำนตำมบทบำทหนำ้ ท่ี และพฒั นำใหเ้ ป็น
ต้นแบบแก่เกษตรกรในพ้นื ที่
3. เสริมสร้ำงขวัญ กำลงั ใจ ในกำรปฏิบตั ิงำน ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ ใหแ้ กอ่ ำสำสมคั รเกษตร/อำสำสมัคร
เกษตรหมู่บ้ำน(อกม.) ให้โอกำสในกำรแสดงควำมเป็นผู้นำและเป็นที่เชื่อถือยอมรับของเก ษตรกร
และประชำสมั พนั ธผ์ ลงำนของอำสำสมัครเกษตร
4. เกิดเครือข่ำยกำรทำงำนระหว่ำงอำสำสมัครเกษตร/อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน (อกม.) เจ้ำหน้ำท่ี
ผู้รับผิดชอบงำนอำสำสมัครเกษตร/อำสำสมคั รเกษตรหมู่บำ้ น (อกม.) ระดับเขต

๔๗

โครงการเตรียมความพรอ้ มทหารกองประจาการเปน็ ทายาทเกษตรรนุ่ ใหม่

สำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพ
กำรเกษตร จังหวัดลพบุรี จัดกิจกรรมเตรียมควำมพร้อมทหำรกองประจำกำรเป็นทำยำทเกษตรรุ่นใหม่
ระหว่ำงวันที่ 8 กรกฎำคม – 15 กันยำยน 2562 ณ สำนักงำนเกษตรจังหวัดลพบุรี มณฑลทหำรบกที่ 13
และศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตรจังหวัดลพบุรี กลุ่มเป้ำหมำย ประกอบด้วยทหำรกองประจำกำร
มณฑลทหำรบกท่ี 13 จังหวัดลพบรุ ี จำนวน 20 คน
มีกิจกรรมท่ดี ำเนินกำร ดงั นี้

1) ประชุมขับเคลื่อนกำรดำเนินงำนระดับเขต ดำเนินกำรโดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร
สำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนำท เพื่อประชุมขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนระดับเขต
และ จัดทำแผนกำรดำเนินงำนโครงกำรร่วมกบั หน่วยงำนภำคี

2) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร สำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนำท
ประชุมเชิงปฏิบัติกำรชี้แจงและประชำสัมพันธ์ และรับสมัครทหำรกองประจำกำร เพ่ือประชุมช้ีแจง
วัตถุประสงค์ของโครงกำรฯ ให้ทหำรกองประจำกำรทรำบ ประชำสัมพันธ์กำรดำเนินงำน และรับสมัครทหำร
กองประจำกำรเข้ำร่วมโครงกำรฯ

3) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพด้ำนกำรเกษตรจังหวัดลพบุรี จัดฝึกอบรมควำมรู้พื้นฐำนด้ำนกำรเกษตร
ให้แก่ทหำรกองประจำกำร เพื่อกำรพัฒนำควำมรู้และทักษะด้ำนกำรเกษตรแก่ทหำรกองประจำกำร ให้สำมำรถ
นำไปประกอบอำชีพ มีรำยได้หลังปลดประจำกำรและบ่มเพำะและสร้ำงทำยำทเกษตรรุ่นใหม่ และสำนักงำน
ส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำทได้ติดตำมประเมนิ ผล พรอ้ มสรุปผลกำรดำเนนิ งำน
ผลทเี่ กิดขึน้ จากกจิ กรรมดังกลา่ ว คอื

1. ทหำรกองประจำกำรมีควำมรู้ ทักษะด้ำนกำรเกษตร สำมำรถนำไปประกอบอำชีพ สร้ำงรำยได้
ภำยหลังปลดประจำกำร

2. มที ำยำทเกษตรกรรุ่นใหม่ และ Young Smart Farmer เพ่มิ ข้นึ เปน็ กำลังสำคัญในกำรพัฒนำ
กำรเกษตรของประเทศในอนำคต

3. เกดิ ควำมร่วมมือในกำรทำงำนร่วมกันของสำนักงำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชัยนำท
สำนกั งำนเกษตรจงั หวัดลพบรุ ี ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนำอำชีพด้ำนกำรเกษตรจังหวดั ลพบุรี และ มณฑลทหำรบกท่ี 13
จงั หวดั ลพบุรี เพ่ือกำรพัฒนำทหำรกองประจำกำรเตรยี มควำมพร้อมดำ้ นอำชพี ก่อนปลดประจำกำร
และกำรพัฒนำพน้ื ท่กี ำรเกษตรในหนว่ ยทหำรพันธด์ุ ี มณฑลทหำรบกที่ 13 จังหวัดลพบรุ ี

๔๘

โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปร่ือง ประจาปีงบประมาณ 2562

กจิ กรรม เพิม่ ศกั ยภาพ Young Smart Farmer ปี 2562

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 – 16 พฤศจิกายน 2561 ณ บ๊ิกโจ๊ย คันทร่ี รีสอร์ท อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
ผู้รว่ มกิจกรรม ประกอบด้วย Young Smart Farmer และผู้เกี่ยวขอ้ ง จานวน 68 คน
กิจกรรมทดี่ าเนนิ การ ได้แก่

1 ) การจัดทาแผนพัฒนาศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ ปี 2562 และติดตามความก้าวหน้า
ของการดาเนินงาน และมีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินงาน โดยผู้แทนศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่
นาเสนอผลและแผนการดาเนนิ งาน

2) การเลือกใช้วสั ดุสาหรบั บรรจภุ ณั ฑใ์ นสนิ ค้าเกษตร
3) การออกแบบและพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์ ในสินคา้ เกษตร การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design)
4) การเชื่อมโยงงานตลาดเกษตรกร กับ Young Smart Farmer ตลาดเกษตรกร
5) การจัดการแหล่งท่องเท่ียววถิ ีเกษตร จังหวดั สระบุรี
จากกิจกรรมดังกล่าว ทาให้ Young Smart Farmer ได้รับความรู้ในการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
สามารถพัฒนาศักยภาพและปรับตัวให้เข้าสู่ภาคการเกษตร Thailand 4.0 เกิดการบูรณาการ การทางาน
ร่วมกัน เชื่อมโยงการทางาน ขยายผลสู่ชุมชน และสามารถต่อยอดพัฒนาตนเองเป็นผู้ประกอบการเกษตร
รุ่นใหมไ่ ด้

๔๙

กจิ กรรม สมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการเครอื ข่าย Smart Farmer ต้นแบบระดับเขต
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

จัดขึ้น ระหว่างวันท่ี 22 – 24 เมษายน 2562 ณ โรงแรมแฟนตาซีรีสอรท์ ตาบลบ้านกล้วย อาเภอเมือง
จังหวดั ชยั นาท ผ้รู ่วมสัมมนา ประกอบดว้ ย Smart Farmer และผู้เกยี่ วขอ้ ง จานวน 60 คน
กิจกรรมทดี่ าเนินการ

Smart Farmer ได้รับการพัฒนา เสริมสร้างภาวะผู้นา การทางานจิตอาสา และการแบ่งปัน ผ่านกระบวนการ
กลุ่มสัมพันธ์ แบ่งกลุ่มถอดบทเรียนการนาแผนการผลิตรายบุคคลไปปฏิบัติในพ้ืนท่ี นาเสนอพร้อมแลกเปลี่ยน
แนวคดิ การทาการเกษตรของ Smart Farmer ตน้ แบบภาคกลาง
ผลทเี่ กิดขึ้นจากการสัมมนา คอื Smart Farmer ตน้ แบบ สามารถนาความรทู้ ่ไี ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ในการทางาน
ร่วมกับเจ้าหน้าที่ เกษตรกรในพื้นที่ เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ตนเอง
มใี ห้กับกล่มุ เกษตรกรท่ัวไปได้ เช่อื มโยงการทางานระหวา่ ง Smart Farmer ต้นแบบภาคกลาง

๕๐

กจิ กรรม เวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละสร้างเครอื ข่าย Young Smart Farmer ระดบั เขต

จดั ขึ้น ระหว่างวนั ท่ี 9 – 12 มถิ ุนายน 2562 ณ โรงแรมแฟนตาซีรสี อร์ท ตาบลบา้ นกลว้ ย อาเภอเมือง
จงั หวดั ชัยนาท ผรู้ ว่ มเวที ประกอบด้วย Young Smart Farmer และผเู้ กย่ี วข้อง จานวน 60 คน

Young Smart Farmer ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การดาเนินกิจกรรมการเกษตรของตนเอง และแบ่งปัน
ประสบการณ์การทางานและแนวคิดก่อนท่ีจะเข้าสู่ภาคการเกษตร เรียนรู้การเชื่อมโยงเครือข่ายจากรุ่นพี่ สู่รุ่นน้อง
และการบรู ณการการเกษตรในพ้ืนท่ี กบั Smart Farmer และ ศูนยเ์ รยี นรเู้ พม่ิ ประสทิ ธิภาพสนิ คา้ เกษตร

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ Young Smart Farmer และเจ้าหน้าท่ี
เกิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมการเกษตร การผลิตและการตลาดได้แลกเปล่ียนแนวคิดในการดาเนินการ
เกษตรกับเพื่อน เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้สามารถพัฒนาตนเองและสามารถนาไปต่อยอดขยาย
ผลส่เู กษตรกรในพนื้ ท่ใี กล้เคยี งได้

๕๑

โครงการฝึกอบรมหลกั สตู ร การเสรมิ สร้างและพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีผ่ รู้ ับผดิ ชอบงาน
สง่ เสรมิ เคหกจิ เกษตรระดบั อาเภอ (Home and House Care : District Dream Team)

ดาเนนิ การ ระหวา่ งวนั ท่ี 12- 15 กมุ ภาพันธ์ 2562 ณ สานักงานสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตรที่ 1
จงั หวัดชัยนาท ผูเ้ ขา้ รว่ มการอบรม จานวน 40 คน

การฝึกอบรมดังกลา่ วจัดข้ึนเพื่อ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของเจา้ หน้าที่ผรู้ ับผิดชอบงานสง่ เสรมิ
เคหกิจเกษตรระดับอาเภอ พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานในพื้นที่ให้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานสง่ เสริมเคหกจิ
จัดทาแผนและแนวทางการขับเคล่ือนงานส่งเสริมเคหกิจเกษตรระดับอาเภอ (Road Map) พร้อมทั้งสร้าง
และเชอ่ื มโยงเครอื ข่ายการทางานสง่ เสรมิ เคหกิจเกษตรระดับอาเภอ
ความสาเรจ็ ท่ีเกดิ จาการดาเนินโครงการ

1. นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบงานส่งเสริมเคหกิจเกษตรระดับอาเภอ ได้รับการเสริมสร้าง
และพัฒนาศกั ยภาพ และมีความพร้อมในการปฏิบัตงิ าน จานวน 40 คน

2. เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานเคหกิจเกษตรระดับอาเภอมีความพร้อมและเช่ือม่ันในการปฏิบัติงาน
ส่งเสริมเคหกิจเกษตรในพ้นื ที่

3. เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานเคหกิจเกษตรระดับอาเภอ มีคุณภาพ เป็นทั้งคนดี คนเก่ง และเป็นอนาคต
ของกรมส่งเสริมการเกษตร ในการส่งเสริมงานเคหกิจเกษตรเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจครัวเรือน
เกษตรกรต่อไป

4. เกิดแนวคิดใหม่ๆและนาความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปปรบั ปรุงการดาเนนิ งานต่อไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ

๕๒

โครงการอบรมเทคโนโลยีดา้ นการเกษตร

ด้วยปัจจุบันกรมส่งเสริมการเกษตรได้บรรจุแต่งตั้งข้าราชการตาแหน่งนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
ท่ีมีความรู้ จากหลายสาขาอาชีพ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องพัฒนาใหม้ ีความรู้ ทักษะพื้นฐานด้านการส่งเสริม
การเกษตร และเนื้อหาวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความรู้
และความมน่ั ใจในการปฏบิ ัติงานด้านส่งเสริมการเกษตร จึงไดด้ าเนนิ การจดั ฝึกอบรมข้นึ โดยมบี ุคคลเปา้ หมาย
เป็นขา้ ราชการบรรจใุ หม่ อายุงาน 1ปี จานวนท้ังส้ิน 58 คน แบง่ การฝึกอบรมเปน็ 3 ครง้ั

คร้ังท่ี 1 วันท่ี 23- 26 เมษายน 2562 สถานที่ ศนู ย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร
จงั หวดั ชัยนาท

๕๓

ครงั้ ท่ี 2 วนั ที่ 22- 28 มถิ นุ ายน 2562 สถานท่ี ศูนย์สง่ เสรมิ เทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช
จงั หวัดชยั นาท

คร้ังท่ี 3 วันท่ี 11- 13 กนั ยายน 2562 สถานที่ ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชพี การเกษตรจงั หวัดลพบรุ ี

๕๔

โครงการพัฒนานักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ

ตามแนวทางการดาเนินงานของกรมส่งเสริมการเกษตรโดยยึดหลัก Smart Strong Together
เพ่ิมขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรและสารพลังทุกภาคส่วนในก ารขับเคล่ือนงานส่งเสริม
การเกษตรมุ่งม่ันพัฒนาเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ทักษะการปฏิบัติงานในพื้นท่ี สามารถเรียนรู้ออกแบบ
กระบวนการทางานพัฒนาพัฒนาตนเองได้อ่างต่อเนื่อง มีทัศนคติ กระบวนทัศน์ที่ดีต่ออาชีพ มีทีมงาน
ท่ีเข้มแข็งเรียนรู้จากบุคคลรอบข้าง พ่ีเลี้ยง ซ่ึงเป็นแนวทางรูปแบบในการพัฒนานักส่งเสริมมืออาชีพ
โดยมบี คุ คลเป้าหมาย จานวน 30 คน เปน็ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรท่ีมีอายุงาน 1-5 ปี จากสานักงาน
เกษตรจังหวดั สานักงานเกษตรอาเภอและศนู ยป์ ฏิบตั ิการทส่ี มัครเขา้ รว่ มโครงการ แนวทางการดาเนินงานแบ่ง
การฝกึ อบรมออกเป็น 3 ครั้ง ดว้ ยกนั ดังตอ่ ไปน้ี

ครัง้ ที่ 1 วนั ที่ 28- 29 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวดั ชัยนาท

๕๕

ครง้ั ท่ี 2 วนั ที่ 30 พฤษภาคม – 1 มถิ นุ ายน 2562 ณ โรงแรมแอท อยุธยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

ครงั้ ที่ 3 วนั ท่ี 24- 26 กรกฏาคม 2562 ณ โกลดเ์ มา้ เทน่ รสี อร์ท อาเภอวงั น้าเขยี ว
จังหวดั นครราชสีมา

๕๖

โครงการสขุ ใจวัยเกษยี ณ

ในปี 2562 บุคลากรกรมส่งเสริมการเกษตรจะเกษียณอายุราชการตามวิถีของข้าราชการ ดังน้ัน
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุหรือวัยเกษียณ โดยเฉพาะ ด้านสุขภาพกาย สุขภาพใจ
และด้านการดาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข จึงมีการจัดฝึกอบรมหลักสูตรสุขใจวัยเกษียณ บุคคลเป้าหมาย
จากทุกหน่วยงานในความรบั ผิดชอบ จานวน 40 ท่าน ระหว่าง วันที่ 22 - 23 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรม
แฟนตาซรี ีสอรท์ อาเภอเมืองจงั หวัดชยั นาท

๕๗

อบรมสมั มนาด้านการเงนิ การคลงั บัญชีและพัสดุ

ตามพระราชบัญญัติการเงินการคลัง ของรัฐ พ.ศ.2562 ซ่ึงมีผลบังคับใช้ เม่ือวันที่ 20 เมษายน 2562
ประกอบด้วยขัน้ ตอนรายละเอียดกระบวนงานที่จาเป็นต้องดาเนินงานอย่างถูกต้อง โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนา
ประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ีธุรการระดบั อาเภอ จงั หวดั และศนุ ย์ปฏิบตั ิการและผ้เู ก่ียวข้อง จานวน 108 คน ระหว่างวนั ที่ 16 - 17
กนั ยายน 2562 ณ โรงแรมโกลด์เด้นดราก้อน อาเภอเมอื ง จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี

๕๘

การดาเนนิ งานศูนยป์ ฏิบัตกิ าร

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชยั นาท

1. โครงการส่งเสริมการใชเ้ ครื่องจักรกลทางการเกษตร ประจาปี 2562

1.1 กิจกรรมสร้างช่างเกษตรท้องถ่ิน: อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้และบารุงรักษาเคร่ืองยนต์เกษตร
แกเ่ กษตรกรเป้าหมายโครงการ

1.1.1 หลักสูตรระดบั ท่ี 1: ระดับพื้นฐาน
ศูนย์ฯ ร่วมจัดการฝึกอบรมกับสานักงานเกษตรจังหวัดในการถ่ายทอดความรู้การใช้และบารุงรักษา
เครื่องยนต์เกษตรแก่เกษตรกรในพื้นที่ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชัยนาท สิงห์บุรี สระบุรี
นครปฐม กาญจนบุรี สระแก้ว นครสวรรค์ ลาปาง และพะเยา ระหว่างวันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 ถึง
23 มกราคม 256 จานวน 18 ครงั้ มเี กษตรกรเข้ารว่ มจานวน 452 ราย ทงั้ นี้ หลงั จากการฝึกอบรมเกษตรกร
มีทกั ษะและเทคนคิ ท่ถี ูกต้องในดา้ นการใช้และบารงุ รักษาเครอื่ งยนตเ์ กษตร และเครอื่ งจกั รกลการเกษตร

1.1.2 หลกั สตู รระดับท่ี 2: ระดับซ่อมแซมเบือ้ งต้น (เป้าหมาย 100 ราย)
จัดฝึกอบรมถ่ายทอดความรเู้ พื่อพัฒนาและเทคนิคในการซอ่ มแซมเครอ่ื งยนต์เกษตรเบ้ืองต้น ในพ้ืนที่
4 จงั หวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ชยั นาท สงิ หบ์ รุ ี และอ่างทอง ระหวา่ งวันท่ี 20 กุมภาพันธ์ ถึง 13
มีนาคม 2562 จานวน 4 คร้ัง มีเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรช่างเกษตรท้องถ่ินระดับท่ี 1 เข้าร่วม
จานวน 100 ราย ท้ังน้ี หลังจากการฝึกเกษตรกรร้อยละ 88 สามารถวิเคราะห์แก้ไขปัญหาเครอื่ งยนต์เกษตร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้ไปปฏิบัติเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกล
ของตนเองเฉลยี่ 861.20 บาท/คน/ปี

๕๙

1.1.3 หลักสตู รระดบั 3: ระดับประกอบอาชพี (เปา้ หมาย 50 ราย)
จัด ฝึก อบ ร ม ถ่า ย ท อด ค ว า ม รู้ เ พื่ อ พัฒ น า ทั ก ษ ะแ ล ะเ ท ค นิ ค ใ น ก า ร ซ่ อ ม แ ซ ม เ ค รื่ อ ง ย น ต์ เ ก ษ ต ร
ต่อจากระดับท่ี 2 โดยสามารถให้บริการตรวจเช็คและซ่อมแซมใหญ่ได้ (Overhaul) ดาเนินการระหว่างวันท่ี
18 ธันวาคม 2561 ถึง 16 พฤษภาคม 2562 จานวน 4 ครั้ง มีเกษตรกรท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร
ช่างเกษตรท้องถิ่นระดับที่ 2 เข้าร่วมจานวน 50 ราย ท้ังนี้ หลังจากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถวิเคราะห์
และแก้ไขปัญหาความผิดปกติของการทางานของเครื่องยนต์และชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ได้ โดยสามารถ
ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกลการเกษตรของตนเอง คิดเป็นมูลค่า 1,843.33 บาท/ราย/ปี
และมีรายไดจ้ ากการใหบ้ ริการซอ่ มแซมเครอ่ื งจกั รกลการเกษตรเฉลยี่ 784.29 บาท/ราย/ปี

1.2 กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพการให้บริการเคร่ืองจักรกลการเกษตรชุมชน (เป้าหมาย 150 ราย)
1.2.1 หลักสูตรเทคนิคการใช้บารุงรักษาและการให้บริการรถแทรกเตอร์: จัดฝึกอบรมถ่ายทอด

ความรู้เพื่อพัฒนาทักษะและเทคนิคการบรหิ ารและการให้บริการรถแทรกเตอร์แก่เกษตรกรในพ้ืนที่ 2 จังหวัด
คือ จังหวัดสระบุรี และชัยนาท ระหว่างวันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 ถึง 6 มีนาคม 2562 จานวน 3 ครั้ง
มีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 75 ราย ทั้งน้ี หลังจากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถลดค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมแซม
เคร่ืองจักรกลการเกษตรของตนเอง เฉลี่ยเป็นเงนิ 650 บาท/ราย/ปี มีผลการประกอบการ(กาไรสุทธิ) เพิ่มขึ้น
630 บาท/ราย/ปี และสามารถลดต้นทุนการประกอบธรุ กจิ 600 บาท/ราย/ปี

1.2.2 หลักสูตรการใช้และบารุงรักษาเคร่ืองยนต์เกษตร: จัดฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้เพ่ือพัฒนา
ทักษะและเทคนิคการบริหารและการให้บริการบารุงรักษาเครื่องยนต์เกษตรแก่เกษตรกรในพื้นท่ีจังหวัด
ชัยนาท ระหว่างวันท่ี 7 ถึง 8 มีนาคม 2562 จานวน 1 คร้ัง มีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 25 ราย ท้ังนี้
หลังจากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกลการเกษตรของตนเอง

๖๐

เฉลี่ยเป็นเงิน 850 บาท/ราย/ปี มีผลการประกอบการ(กาไรสุทธิ) เพ่ิมขึ้น 530 บาท/ราย/ปี และสามารถ
ลดตน้ ทนุ การประกอบธรุ กิจ 214.29 บาท/ราย/ปี

1.2.3 หลักสูตรการสีข้าว: จัดฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้การใช้งานโรงสีเพื่อเพิ่มคุณภาพข้าว
การบารุงรักษาโรงสีข้าวชุมชนแก่เกษตรกรในพ้ืนท่ีจังหวัดลพบุรี ระหว่างวันท่ี 11 ถึง 12 ธันวาคม 2561
จานวน 1 ครง้ั มีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 50 ราย ทัง้ น้ี หลงั จากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถบรหิ ารจัดการ
โรงสีข้าว บารุงรักษาโรงสีข้าว และเพิ่มคุณภาพการผลิตข้าว โดยสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม
เคร่ืองจักรกลของตนเองได้ 880 บาท/ราย/ปี มีผลการประกอบการ (กาไรสุทธิ) เพ่ิมข้ึน 650 บาท/ราย/ปี
และสามารถลดต้นทนุ การประกอบธุรกิจ 671.05 บาท/ราย/ปี

1.3. การดาเนินงานศนู ย์บรกิ ารเตรยี มดนิ เพ่ือเพ่มิ ผลผลติ มนั สาปะหลัง (เป้าหมาย 6 คร้งั )
ศูนย์ฯ ดาเนินงานติดตามนิเทศให้คาปรึกษา แก้ไขปัญหา และประเมินผลการปฏิบัติงาน กิจกรรม

ส่งเสริมการใช้และให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร ณ ศูนย์บริการเตรียมดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมัน
สาปะหลัง ในพื้นท่ี 6 จังหวดั ได้แก่ สระแก้ว กาญจนบุรี กาแพงเพชร ลพบุรี เพชรบรู ณ์ และชัยนาท ระหว่าง
เดือนพฤษภาคม ถึง กันยายน 2562 จานวน 6 ครั้ง ทั้งนี้ ได้ติดตามตรวจเช็ครถแทรกเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพ่วง การบันทึกการใช้งานเครื่องจักรกล การบันทึกรายรับรายจ่าย การจัดทาแผนการใช้เครื่องจักรกล
เพอ่ื ประเมินผลการดาเนินงาน และแกไ้ ขปญั หาของศนู ย์บริการฯ ให้สามารถดาเนนิ การตอ่ ไปได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๖๑

2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชพี ทางการเกษตร ประจาปี 2562

2.1. กจิ กรรมพัฒนาแปลงเรยี นรู้และจดุ เรยี นรู้ (เป้าหมาย 1 จดุ )
ศูนย์ฯ ดาเนินการพัฒนาจุดเรียนรู้และแปลงเรียนรู้ภายในศูนย์ปฏิบัติการ จานวน 5 จุด ได้แก่

จุดเรียนรู้พัฒนาการเตรียมดิน จุดเรียนรู้ระบบการให้น้าพืช จุดเรียนรู้ด้านการใช้และบารุงรักษาเครื่องยนต์
การเกษตร จุกเรียนรู้ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ และจุดเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอพอเพียง
เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรให้เกษตรกรสามารถเข้ามาศึกษา และลงมือปฏิบัติเพ่ือนาไปประยกุ ต์
ในการทาการเกษตรของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

2.2. กิจกรรมพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ี (เป้าหมาย 2 ราย)
เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตรจังหวัดชัยนาท เข้าร่ว มอบรม

พัฒนาศักยภาพ จานวน 3 ราย ในหลักสูตรเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังเส้นจานวน 2 คร้ัง
โดยมีเจ้าหน้าท่ีเข้าร่วม 2 ราย และหลักสูตรการเพ่ิมประสิทธิภาพด้านการวิจัยของศูนย์ปฏิบัติการจานวน 2 คร้ัง
มีเจา้ หนา้ ท่ี 1 ราย เพือ่ เป็นการเพมิ่ ทกั ษะและพฒั นาองค์ความร้ขู องเจ้าหนา้ ที่

2.3. กจิ กรรมพฒั นาเกษตรกร (เป้าหมาย 400 ราย)
2.3.1 ฝกึ อาชพี เกษตรกรและประชาชนทั่วไป 3 หลกั สูตร (เป้าหมาย 300 ราย)
1) หลกั สตู รระบบน้าเพ่ือการเกษตร: ดาเนนิ การถ่ายทอดความรู้ในการติดต้ังและบารุงรักษา

ระบบน้าเพื่อการเกษตรเบ้ืองต้น ในพื้นท่ี 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชัยนาท และอ่างทอง
ระหว่างวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561 ถึง 24 ธันวาคม 2561 จานวน 4 ครั้ง มีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 162 ราย
ทั้งนี้ หลังจากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถนาความรู้ไปปฏิบัติเพื่อติดตั้งระบบน้าในแปล งเพาะปลูก
ของตนเองและแก้ไขปญั หาเบื้องต้น

๖๒

2) หลักสูตรการใช้และบารุงรักษารถแทรกเตอร์การเกษตร: ดาเนินการถ่ายทอดความรู้
เทคนิคการใช้และบารุงรักษารถแทรกเตอร์การเกษตรเบ้ืองต้น ในพ้ืนที่ 2 จังหวัด คือ จังหวัดสระบุรี และชัยนาท
ระหว่างวันท่ี 12 ถึง 16 พฤศจิกายน 2561 จานวน 3 คร้ัง มีเกษตรกรเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 78 ราย
ทง้ั น้ี หลงั จากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถวเิ คราะห์และแกป้ ัญหารถแทรกเตอร์เบ้ืองต้นได้

3) หลักสูตรการใช้และบารุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร: ดาเนินการถ่ายทอดความรู้เทคนิค
การใช้และบารุงรักษาเครื่องยนต์เกษตรเบื้องต้น ในพื้นที่ 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดลพบุรี และสระบุรี
ระหว่างวันที่ 14 ถึง 16 พฤศจิกายน 2561 จานวน 3 คร้ัง มีเกษตรกรเกษตรกร เข้าร่วมจานวน 80 ราย
ทัง้ นี้ หลังจากการฝึกอบรมเกษตรกรสามารถวิเคราะหป์ ัญหาและแก้ไขปญั หาเครือ่ งยนตเ์ กษตรเบอ้ื งต้นได้

2.3.2 ฝกึ อาชีพเกษตรกรเครือข่าย 2 หลักสตู ร (เป้าหมาย 100 ราย)
1) หลักสูตรออกแบบและติดต้ังระบบการให้น้าพืช – ดาเนินการถ่ายทอดความรู้เพื่อพัฒนา

และเทคนิคในการออกแบบและติดต้ังระบบการให้น้าพืช ในพื้นท่ี 2 จังหวัด คือ จังหวัดชัยนาทและนนทบุรี
(2 ครั้ง) ระหว่างวันท่ี 14 ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2562 มีเกษตรกรเกษตรกร เข้าร่วมจานวน 55 ราย ท้ังนี้
หลงั จากการฝกึ อบรมเกษตรกรสามารถนาความรูไ้ ปปฏิบัตเิ พื่อออกแบบ ตดิ ตั้ง และแกไ้ ขปญั หาระบบนา้ ได้

2) หลักสูตรเทคนิคการบริหารและให้บริการเคร่ืองจักรกลการเกษตร - ดาเนินการถ่ายทอด
ความรู้เพ่ือพัฒนาเทคนิคการบริหารและให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร ในพื้นท่ีจังหวัดชัยนาท (2 ครั้ง)
ระหว่างวันท่ี 25 ถึง 28 กมุ ภาพันธ์ 2562 มีเกษตรกรเกษตรกร เขา้ รว่ มจานวน 50 ราย ทัง้ น้ี หลงั จากการ
ฝึกอบรมเกษตรกรสามารถนาความรู้ไปปฏิบัติเพื่อลดค่าใช้จ่ายใน การซ่อมแซมเครื่องจักรกลของตนเองได้
และใหบ้ ริการตรวจเช็ค ซอ่ มแซมเคร่ืองยนต์เกษตรเบ้อื งตน้

๖๓

2.4 กจิ กรรมใหบ้ รกิ ารเคลื่อนท่ี (เปา้ หมาย 3 คร้งั )
ศูนย์ฯ ดาเนินการการให้บริการเคล่ือนท่ี ซ่ึงออกหน่วยให้บริการถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร
และสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตรในพ้ืนท่ี จานวน 7 คร้ัง แก่เกษตรกรจานวน 1,330 ราย เพ่ือให้บริการ
เกี่ยวกับเครื่องจักรกลการเกษตร ให้บริการดูแลบารุงรักษาเครื่องจักรกลการเกษตรเบื้องต้น ให้คาแนะนา
ในการใชง้ านระบบการให้น้าทีเ่ หมาะสม แนะนาการใช้งานระบบสบู นา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ และการไถกลบตอซังฟางข้าว

2.5 การผลติ สื่อถา่ ยทอดความรู้ทางวิชาการและประชาสมั พันธ์ (เป้าหมาย 2 เร่ือง)
ศูนย์ฯ ได้ดาเนินการจัดทาวีดีทัศน์แนะนาศูนย์ฯ
จานวน 1 เร่ือง และจัดทาแผ่นพับจานวน 2 เรื่อง ได้แก่
การใช้และบารุงรักษาเคร่ืองยนต์เกษตร จานวน 1,500 แผ่น
ระบบการให้น้าพืช จานวน 500 แผ่น เพื่อเผยแพร่
องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่เกษตรกรไปประยุกต์ใช้
ในการทาการเกษตรของตนเอง

2.6 วิจยั ศึกษา ทดสอบทางดา้ นวชิ าการส่งเสริมการเกษตร (เป้าหมาย 1 เร่ือง)
ศูนย์ฯ ได้ดาเนินการวิจัยทางด้านวิชาการส่งเสริมการเกษตร จานวน 1 เร่ือง ในหัวข้อการศึกษา
วิธีการจัดการน้าในพื้นท่ีเพาะปลูกข้าวของจังหวัดชยั นาท เพ่ือเป็นการศึกษาวิธีการจัดการน้าในการเพาะปลกู
ข้าว วิเคราะห์ต้นทุนการจัดการน้าเพื่อรวบรวมข้อมูลและสรุปผล และนามาประกอบการพัฒนาองค์ความรู้
ด้านการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีวศิ วกรรมเกษตรเพ่อื ยกระดบั การผลิตพชื ตอ่ ไป

๖๔

3. โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลอื่ นท่ี ประจาปี 2562
ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนาท ดาเนินงานโครงการคลินิก

เกษตรเคลื่อนท่ี มีเป้าหมายเกษตรกร 2,000 ราย ทางศูนย์ฯ ได้ให้บริการจัดนิทรรศการคลินิกจกั รกลเกษตร
ให้บรกิ ารคาปรึกษา แนะนา และใหบ้ รกิ ารเก่ียวกับเคร่ืองจักรกลการเกษตรเก่ียวกับการใช้และดแู ลบารงุ รักษา
เครือ่ งจกั รกลการเกษตรเบอื้ งต้น ให้คาแนะนาระบบการให้นา้ ทเ่ี หมาะสมสาหรบั พชื เช่น พืชไร่ ไมผ้ ล พชื สวน
พืชผัก สาธิตการใช้ระบบสูบน้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการเก ษตร ให้คาแนะนาการไถกลบตอซัง
โดยไม่เผาฟางข้าว การปรับปรุงบารุงดนิ และการใหบ้ รกิ ารตอ่ เน่อื ง ในพืน้ ท่ี 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
สิงห์บุรี ลพบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง ระหว่างวันท่ี 27 ธันวาคม 2561 ถึง 2 สิงหาคม 2562
โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมจานวน 2,664 ราย และให้บริการซ่อมแซมบารุงรักษาเคร่ืองจักรกลการเกษตร
จานวน 29 เครอ่ื ง

๖๕

4. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิต การเพ่ิมมูลค่า และการตลาดสินค้าเกษตรท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐาน
ปี 2562

4.1. กิจกรรมหลกั เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตพชื ไร่ (มันสาปะหลงั )
4.1.1 กจิ กรรมสง่ เสริมการไถระเบดิ ดินดานแปลงสาธติ การปลูกมนั สาปะหลงั (เปา้ หมาย 80 ไร่)
ระหว่างวันที่ 7 ถึง 26 มกราคม 2562 ทางศูนย์ฯ ดาเนินการไถระเบิดดินดานแปลงสาธิต

การปลูกมันสาปะหลัง ใน 4 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอวัดสิงห์ อาเภอหันคา อาเภอหนองมะโมง และอาเภอเนินขาม
เพ่ือใช้เป็นจุดเรียนรู้และส่งเสริมการจัดทาแปลงสาธิตการปลูกพืชไร่คุณภาพ รวม 8 แปลง พ้ืนท่ีรวม 80 ไร่
และพื้นทีแ่ ปลงเปรยี บเทยี บจานวน 40 ไร่

4.1.2. การจดั ทาระบบน้าเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิตมันสาปะหลงั (เปา้ หมาย 80 ไร่)
ระหว่างวันท่ี 6 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร
จังหวัดชัยนาท ดาเนินการติดตั้งระบบน้าหยดในพื้นที่เป้าหมายโครงการเพื่อใช้เป็นจุดเรียนรู้สาธิตระบบ
การใหน้ ้าในพืน้ ที่ปลูกมันสาปะหลัง รวม 8 แปลง พ้นื ท่รี วม 80 ไร่

4.2. กจิ กรรมหลกั พัฒนากระบวนการผลิตสู่มาตรฐานและการตลาดสม้ โอขาวแตงกวาจงั หวัดชยั นาท
4.2.1. กจิ กรรมการถ่ายทอดความรู้เร่ืองระบบการใหน้ ้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตส้มโอขาวแตงกวา
1) หลักสูตรระดับเบ้อื งตน้ (เปา้ หมาย 20 ราย)
ศูนย์ฯ ได้จัดการฝึกอบรมการถ่ายทอดความรู้ด้านระบบการให้น้าในพื้นที่ปลูกส้มโอขาว

แตงกวาในหลักสูตรระดับเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรจานวน 24 ราย ระหว่างวันท่ี 28 ถึง 29 พฤศจิกายน 2561
โดยเน้นการถ่ายทอดความรู้ด้านระบบการให้น้าพืช องค์ประกอบและอุปกรณ์ระบบน้า ความต้องการน้า ของพืช
การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ เครื่องสูบน้าฝึกปฏิบัติการติดต้ังระบบการใหน้ ้า รวมท้ัง จัดให้มีการศึกษาดูงาน
เร่อื งระบบการใหน้ ้าอัจฉริยะในพื้นที่แปลงสาธิตของศนู ย์ฯ

๖๖

2) หลักสตู รระดบั กลาง (เป้าหมาย 20ราย)
ระหว่างวันที่ 19 ถึง 21 ธันวาคม 2561 ทางศูนย์ฯ ได้จัดการฝึกอบรมการถ่ายทอดความรู้

ด้านระบบการให้น้าในพ้ืนที่ปลูกส้มโอขาวแตงกวาในหลักสูตรระดับกลางให้แก่เกษตรกรจานวน 20 ราย
โดยเน้นการถ่ายทอดความรูด้ ้านหลกั การออกแบบระบบการใหน้ ้าในพ้ืนท่ีปลูกสม้ โอขาวแตงกวา เทคนิคการเลือกใช้
วัสดอุ ปุ กรณ์ระบบน้า เทคนคิ การตดิ ตง้ั ระบบการให้นา้ พชื เทคนิคการหาขนาดท่อ เครอ่ื งสบู นา้ และหัวจา่ ยนา้
ทถี่ กู ต้องและเหมาะสม และการแบ่งแปลง วางแนวท่อ

4.2.2. งานวนั สาธิตถา่ ยทอดความรูเ้ รื่องการใชร้ ะบบการทาการเกษตรอัจฉรยิ ะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสม้ โอขาวแตงกวา (เปา้ หมาย 100 ราย)

เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 ดาเนินการจัดงานวันสาธิตถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้ระบบ
การทาการเกษตรอัจฉริยะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตส้มโอขาวแตงกวา ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร
ด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนาท โดยมีเกษตรกรเข้าร่วม 80 ราย และมีเจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วม
44 ราย รวมมีผู้เข้าร่วมงานในครั้งนี้ 124 ราย ท้ังน้ี การจัดงานคร้ังนี้ มีการถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร
ใน 4 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย เทคโนโลยีการทาการเกษตรอัจฉริยะ เทคโนโลยีการพัฒนาการผลิตส้มโอขาว
แตงกวา เทคนิคการป้องกันและกาจัดศัตรูพืชในแปลงเพาะปลูกส้มโอขาวแตงกวา และเทคนิคการจัดการดิน
เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตส้มโอขาวแตงกวา อีกท้ัง ยังมีการสาธิตระบบการให้น้าอัจฉริยะและระบบสูบน้า
พลังงานแสงอาทิตย์ ตลอดจนมีการจัดนิทรรศการด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่สาหรับพัฒนาการผลิตพืชเพื่อเผยแพร่
ความรแู้ ก่เกษตรกรด้วย

๖๗

4.2.3 ตดิ ตามและพัฒนาจดุ เรียนร้เู ดิม (เป้าหมาย 151 แหง่ )
ในปี 2557 ถึง 2561 ทางศูนย์ฯ ได้ร่วมกับสานักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท และสานักงานเกษตร
และสหกรณจ์ ังหวัดชัยนาท ดาเนนิ การจดั ทาจดุ เรียนรู้ด้านระบบการให้น้าเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตส้มโอ
ขาวแตงกวา จานวน 151 แห่ง พ้ืนที่ 422.25 ไร่ ดังนั้น เพื่อให้การส่งเสริมและพัฒนาระบบการให้น้าพืช
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์ฯ จึงได้ดาเนินการสารวจข้อมูลและตรวจสอบระบบการให้นา้ พืชในพื้นท่ี
จุดเรียนรู้ดังกล่าว และดาเนินการแก้ไขปัญหาเชิงเทคนิคสาหรับแปลงที่มีปัญหาเพื่อให้ระบบสามารถกลับมาใชง้ าน
ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

4.2.4. แปลงศกึ ษาทดสอบ
ศูนย์ฯ ดาเนินการจัดทาแปลงศึกษาทดสอบการจัดการน้าพื้นท่ีปลูกส้มโอขาวแตงกวาภายในศูนย์
พ้ืนท่ี 6 ไร่ และในแปลงเกษตรกร จานวน 5 แปลง พ้ืนท่ีรวม 10 ไร่ เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการให้น้า
แบบต่างๆ และต้นทุนการจัดการน้าในพื้นที่ปลูกส้มโอขาวแตงกวา เพ่ือรวบรวมข้อมูลและสรุปผล และนามา
ประกอบการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรเพื่อยกระดับการผลิตส้มโอ
ขาวแตงกวาต่อไป

๖๘

5. โครงการสาธติ และทดสอบการใชง้ านระบบสูบน้าพลงั งานแสงอาทติ ย์ ปี 2562

ศูนย์ฯ ร่วมกับสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดชัยนำท สำนักงำนเกษตรจังหวัดชัยนำท
และสำนักงำนสหกรณ์จังหวัดชัยนำท ดำเนินกำรสำรวจและคัดเลือกพ้ืนท่ีเป้ำหมำย และดำเนินกำรถ่ำยทอด
ควำมรู้ด้ำนกำรใช้งำนระบบสบู น้ำพลงั งำนแสงอำทิตยแ์ ก่เกษตรกรเปำ้ หมำยโครงกำร จำกนน้ั ดำเนนิ กำรติดตั้ง
ระบบสูบน้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ในพ้ืนท่ีเป้ำหมำยโครงกำร ในพ้ืนที่ อำเภอหนองมะโมง อำเภอเนินขำม อำเภอวัดสิงห์
อำเภอหันคำ อำเภอสรรคบุรี และอำเภอเมืองชัยนำท รวม 16 แห่ง เกษตรกร 16 รำย พ้ืนท่ีในกำรสำธิต
103 ไร่ 2 งำน ท้ังนี้ หลังจำกกำรดำเนินกำรโครงกำรแล้วจะเกิดจุดเรียนรู้ด้ำนกำรใช้ระบบสูบน้ำพลังงำน
แสงอำทิตย์เพ่ือยกระดับกำรผลิตพืช เพ่ือใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้ำนกำรจัดกำรระบบน้ำและกำรใช้พลังงำน
ทดแทนในกำรทำกำรเกษตรของจงั หวดั ชัยนำท

๖๙

6. ถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรเพ่ือพัฒนาการผลิตพืชภายใต้งานโครงการ
ส่งเสริมตา่ งๆ

ศูนย์ฯ ร่วมกับสำนักงำนเกษตรจังหวัดและสำนักงำนเกษตรอำเภอดำเนินกำรถ่ำยทอดควำมรู้
ด้ำนเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร เช่น กำรใช้เครื่องจักรกลกำรเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพก ำรผลิตพืช
กำรใช้และบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์กำรเกษตรเพื่อลดต้นทุนกำรผลิต กำรใช้เคร่ืองจักรกลกำรเกษตรในรูปแบบกลุ่ม
ส่งเสริมกำรใช้ระบบสูบน้ำพลังงำนแสงอำทิตย์เพ่ือกำรเกษตร เทคโนโลยีระบบกำรให้น้ำพืช และเทคโนโลยี
ระบบกำรให้น้ำอัจฉริยะ ให้แก่เกษตรกรเป้ำหมำยโครงกำรส่งเสริมกำรเกษตรตำ่ งๆ รวม 48 คร้ัง มีเกษตรกร
เข้ำรบั กำรถ่ำยทอดควำมรู้รวม 5,008 รำย

๗๐

ศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตร จงั หวัดลพบรุ ี

โครงการศูนย์เรียนรู้ศกึ ษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตร จังหวัดลพบุรี ดำเนินกำรโครงกำรศูนย์เรียนรู้ศึกษำกำร
พัฒนำอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ โดยกลุ่มเป้ำหมำย ประกอบด้วย เกษตรกร ประชำชนท่ัวไปที่สนใจ
เจำ้ หน้ำที่ หน่วยงำนเอกชน หรือ หน่วยงำนรำชกำร
กจิ กรรม ประกอบดว้ ย

- กำรทำแปลงเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่อื เปน็ แปลงต้นแบบให้เกษตรกรเขำ้ มำศึกษำ หรือ ดเู ป็นแบบอย่ำง
ในกำรนำไปพฒั นำในพน้ื ท่ีตอ่ ไป เชน่ กำรปลกู หนอ่ ไมฝ้ รัง่ ระบบนำ้ หยด

- กำรเพำะปจั จยั กำรผลติ เชน่ กล้ำพริก มะเขอื หม่อน หรอื รวบรวมเมล็ดพันธุ์ เพื่อแจกจ่ำยเกษตรกร
ทเี่ ข้ำมำศึกษำดูงำนภำยในศนู ยฯ์ หรือ กจิ กรรมต่ำงๆ เชน่ คลนิ ิกเกษตรเคลื่อนที่ field day หรือ
กิจกรรมอน่ื ๆ

๗๑

กจิ กรรม พฒั นาแปลงเรียนรู้
ดำเนินกำร ภำยในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตร จังหวัดลพบุรี ให้บริกำร

แก่เกษตรกร ประชำชนทั่วไปที่สนใจ เจ้ำหน้ำท่ี หน่วยงำนเอกชน หรือ หน่วยงำนรำชกำร ประกอบด้วย
กิจกรรม พัฒนำแปลงเรียนรู้ จุดเรียนรู้แปลงแม่พันธุ์ และอ่ืนๆ โดย งบประมำณ 256๒ ศูนย์ฯ ได้ดำเนินกำร
พฒั นำจุดเรยี นร้ทู ั้งหมดดงั นี้

แปลงเศรษฐกิจพอเพียง แปลงสำธิตกำรปลกู พชื ตำมหลักเศรษฐกจิ พอเพียง และผลติ ปจั จัยกำรผลติ
สำหรับแจกจ่ำยเกษตรกร

การผลติ เชอื้ ราศัตรพู ชื ผลิต และสอนวธิ กี ำรผลิต เช่อื รำกำจัดศัตรพู ืช เชน่ ไตรโคเดอร์มำ บิวเวอร์เรีย
แมทตำไรเซียม แกเ่ กษตรกรท่ีสนใจ

๗๒

พชื ไรร่ ะบบน้า กำรไถแปลงเพ่อื เตรียมสำหรับกำรปลูกขำ้ วโพด มันสำปะหลัง อ้อย และ กระเจี๊ยบแดง
และกำรตดิ ต้งั ระบบน้ำในแปลง พรอ้ มกับกำรสำธิตกำรให้ปยุ๋ ไปพร้อมกบั ระบบกำรให้น้ำพชื

การปลกู พืชไร้ดิน กจิ กรรม กำรผสมปยุ๋ สำหรับกำรปลูกในระบบไฮโดรโปนกิ ส์ กำรปลกู พืชกินตน้ อ่อน
กำรเพำะเห็ดฟำง

การเล้ียงแมลงเศรษฐกิจ กจิ กรรมเลี้ยงและขยำยจง้ิ หรีด สะดง้ิ และ จิง่ โกร่ง เพ่ือสำหรบั แจกเปน็ ปัจจัย
กำรผลติ กำรเล้ยี งหนอนนก และกำรแปรรปู

การปลกู เผอื กหอม กิจกรรมปลูกเผือกหอม เพือ่ เป็นปจั จยั กำรผลิตแก่เกษตรกรทีส่ นใจ

๗๓

แปลงพืชสมุนไพร เป็นแปลงรวบรวมพืชสมนุ ไพรในท้องถิ่น พรอ้ มทง้ั ขยำยพชื สมุนไพร เพื่อเปน็ ปจั จยั
กำรผลติ

โครงการสง่ เสริมและพฒั นาอาชพี ทางการเกษตร ประจา้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ฝึกอบรมพัฒนำอำชพี ทำงกำรเกษตร หลักสูตรกำรเลีย้ งจง้ิ หรดี ๔ รนุ่ ในจังหวดั สระบรุ ี ลพบุรี
และ สงิ หบ์ ุรี จำนวน ๑๑๖ รำย
หลักสตู รกำรแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ำกกล้วยน้ำวำ้ ๔ รุ่น ในจังหวดั ลพบรุ ี อ่ำงทอง และ สระบรุ ี
จำนวน ๑๑๐ รำย
หลกั สตู รกำรปลูกพชื ไร้ดนิ ๔ รนุ่ ในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยำ สระบรุ ี สิงหบ์ รุ ี และ อำ่ งทอง จำนวน
๑๑๘ รำย
หลกั สูตรกำรใช้และบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์เบนซิล จำนวน ๔ รุน่ ในจงั หวดั ลพบุรี และ นนทบุรี
จำนวน ๑๒๕ รำย

๗๔

โครงการพัฒนาเกษตรกรเครอื ข่ายประจ้าปี ๒๕๖๒

ดำเนินกำรเดือนมกรำคม 2562 หลักสูตร กำรใช้และเทคโนโลยีเคร่ืองจักรกลเกษตรศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนำอำชีพกำรเกษตร จังหวัดลพบุรี และ ศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร
กลุม่ เกษตรกรเครอื ขำ่ ย ๔ รุน่ ในจงั หวัด ลพบุรี และ สระบรุ ี จำนวน ๒๐๐ รำย

โครงการคลนิ กิ เกษตรเคลอื่ นท่ี ฯ ปงี บประมาณ ๒๕๖๒

คร้ังท๑่ี . วดั ทำ่ หลวง อ.ท่ำหลวง จ. ลพบรุ ี เกษตรกรเปำ้ หมำย ๑๕0 รำย
คร้ังท๒่ี . วดั มหำโพธ์ิ อ. สระโบสถ์ จ. ลพบุรี เกษตรกรเปำ้ หมำย ๑๕0 รำย
ครั้งท๓ี่ . วัดลำสนธิ อ.ลำสนธิ จ. ลพบุรี เกษตรกรเปำ้ หมำย ๑๕0 รำย
ครั้งท๔ี่ . วัด อ.บำ้ นหม่ี จ. ลพบรุ ี เกษตรกรเป้ำหมำย ๑๕0 รำย
นอกเขต จังหวดั ลพบรุ ี
ครั้งท๑ี่ . วัดบ้ำนแพรก จ. พระนครศรีอยุธยำ เกษตรกรเป้ำหมำย ๕๐๐ รำย
ครั้งที่ ๒. ที่วำ่ กำรอำเภอพระพทุ ธบำท จ. สระบรุ ี เกษตรกรเป้ำหมำย ๕00 รำย
ครั้งที่ ๓. อำเภอเมือง จ.สิงห์บรุ ี เกษตรกรเปำ้ หมำย ๑๕0 รำย

แจกปัจจยั กำรผลติ สนับสนุนโครงกำรฯ จำนวน ๘00 ต้น (เมล็ดพันธ์)ุ
ครงั้ ท๑่ี . คลินกิ เกษตร จ. ปทมุ ธำนี จำนวน 800 ต้น (เมล็ดพันธ)ุ์
ครั้งท๒่ี . คลินิกเกษตร จ. ปทมุ ธำนี 500 ชดุ (เมลด็ พนั ธ์ุ)
ครง้ั ท๓่ี . คลนิ กิ เกษตร จ. สงิ หบ์ ุรี 500 ชดุ (เมลด็ พันธุ์)
ครั้งท๔ี่ . คลนิ ิกเกษตร จ. สงิ ห์บรุ ี ๘00 ชุด (เมลด็ พันธ)์ุ
ครั้งท๕ี่ . คลินกิ เกษตร จ.นนทบุรี
จงั หวดั เคล่ือนที่ จ.ลพบรุ ี 4500 ตน้ (เดอื นละ 500 ตน้ )
พฤศจิกำยน 6๑ – กันยำยน ๖๒

๗๕

ร่วมกิจกรรม วันถา่ ยทอดเทคโนโลยี( Field day) และบริการการเกษตรเพ่ือเริ่มต้นฤดูกาล ผลิตใหม่ ปี ๒๕๖๒
ดำเนินกำร มนี ำคม ๒๕๖๒ – พฤษภำคม ๒๕๖๒
ดำเนินกิจกรรม ๙ ครั้ง แบ่งเป็น ๒ สถำนีเรียนรู้ ได้แก่ กำรใช้น้ำอย่ำงรู้คุณค่ำ กำรใช้เครื่องจักรกลเพ่ือลดต้นทุน
กำรผลติ ได้ดำเนนิ กำร ณ จงั หวัดลพบุรี และ สระบุรี

๗๖

โครงการคา่ ยเยาวชน..รกั ษ์พงไพร ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๒

ดำเนินกำร พฤษภำคม ๒๕๖๒ – มิถุนำยน ๒๕๖๒ ณ ศูนย์ศึกษำธรรมชำติและท่องเท่ียวเชิงนิเวศ
เจ็ดคด-โป่งก้อนเส้ำ จ. สระบุรี ฝึกอบรมนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๕ และ ๖ หลักสูตร พืชในท้องถิ่น
จำนวน ๔ รนุ่ ๒๔๐ รำย และ อำจำรย์ ๖๐ รำย เนอ้ื หำกำรปลูกกลว้ ย ประโยชน์ สรรพคณุ และกำรแปรรูปกล้วย

๗๗

โครงการส่งเสริมการดาเนินงานอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ดำเนินกำร ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตร จังหวัดลพบุรี
(จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ) ณ ศูนย์เรียนรู้กำรเพ่ิมประสิทธิภำพกำรผลิต
สินค้ำเกษตร ในช่วงเดือนกันยำยน 2562 เป้ำหมำย คือ เกษตรกรต้นแบบด้ำนกำรขยำยผลโครงกำร
พระรำชดำริ จำนวน ๒๐ รำย และพ้ืนท่ีโครงกำรพระรำชดำริหรือพ้ืนที่ทั่วไปเพื่อกำรขยำยผลโครงกำร
พระรำชดำริ
กิจกรรมประกอบด้วย
๑. ถ่ำยทอดควำมรู้ดำ้ นเศรษฐกิจพอเพียง
๒. จดั ทำแปลงเรยี นรู้ด้นแบบพระรำชดำริ

๗๘

อบรมเทคโนโลยดี า้ นการเกษตร คร้งั ท่ี ๓/๒๕๖๒
ดาเนนิ การ ในเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๒ ณ ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวดั ลพบุรี
ผูเ้ ข้ารับการอบรม ข้าราชการบรรจุใหม่ จานวน ๖๐ ราย
กิจกรรมให้ความรู้พื้นฐานและการนาเสนอการทางานของศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือรองรับการทางานของข้าราช
ภายในเขตพนื้ ที่ ๙ จังหวดั ภาคกลาง

๗๙

งานทดสอบวจิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ระยะเวลาดาเนินการ มิถนุ ายน ๒๖๕๒ – กนั ยายน ๒๕๖๒
สถานทีด่ าเนินการ ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตร จงั หวัดลพบุรี
กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรทสี่ น
๑. การเปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพของอาหารจิ้งหรดี ๔ ชนดิ ทม่ี ีผลตอ่ นา้ หนักตวั จง้ิ หรดี พันธ์ุทองดา

๒. ความต้องการการส่งเสริมการเกษตรด้านเคร่ืองจักรกลการเกษตรของสมาชิกแปลงใหญข่ ้าวโพดเลี้ยงสตั ว์
และเกษตรตาบลผู้รับผดิ ชอบงานแปลงใหญใ่ นจังหวดั ลพบุรี

๘๐

กิจกรรมร่วมกับอาเภอและจังหวัด
โครงการศูนยเ์ รยี นรู้การเพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร

ดาเนินกิจกรรม ๙ ครง้ั แบ่งเป็น ๓ หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ ระบบการใหน้ า้ ทางการเกษตร การใชแ้ ละซ่อมแซม
เครือ่ งจักรกล และ หลักสูตรการจดั การศตั รูพืช ภายในจังหวดั ลพบุรี

โครงการระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๒
ดาเนินกิจกรรม ๖ ครั้ง แบ่งเปน็ ๒ หลักสูตร ไดแ้ ก่ การเล้ียงแมลงเศรษฐกจิ และ การออกแบบระบบนา้ หยด/
มินสิ ปรงิ เกอร์ ในจังหวัด ลพบรุ ี และ สิงหบ์ รุ ี

๘๑

กิจกรรมและโครงการอ่ืนๆ ภายในปี 2562
การเตรียมและการใช้งานเคร่ืองจักรกลทางการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ และการดูแลเคร่ืองจักรกลเบ้ืองต้น

เกษตรกร จานวน ๓๐ ราย อาเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกษตรกรรายย่อยปลูกผักไร้สารเคมี
อบรมระบบการให้น้าพืช อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี กลุ่มพัฒนาเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนผักปลอด
สารพิษ อบรม การเลี้ยงจิ้งหรีด อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โครงการเสริมสร้าง
การใชเ้ ครอื่ งจักรกลทางการเกษตร ฝึกอบรม การสร้างชา่ งเกษตรท้องถิน่ ระดบั ๑ อ.ทา่ วุ้ง อ.โคกสาโรง จงั หวัด
ลพบุรี อ.เนนิ มะปราง อ.ชาตระการ จังหวดั พษิ ณุโลก ฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การเรียนรกู้ ารสรา้ งเครอ่ื งหยอด
เมลด็ พันธข์ุ ้าว รุ่น ALRO เกษตรกรอาเภอบ้านหม่ี จังหวัดลพบรุ ี จัดนิทรรศการ งาน ยอยศยิง่ ฟ้าอยธุ ยามรดก
โลก ณ อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

๘๒

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารกั ขาพชื จงั หวดั ชัยนาท

โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี ทางการเกษตร

กิจกรรมการวิจยั ศกึ ษา ทดสอบทางด้านวชิ าการส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท ทาการศึกษาวิจัย เร่ืองการผลิต

ขยายเชื้อราบิวเวอเรียชนิดพร้อมใช้ท่ีมีประสิทธิภาพของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศจช.) ในจังหวัดชัยนาท
เพื่อศึกษาวิธีการและกระบวนการผลิตขยาย รวมถึงเพ่ือทราบปัญหาและอุปสรรคในการผลิตขยายเช้ือราบิวเวอเรีย
ชนิดพร้อมใชใ้ ห้มีประสทิ ธภิ าพ

กจิ กรรม การพัฒนาแปลงเรียนรู้ จดุ เรยี นรู้ แปลงแม่พันธ์ุ โรงเรือนเพาะชา แปลงทดสอบ และอื่นๆ
ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท ดาเนินการพัฒนาจุดเรียนรู้

ภายในศูนย์ปฏิบตั ิการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกษตรกร เจ้าหน้าที่สง่ เสริมการเกษตร
ในเขตรับผิดชอบและผู้ที่สนใจท่ัวไป สามารถเข้ามาศึกษา ดูงาน รวมทั้งรับคาปรึกษาปัญหาศัตรูพืช ตรวจวินิจฉัย
และรับศัตรูธรรมชาติไปใช้ควบคุมศัตรูพืชในพ้ืนท่ี จานวน 5 จดุ เรียนรู้ ได้แก่

1) จุดเรยี นรู้การใช้สารเคมีอยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย
2) จดุ เรยี นรู้การผลิตขยายและการใช้แมลงหางหนบี ควบคุมศตั รพู ชื
3) จดุ เรียนร้กู ารผลติ ขยายและการใช้แตนเบียนทรโิ คแกรมมาควบคุมศัตรูพชื
4) จดุ เรียนรู้การผลิตขยายและการใช้เชอ้ื จุลินทรีย์ควบคมุ ศัตรูพืช
5) จดุ เรยี นร้กู ารผลิตขยายและการใช้พืชสมุนไพรควบคมุ ศัตรูพืช
ผลการดาเนินงาน
จุดเรียนรู้การผลิตขยายและการใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุมศัตรูพืช (จุดเรียนรู้ที่ 2-5) ได้มีการผลิตขยาย
ศัตรูธรรมชาติเพ่ือรองรับความต้องการใช้ของเกษตรกรที่เข้ามาขอรับบริการจากศูนย์ โดยได้มีเป้าหมาย
และผลการดาเนินงาน ดงั นี้

๘๓

จดุ เรียนรกู้ ารผลิตขยายและการใช้ศตั รูธรรมชาติ เป้าหมายการผลติ จานวนที่สนับสนนุ
แมลงหางหนบี 14,000 ตวั 26,000 ตัว
แตนเบยี นทรโิ คแกรมมา 1,600 แผน่ 1,090 แผน่
เชื้อจลุ นิ ทรยี ์ 400 กก. 400 กก.
พชื สมุนไพร (สารสกดั สะเดา) 100 ลิตร 100 ลิตร

ในส่วนของจุดให้บริการของศูนย์ มีเกษตรกร/เจ้าหน้าที่ และผู้สนใจ ม ารับบริการ ในช่วง
เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 จานวนทั้งสิ้น 511 ราย โดยบางรายมีการเข้าศึกษา ดูงานในจุดเรียนรู้
ทส่ี นใจอกี ด้วย

๘๔

กิจกรรม การพัฒนาเกษตรกร
โดยดาเนินการ 2 กิจกรรม คอื
1. การอบรมเกษตรกรทั่วไป หลักสูตรการผลิตศัตรูธรรมชาติและสารชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูมันสาปะหลัง

จัดอบรมจานวน 8 รุ่นๆ ละ 50 ราย ระหว่างวันที่ 14 – 29 พฤศจิกายน 2561 ในจังหวัดที่มีพื้นที่
ปลูกมันสาปะหลัง ได้แก่ ชยั นาท ลพบรุ ี และสระบุรี ผลการจดั อบรม

2.การอบรมเกษตรกรแกนนาและเครือข่าย หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรแกนนา
และเครือข่ายดา้ นอารกั ขาพืช จดั ระหว่างวนั ท่ี 24 ธันวาคม 2562 ในพื้นที่ 8 จงั หวดั

การจัดการศตั รมู ันสาปะหลงั (ป้องกนั การระบาดของศตั รมู นั สาปะหลงั แบบครอบคลุมพ้นื ท่ี)
ดาเนินการช่วงต้นฤดูการผลิต (ตุลาคม 2561-มกราคม 2562) และกลางฤดูการผลิตมันสาปะหลงั

(พฤษภาคม-สิงหาคม 2562) ในพนื้ ทจี่ ังหวดั ชยั นาท ลพบุรี และสระบุรี
โดยการผลิตศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ แตนเบียน Anagyrus lopezi และแมลงช้างปีกใส ควบคุมเพล้ีย

แป้ง แมลงหวี่ขาวยาสูบพาหะของโรคใบด่างมันสาปะหลัง โดยปล่อยแบบครอบคลุมพื้นที่ จานวน 52 จุด
ปล่อยจุดละ 200 ตวั จานวน 2 ครง้ั ในช่วงตน้ ฤดแู ละกลางฤดูการผลิตมนั สาปะหลัง

๘๕

กิจกรรม การพัฒนาเกษตรกร
โดยดาเนินการ 2 กิจกรรม คอื
1. การอบรมเกษตรกรทั่วไป หลักสูตรการผลิตศัตรูธรรมชาติและสารชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูมันสาปะหลัง

จัดอบรมจานวน 8 รุ่นๆ ละ 50 ราย ระหว่างวันที่ 14 – 29 พฤศจิกายน 2561 ในจังหวัดที่มีพื้นที่
ปลูกมันสาปะหลัง ได้แก่ ชยั นาท ลพบรุ ี และสระบุรี ผลการจัดอบรม

2.การอบรมเกษตรกรแกนนาและเครือข่าย หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรแกนนา
และเครือข่ายดา้ นอารกั ขาพืช จดั ระหวา่ งวนั ท่ี 24 ธันวาคม 2562 ในพื้นที่ 8 จงั หวดั

การจัดการศตั รมู ันสาปะหลงั (ป้องกนั การระบาดของศัตรมู ันสาปะหลงั แบบครอบคลุมพ้นื ท่ี)
ดาเนินการช่วงต้นฤดูการผลิต (ตุลาคม 2561-มกราคม 2562) และกลางฤดูการผลิตมันสาปะหลงั

(พฤษภาคม-สิงหาคม 2562) ในพนื้ ทจี่ ังหวัดชยั นาท ลพบุรี และสระบุรี
โดยการผลิตศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ แตนเบียน Anagyrus lopezi และแมลงช้างปีกใส ควบคุมเพลี้ย

แป้ง แมลงหวี่ขาวยาสูบพาหะของโรคใบด่างมันสาปะหลัง โดยปล่อยแบบครอบคลุมพื้นที่ จานวน 52 จุด
ปล่อยจุดละ 200 ตวั จานวน 2 ครง้ั ในช่วงตน้ ฤดแู ละกลางฤดูการผลิตมนั สาปะหลัง

๘๕

นอกจากน้ี ยังมีการผลิตแมลงช้างปีกใสเพ่ิมเติม เพ่ือสนับสนุนพื้นท่ีท่ีมีความต้องการใชศ้ ัตรูธรรมชาติ
ควบคุมศตั รพู ืช จานวน 21,067 ตวั ทาให้พน้ื ท่ีปลูกมนั สาปะหลงั ไดร้ ับการดแู ลลดความเสียหายศัตรพู ชื

โครงการสง่ เสรมิ การอารักขาพืชเพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตสนิ คา้ เกษตร

กจิ กรรม พัฒนาแปลงตน้ แบบการติดตามและเฝ้าระวังสถานการณศ์ ัตรูพืชเพ่ือการจดั การศตั รพู ืชอย่างเป็นระบบ
ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท จัดทาแปลงต้นแบบการติดตาม

และเฝา้ ระวงั สถานการณศ์ ัตรพู ืช เพื่อคน้ ควา้ เทคนคิ วิธกี ารสารวจ ติดตาม และเฝ้าระวงั สถานการณ์การระบาด
ศัตรพู ชื ที่เหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ โดยไดด้ าเนินการใน 2 ชนิดพชื คือ

มนั สาปะหลัง ในเขตตาบลหนองขุน่ อาเภอวัดสงิ ห์ จังหวัดชัยนาท จานวน 2 แปลง และแปลงข้าวโพดเลย้ี งสัตว์
ในเขตอาเภอสรรคบุรี จังหวดั ชยั นาท รวม 3 แปลง (ตาบลแพรกศรรี าชา 1 แปลง และตาบลดงคอน 2 แปลง)

จากการดาเนินงานทาให้ มีแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชอย่างเป็นระบบท่ีสอดคล้องกับบริบท
ของพื้นที่ สามารถพยากรณแ์ ละเตอื นการระบาดของศัตรูพืชไดแ้ มน่ ยาและทันสถานการณ์ สามารถจดั การ
การระบาดของศตั รูพืชได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๘๖

โครงการศนู ย์เรยี นรู้การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร ปี 2562

ดาเนินการสนบั สนุนการจัดสถานถี ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการศัตรูพืชในงานวนั ถ่ายทอดเทคโนโลยี
(Field day) ซ่ึงศูนย์ฯ ไดร้ ว่ มจดั นทิ รรศการและถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการศัตรูพชื วธิ ีผสมผสาน พรอ้ มท้ัง
สนับสนุนศัตรธู รรมชาติและสารชวี ภัณฑ์แก่เกษตรกร รวมถึงสนบั สนนุ การดาเนนิ งานศนู ย์จดั การศตั รพู ืชชุมชน
(ศจช.) ดงั นี้

1) ศูนย์ฯ ผลติ และสนบั สนุนหัวเชอื้ จุลินทรยี ์ควบคุมศัตรูพืชให้แก่ศนู ยจ์ ัดการศตั รูพืชชมุ ชน
(ศจช.) พนื้ ท่ี 2,400 ไร่

2) สนับสนนุ ปจั จัยการจดั การศตั รพู ชื ดว้ ยวธิ ผี สมผสานเพ่ือป้องกนั และกาจัดโรคและแมลงศัตรูพชื
3) ลงตรวจประเมินแปลงเรียนรู้ของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนและคุณภาพสารชีวภัณฑ์
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน เพื่อตรวจสอบการปนเป้ือนและคุณภาพสารชีวภัณฑ์ท่ีศจช.ผลิตเช้ือพร้อมใช้
ในพืน้ ท่ี 8 จงั หวัดรับผดิ ชอบ
จากการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว ทาใหเ้ กษตรกรได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตสารชวี ภัณฑ์และศัตรูธรรมชาติ
เพ่อื ปอ้ งกัน และกาจัดศตั รพู ชื ในพื้นที่ ท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากการเข้าทาลายของโรคและแมลงต่างๆ ได้รบั การถา่ ยทอด
ความรู้ในการป้องกันกาจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ได้รับการคาแนะนาและการตรวจสอบคุณภาพสารชีวภัณฑ์
ท่เี กษตรกรผลิตใช้เอง

๘๗

โครงการควบคุมหนอนกระทู้ fall armyworm โดยชีววธิ ี

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท ผลิตศัตรูธรรมชาติ ได้แก่
แตนเบียนไข่ทริโคแกรมมา จานวน 13,000 แผ่น และแมลงหางหนีบ จานวน 325,000 ตัว จัดส่ง
ให้จังหวัดชัยนาท ลพบุรี สระบุรี และพิจิตร ปล่อยเพื่อควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด อัตราการใช้
แตนเบยี นทรโิ คแกรมมา 10 แผน่ /ไร่ แมลงหางหนีบ 100 ตวั /ไร่

จากการดาเนินงานส่งผลให้ ลดความเสียหายของผลผลิตข้าวโพดจากหนอนกระทู้ fall armyworm ในพื้นที่
3,250 ไร่ เกษตรกรมีความเชือ่ ม่ันในการใช้ชีววิธคี วบคุมแมลงศัตรูพชื

๘๘

นอกจากนี้ ศูนย์ได้ร่วมจัดนิทรรศการและถ่ายทอดความรู้ในงานวันรณรงค์ การป้องกันกาจัด
หนอนกระทขู้ ้าวโพดลายจุดที่จงั หวัดจัดขน้ึ ดังน้ี

จังหวัดลพบรุ ี วันที่ 20 สิงหาคม 2562 ร่วมจัดนิทรรศการและถ่ายทอดความรู้ เร่ืองการผลติ ขยาย
ศตั รธู รรมชาติ (การเพาะเล้ียงแมลงหางหนีบ)

จังหวัดสระบุรี วันท่ี 26 สิงหาคม 2562 ร่วมจัดนิทรรศการและถ่ายทอดความรู้ใน 2 สถานี ได้แก่
สถานที ่ี 3 เรื่องการป้องกนั กาจดั หนอนกระทขู้ ้าวโพดลายจุดโดยชีววธิ แี ละการใชส้ ารชีวภัณฑ์ สถานีที่ 4 เร่ือง
การผลติ ขยายศตั รูธรรมชาติ (การเพาะเลี้ยงแมลงหางหนีบ)

๘๙

โครงการส่งเสรมิ การดาเนินงานอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ
โครงการคลินกิ เกษตรเคลอ่ื นท่ี

คลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี เป็นการให้การบริการทางวิชาการและการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้บรรลุผลสาเร็จตามภารกิจที่รับผิดชอบ โดยปฏิบัติงานบูรณาการ
การทางานระหว่างนักวชิ าการเกษตรของหน่วยงานต่างๆ ทงั้ ด้านพืช สัตว์ ประมง ดิน และนา้ ฯลฯ ดาเนนิ การ
ในเชิงรุกเข้าไปถึงในระดับตาบล ให้เกษตรกรที่มีปัญหาได้รับบริการทางการเกษตรทุกด้านอย่างรวดเร็วทั่วถึง
ในพน้ื ทรี่ ับผิดชอบ จานวน 9 จงั หวัด

โดยศูนย์ฯ ออกหน่วยให้บริการสนับสนุน ปรึกษา และวินิจฉัยโรคและแมลงศัตรูพืชที่สร้างความเสียหาย
ให้กับพื้นท่ีทาการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดต่างๆดาเนินการได้จานวน 24 คร้ัง มีเกษตรเข้ารับบริการ
ท้งั ส้ิน 1,568 ราย

๙๐

โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2562 (เบกิ แทนกรมการขา้ ว)

ดำเนินกำรในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร ชัยนำท สิงห์บุรี อ่ำงทอง

พระนครศรีอยุธยำ ปทุมธำนี นนทบุรี ลพบุรี และสระบุรี มีกลุ่มเป้ำหมำย คือ เกษตรกรนำแปลงใหญ่

จำนวน 129 กลุม่

ผลการดาเนนิ งาน

กิจกรรม ผลการดาเนนิ งาน

1.สง่ เสริมกำรใชเ้ ชอื้ จลุ ินทรยี ค์ วบคุมศตั รขู ำ้ ว - ผลิตขยำยหัวเชื้อจลุ นิ ทรียค์ วบคมุ ศตั รขู ำ้ ว

(ผลิตหวั เช้อื ขยำย) 3 ชนิด ได้แก่ ไตรโคเดอรม์ ำ บวิ เวอเรยี

และเมตำไรเซยี มและสนับสนนุ กลมุ่

เกษตรกรจำนวน 1,825 ขวด

2.ติดตำมใหค้ ำแนะนำ - ติดตำมให้คำแนะนำเรือ่ งกำรผลติ ขยำย

และกำรใชเ้ ช้อื จุลนิ ทรยี ์ควบคมุ ศัตรูข้ำว

จำนวน 9 จังหวัด

การผลิตหัวเชื้อขยายเชื้อจุลินทรียค์ วบคุมศัตรูขา้ ว

การติดตามใหค้ าแนะนา

๙๑

โครงการพฒั นาศักยภาพการผลิต การเพ่มิ มูลค่า และการตลาดสนิ คา้ เกษตรที่มีคุณภาพ

ได้มาตรฐาน ประจาปีงบประมาณ 2562

กิจกรรมหลกั พัฒนำกระบวนกำรผลิตสู่มำตรฐำน และกำรตลำดส้มโอขำวแตงกวำจงั หวัดชัยนำท

ดำเนนิ กำรในจังหวดั ชยั นำท

ผลการดาเนินงาน

กิจกรรม ผลการดาเนนิ งาน

สนับสนนุ ปจั จยั การผลิตส้มโอขาวแตงกวา งบประมำณ 80,400 บำท

1.ผลติ ขยำยเช้ือรำไตรโคเดอรม์ ำ สนับสนุนเกษตรกร 76 รำย/140ไร่

- สนบั สนุนหัวเชอ้ื รำไตรโคเดอรม์ ำ 300 ขวด

- สนบั สนนุ อปุ กรณ์และวสั ดผุ ลติ ขยำยเชอื้ รำไตรโคเดอร์มำ 76 ชดุ

2.ติดตำมให้คำแนะนำกำรใช้เช้ือรำไตรโคเดอร์มำในแปลงเกษตรกร 15 วัน /76 รำย

กำรจดั เตรียมหวั เชือ้ รำไตรโคเดอรม์ ำและวัสดุอปุ กรณผ์ ลติ ขยำยเชอื้ รำไตรโคเดอรม์ ำ
สำหรบั สนบั สนนุ เกษตรกร

๙๒

การตดิ ตามใหค้ าแนะนาการใชเ้ ช้อื ราไตรโคเดอร์มาในแปลงเกษตรกร
และสนับสนุนปัจจยั การผลติ ขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มา

๙๓

คณะผ้จู ัดทำ

1. ผู้อำนวยกำรสำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จ.ชัยนำท ท่ีปรึกษำคณะทำงำน
ประธำนคณะทำงำน
2. ผู้อำนวยกำรกลุ่มยุทธศำสตร์และสำรสนเทศ คณะทำงำน
คณะทำงำน
3. ผู้อำนวยกำรกลุ่มวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตร คณะทำงำน
คณะทำงำน
4. ผู้อำนวยกำรกลุ่มพัฒนำบุคลำกร คณะทำงำน
คณะทำงำน
5. ผู้อำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร คณะทำงำน
คณะทำงำน
6. หัวหน้ำฝ่ำยบริหำรท่ัวไป และเลขำนุกำร
คณะทำงำน
7. นำงสำวจริญญำ สมบัติทิพย์ นักวิชำกำรเกษตรชำนำญกำร และผู้ช่วยเลขำนุกำร

8. นำงสำวพรรณี ใยมณี นักวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตรชำนำญกำร

9. นำงสำวพรพิรุณ โยมงำม เจ้ำพนักงำนธุรกำรปฏิบัติงำน

10. นำงสำวจุฑำมำส จงศิริ นักวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตรชำนำญกำร

11. นำยณัฐนนท์ สวัสดี เจ้ำหน้ำที่ระบบงำนคอมพิวเตอร์

๙๔


Click to View FlipBook Version