The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nutchana Madteh, 2022-03-07 11:50:03

รายงานการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)

รายงานการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)

รายงาน
การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2

(Teaching Internship 2)

นางสาวนชุ นา หมาดเตะ๊
ห้อง คศ.602 รหสั นกั ศกึ ษา 6010380216

โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝนั )
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภเู กต็

รายงาน
การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2

(Teaching Internship 2)

นางสาวนชุ นา หมาดเตะ๊

คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู กต็



คำนำ

การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Teaching Internship 2) เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญ
ที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้และพัฒนาการเรียนการสอน อีกทั้งยังเป็นการฝึกประสบการณ์ให้นักศึกษาได้มีโอกาส
ศึกษาและสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียนรวมถึงข้อมูลของนักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียน การศึกษา
ในการสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน เป็นส่วนหน่ึงของการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ซึ่งจะทำให้เราทราบ
ถึงประวัติความเป็นมาของโรงเรียน ข้อมูลสถิติของบุคลากร รวมถึงข้อมูลของนักเรียน งานบริหารบริการ
ของโรงเรียน สภาพชุมชนและความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน รวมถึงผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษา และในการศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน ยังช่วยเสริมสร้างให้เราเข้าใจระบบการทำงาน
ของโรงเรียนมากยิ่งขึ้น และในการศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน ยังช่วยเสริมสร้างให้เราเข้าใจระบบ
การทำงานของโรงเรียนมากยิ่งขึ้น และมองเห็นภาพรวมของกลไกการทำงานของบุคคลต่าง ๆ ในโรงเรี ยน
ว่ามีการจัดสรรแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันอย่างไร มีการผสมผสานงานร่วมกันกับชุมชนจึงถือว่าโรงเรียน
และชมุ ชนเป็นสว่ นหนง่ึ ของกนั และกนั

ในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 ต้องขอขอบคุณโรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)
ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักศึกษาครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติหน้าที่และ
ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อำนวยการและคณะครูทุกท่าน ที่คอยให้คำแนะนำตลอดจนให้คำปรึกษาในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูล และขอขอบคณุ อาจารยน์ ิเทศ ผศ.ดร.ดนัยศักดิ์ กาโร ทม่ี อบคำแนะนำท่ีดีในการปฏบิ ตั ิการสอน
ในสถานศกึ ษา

รายงานฉบับน้ีผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งวาจะเป็นประโยชน์ตอผู้สนใจทั่วไปที่จะต องศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ของนักศึกษาฝกปฏิบัติการสอนวิชาชีพครูเพื่อนำไปสู่การพัฒนางาน
ของตนเองใหก้าวหนายิ่งขนึ้ ไป หากเกิดข้อบกพร่องประการใด ก็ขออภยั มา ณ ท่นี ี้ด้วยคะ่

นุชนา หมาดเตะ๊
ผู้จัดทำ

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบญั
ข้อมูลนักศกึ ษาทีป่ ฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา ก

1.1 ประวตั ินกั ศึกษา 1
1.2 ท่ีอยู่ปัจจุบันของนกั ศกึ ษา 1
1.3 ชอ่ื อาจารยท์ ่ีปรึกษา 1
1.4 ชอ่ื อาจารยน์ เิ ทศ 1
1.5 ชอื่ ครพู ี่เลีย้ ง 1
1.6 ผลการปฏิบัติงานสอน 1
1.7 ผลการปฏบิ ัติงานครูที่ปรกึ ษา / ผชู้ ว่ ยครทู ปี่ รึกษา 2
ข้อมูลสถานศกึ ษาท่ีฝึกปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 2 2
1 ข้อมลู โรงเรยี นฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู 3
3
1.1 ชื่อโรงเรียน 3
1.2 ช่อื ผบู้ ริหารสถานศึกษา 3
1.3 รายชอ่ื คณะกรรมการสถานศึกษา (ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง และข้อมูลอนื่ ๆ) 3
1.4 ปรัชญาของโรงเรียน 3
1.5 วิสยั ทศั น์ของโรงเรียน 3
1.6 พนั ธกจิ ของโรงเรียน 4
1.7 ยทุ ธศาสตร์ของโรงเรยี น 4
1.8 ขอ้ มลู บุคลากร 6
1.9 ขอ้ มลู นักเรียน 6
1.10 อาคารสถานที่ 6
1.11 ประวัติความเปน็ มาของโรงเรียน 9
1.12 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษา 10



สารบญั (ต่อ)

หน้า

1.13 ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมินคณุ ภาพภายในและภายนอก 11

1.14 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 14

1.15 ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC : Professional Learnning Community) 15

เขยี นตามแบบบันทกึ PLC และ e-PLC ท่กี ำหนดให้

ขอ้ มูลการปฏบิ ตั ิงาน 26

1. การปฏิบัติงาน 26

2. การลา 27

สรปุ ผลงานวจิ ยั ปฏิบตั ิการในชน้ั เรียน 28

บรรณานุกรม 37

ภาคผนวก 38

ภาคผนวก ก. ภาพถ่าย 39

ภาคผนวก ข. บทความหรอื ขอ้ มลู จากแหล่งตา่ ง ๆ เชน่ สมศ. O – NET A – NAT NT 41

ภาคผนวก ค. เอกสารอ่ืน ๆ ท่เี ห็นวา่ เหมาะสม ฯลฯ 49

1

ขอ้ มลู นกั ศกึ ษาที่ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

1. ประวัตินกั ศกึ ษา
ชอ่ื -สกุล นางสาวนชุ นา หมาดเต๊ะ
วนั /เดอื น/ปเี กิด 17 ธันวาคม 2541 อายุ 23 ปี

การศึกษา

ระดับช้นั อนบุ าล 1 – อนบุ าล 2 โรงเรยี นบ้านทุ่ง

ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นบา้ นทุ่ง

ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นอนุบาลเมืองสตลู

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสตลู วทิ ยา

ระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา คณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็

2. ที่อยูป่ จั จุบัน

บ้านเลขที่ 128 หมู่ที่ 5 ซอยริมเขา ถนนฉลุง-ละงู ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

รหัสไปรษณยี ์ 91140 โทร : 061-9345982

E-mail : [email protected]

3. ชือ่ อาจารยท์ ี่ปรึกษา ผศ.ชตุ มิ า ประมวลสขุ

4. ชือ่ อาจารย์นิเทศก์ ผศ.ดร.ดนยั ศกั ด์ิ กาโร

5. ชอ่ื ครพู ีเ่ ลี้ยง คุณครูอัจฉรา หนวู งศ์

2

6. ผลการปฏบิ ัตงิ านสอน

รายวชิ าทสี่ อน ระดบั ช้ัน จำนวนนกั เรยี น
(ชือ่ /รหสั /นก./ชม.) (คน)
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/1
คอมพิวเตอร์ 5 (เพิ่มเติม) ว 15201 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/2 39
2 หนว่ ยกติ 80 ช่ัวโมง ประถมศึกษาปที ่ี 5/3
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/1 39
คอมพิวเตอร์ 5 (เพ่ิมเตมิ ) ว 15201 ประถมศกึ ษาปีที่ 4/2
2 หนว่ ยกิต 80 ช่ัวโมง ประถมศึกษาปีที่ 4/3 38
ประถมศึกษาปีที่ 6/1
คอมพิวเตอร์ 5 (เพิ่มเติม) ว 15201 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/1 42
2 หน่วยกิต 80 ชั่วโมง ประถมศึกษาปที ่ี 6/2
การงานอาชีพ ก 14101 41
1 หนว่ ยกติ 40 ช่ัวโมง
การงานอาชีพ ก 14101 42
1 หน่วยกิต 40 ช่ัวโมง 42
การงานอาชพี ก 14101 42
1 หน่วยกิต 40 ชั่วโมง 46

ชมุ นม 1 หน่วยกติ 40 ช่วั โมง

ลกู เสอื + บำเพญ็ ประโยชน์ 40 ชั่วโมง

ลูกเสอื + บำเพญ็ ประโยชน์ 40 ชั่วโมง

7. ผลการปฏิบัตงิ านครูทปี่ รึกษา / ผชู้ ่วยครทู ปี่ รึกษา / ครูประจำชัน้

การปฏบิ ตั งิ าน ระดับชน้ั จำนวนนกั เรียน
6/1 42
ผูช้ ว่ ยครทู ี่ปรกึ ษา

3

ข้อมูลสถานศกึ ษาทฝี่ ึกปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

1. ข้อมูลโรงเรยี นฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

1.1 ชื่อโรงเรียน : โรงเรียนเทศบาล 6 ( อนุบาลในฝัน ) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่

ทต่ี ้งั ถนนราษฏร์เสรี ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา 90110 โทรศพั ท์ 074-255700

1.2 ชอ่ื ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

นางสุภาวดี ตนิ้ สกุล (ผู้อำนวยการโรงเรียน)

1.3 รายช่ือคณะกรรมการสถานศึกษา (ชอื่ -สกลุ ตำแหน่ง และข้อมูลอืน่ ๆ)

นายโชคลาภ สวุ รรณเคหะ ประธานกรรมการสถานศึกษา

นางอบุ ล ชมประสพ รองประธานกรรมการสถานศึกษา

นายมนตช์ ยั เลิศจำรัสพงศ์ รองประธานกรรมการสถานศึกษา

รศ.ดร.พนู สขุ อุดม กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ

นางสดุ ารัตน์ ทรรทรานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ

นางสุชาดา ชาทอง กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ

นายสนทิ เจริญมาก กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ

นายภคนนั ท์ ประทุมชาตภิ ัคดี กรรมการผู้แทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

นายภราดล สทุ ธวิ รรโณภาส กรรมการผแู้ ทนองค์กรชุมชน

พระสมหุ ส์ มศักดิ์ วชริ ธมโน กรรมการผู้แทนองคก์ รศาสนา

พระครูใบฎกี านะโม สขุ ีโว กรรมการผแู้ ทนองค์กรศาสนา

นางพรทิพย์ เสนะกลู กรรมการผแู้ ทนผู้ปกครอง

นางสาวกชมล ประจักษ์มณี กรรมการผแู้ ทนครู

นางสภุ าวดี ตนิ้ สกลุ กรรมการและเลขานุการ

1.4 ปรชั ญาของโรงเรยี น

“ คุณธรรมคูป่ ัญญา พัฒนาสู่สากล ”

1.5 วิสยั ทัศน์ของโรงเรียน

“ โรงเรยี นคุณธรรม นำวิชาการ บนพน้ื ฐานความพอเพยี ง ”

4

1.6 พนั ธกจิ ของโรงเรยี น
1. พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2. พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี ุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์
3. พัฒนาผเู้ รียนตามแนวคดิ พหปุ ญั ญา และ พหุภาษา
4. พฒั นาผเู้ รยี นและบุคลากรให้มีทกั ษะความรู้ในการใช้เทคโนโลยี
5. จดั กระบวนการเรียนรู้โดยใชส้ มองเปน็ ฐาน
6. ใช้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
7. พัฒนาบคุ ลากรให้มคี วามเป็นมืออาชพี
8. สร้างวฒั นธรรมองค์กรตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
9. สรา้ งเครอื ขา่ ยและความรว่ มมือระหว่างบ้าน ชุมชน และองค์กรภายนอก
10. พัฒนาสถานศึกษาให้มีสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรียนร้แู ละสวยงาม

1.7 ยุทศาสตร์ของโรงเรยี น

ยุทธศาสตร์ กลุ ยุทธ์ หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ

1.ยุทธศาสตร์ท่ี พัฒนาศกั ยภาพ 1.1 กลยุทธ์ที่ การพัฒนาศักยภาพ งานวชิ าการ

ผู้เรียนส่คู วามเปน็ เลศิ ทางภาษาสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน

1.2 กลยุทธ์ที่ ทางพัฒนาทักษะการคิด งานวิชาการ

ในมติ ติ า่ ง ๆ

1.3 กลยุทธ์ที่ การเตรียมความพร้อม งานวชิ าการ

การทดสอบทางการศึกษา/รักษา

คณุ ภาพผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

1.4 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนาคุณลักษณะ งานกจิ การนกั เรยี นและ

ผเู้ รียน สคู่ วามเปน็ พลเมืองอาเซียน งานวชิ าการ (ปฐมวยั )

1.5 กลยุทธ์ที่ การจัดกิจกรรมส่งเสริม งานวิชาการ,กิจการนักเรียน

ศกั ยภาพตามความสามารถ และงานวิชาการ (ปฐมวัย)

2.ยุทธศาสตร์ที่ การพัฒนา 2.1 กลยุทธ์ท่ี การพฒั นาความ สามารถ งานวชิ าการ

ศักยภาพ บุคลากร ทางภาษา เพอื่ กา้ วสู่ประชาคมอาเซียน

2.2 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนาศักยภาพ

บคุ ลากรทางวชิ าการและวชิ าชพี งานบคุ ลากร

5

2.3 กลยุทธ์ท่ี การส่งเสริมสวัสดิการ งานบคุ ลากร

สรา้ งขวัญและกำลงั ใจ

3.ยุทธศาสตร์ท่ี การบริหารงาน 3.1 กลยุทธ์ที่ การพัฒนาวิธีการเรียนรู้ งานวชิ าการ

วชิ าการเชงิ รุก ด้านภาษาของผูเ้ รยี น

3.2 กลยุทธ์ที่ การส่งเสริมกระบวนการ งานวิชาการ

เรียนร้แู บบ BBL อย่างตอ่ เนอื่ ง

3.3 กลยุทธ์ที่ การส่งเสริมการใช้ส่ือ งานวิชาการและงานอาคาร

เทคโนโลยี นวัตกรรม และแหล่งเรยี นรู้ สถานที่

3.4 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษา และหลกั สตู รพิเศษ งานวชิ าการ

3.5 กลยุทธ์ที่ การพัฒนางานวัดผล

และประเมินทางการศึกษา งานวชิ าการ

4.ยุทธศาสตร์ที่ การพัฒนา 4.1 กลยุทธท์ ี่ จัดการคัดกรองผเู้ รยี น งานวชิ าการ

ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น 4.2 กลยุทธ์ที่ การส่งเสริมสุขภาพ งานวิชาการ ,งานกิจกิจการ

ผเู้ รยี น นักเรียนและงานวิชาการ

(ปฐมวัย)

4.3 กลยุทธ์ที่ การจัดโครงการพิเศษ งานวิชาการ

ท่ีสง่ เสรมิ ความสามารถทางวิชาการ

5.ยุทธศาสตร์ที่ การวิจัยเพื่อ 5.1 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนางานวิจัยเพ่ือ งานวิชาการ (ปฐมวัย) และ

การพฒั นา พัฒนาผเู้ รยี น งานวชิ าการ

5.2 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนางานวิจัยเพ่ือ งานวชิ าการ

พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ

5.3 กลยุทธ์ท่ี การพัฒนาโครงสร้าง งานอาคารสถานที่

พนื้ ฐาน

6.ยุทธศาสตร์ท่ี การบริหาร 6.1 กลยุทธ์ที่ การบริหารจัดการแบบ งานนโยบายและแผนงาน ,

จัดการแบบมีส่วนรว่ ม มีสว่ นร่วม งานธุรการ และงานสมั พันธ์

6.2 กลยทุ ธ์ที่ การบรหิ ารความเสี่ยง ชมุ ชน

6.3 กลยุทธ์ท่ี การผดุงระบบประกัน งานธรุ การ

คณุ ภาพการศกึ ษา งานประกันคุณภาพ

การศึกษา

6

6.4 กลยุทธ์ที่ การสร้างความสัมพันธ์ งานสมั พันธ์ชุมชน
กับชมุ ชน และภาคกี ารศกึ ษาต่าง ๆ
6.5 กลยุทธ์ที่ การบริหารงบประมาณ งานสัมพนั ธ์ชุมชน
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

1.8 ข้อมูลบคุ ลากร

จำนวนครู มีทง้ั หมด 53 คน เป็นชาย 9 คน และเป็นหญงิ 44 คน

แยกตามวุฒิการศึกษา ดังน้ี

ปริญญาเอก จำนวน - คน

ปรญิ ญาโท จำนวน 13 คน

ปริญญาตรี จำนวน 34 คน

ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี จำนวน 6 คน

1.9 ข้อมลู นักเรยี น

นักเรียนมที งั้ หมด 1,045 คน เป็นชาย 480 คน เปน็ หญิง 565 คน

ช้ันอนุบาล 1 จำนวน 108 คน

ช้นั อนุบาล 2 จำนวน 131 คน

ช้ันอนุบาล 3 จำนวน 140 คน

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 123 คน

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 129 คน

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน 128 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 119 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 93 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 74 คน

สรุปอตั ราสว่ นระหว่าง จำนวนครอู าจารย์ต่อจำนวนนักเรยี นระดับอนุบาล 32 คน ตอ่ ครู 1 คน

สรปุ อตั ราสว่ นระหว่าง จำนวนครอู าจารยต์ ่อจำนวนนักเรยี นระดบั ประถม 25 คน ตอ่ ครู 1 คน

1.10 อาคารสถานที่

1.10.1 โรงเรยี นมเี น้ือทที่ ั้งสิ้น 2 ไร่

1.10.2 จำนวนอาคารเรียนทงั้ สิน้ 2 หลัง

1.10.3 อาคารประกอบ ได้แก่

อาคารเรยี นหลังที่ 1 อาคารเรียนอนบุ าล

อาคารเรียนหลังที่ 2 อาคารเรียนประถมศึกษา

7

1.10.4 สนามกีฬา 1 สนาม

1.10.5 บริเวณพกั ผ่อน 2 แห่ง

1.10.6 จำนวนห้องเรียนทั้งส้ิน 20 ห้อง

1.10.7 จำนวนหอ้ งสนบั สนนุ ทางวิชาการ 14 หอ้ ง คือ

หอ้ งวชิ าการ จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งผู้อำนวยการ จำนวน 1 ห้อง

ห้องธรุ การ จำนวน 1 ห้อง

ห้องศิลปะ จำนวน 1 ห้อง

ห้องธรรมชาติ จำนวน 1 ห้อง

ห้องเรียนทักษะภาษา จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งเสรมิ ปัญญา จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องนาฏศลิ ป์ จำนวน 1 ห้อง

แหลง่ การเรียนรใู้ นโรงเรยี น จำนวน 3 แห่ง

1.10.8 จำนวนห้องพักครู 3 ห้อง

1.10.9 จำนวนห้องสำนักงาน 2 หอ้ ง

1.10.10 ห้องน้ำนักเรยี น ชาย 21 ห้อง นักเรียนหญงิ 24 ห้อง

8

1.10.11 แผนผังแสดงบรเิ วรและทตี่ ้ังของโรงเรยี น

9

1.11 ประวัติความเปน็ มาของโรงเรียน
ปี 2549 ดว้ ยคณะผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ โดย ดร.ไพร พัฒโน นายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่

และคณะผู้บริหาร ได้ประชุมพิจารณานำที่ดินราชพัสดุ พื้นที่ 2 ไร่ 3 งาน 96 ตารางวา ตั้งอยู่ริมถนน
ราษฎร์เสรี ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของสำนักงานการประปาส่วนภูมิภาค และว่างเปล่ารกร้างเพื่อให้ที่ดินได้ใช้
ให้เกิดประโยชน์ต่อชาวอำเภอหาดใหญ่ จึงมีมติเป็นนโยบายที่จะใช้ที่ดินดังกล่าว เพื่อจัดตั้งโรงเรียน
สองภาษาแห่งแรกของเทศบาลนครหาดใหญ่ และเสนอสภาเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อขออนุมั ติ
ตั้งงบประมาณเพิ่มเติมฉบับที่ 1 ปี 2549 วงเงิน 48 ,000,000 บาท (สี่สิบแปดล้านบาทถ้วน)
เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549 และเสนอขออนุมัติสภาเทศบาลนครหาดใหญ่ สมัยวิสามัญ สมัยที่ 2
ประจำปี 2550

ปี 2550 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 มีมติเห็นชอบจัดตั้งโรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน)
เปดิ สอนระดบั อนบุ าล 1 - 3เริม่ วางศลิ าฤกษ์ก่อสร้างอาคาร วันท่ี 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2550

ปี 2551 โดยรองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น นายวสันต์ วรรณวโรทร รับนักเรียนรุ่นแรก
ชั้นอนุบาล 1 จำนวน 34 คน ทำการเปิดเรียน วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยฝากเรียนที่
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ภายใต้การบริหารของนางวิภาดา วงศ์ช่วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา
โรงเรียน เทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)

ปี 2552 โรงเรียนสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ
เมอื่ วนั ที่1 พฤษภาคม พ.ศ.2552 ภายใต้การบริหารของ นางพรทิพย์ ธรรมสวุ รรณ หวั หน้าหน่วยศกึ ษานิเทศก์
ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ผี อู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โดยมีผู้อำนวยการสถานศกึ ษาต้ังแตอ่ ดตี ถึงปจั จุบัน ดงั นี้

1. นางวภิ าดา วงศช์ ว่ ย ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ปฏิบตั หิ น้าที่
ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2551
ถงึ วันที่ 17 พฤษภาคม 2552

2. นางพรทิพย์ ธรรมสุวรรณ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา
โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนบุ าลในฝัน) ดำรงตำแหนง่ เมอื่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ถึงวนั ที่ 7 มนี าคม 2553

3. นายเอก ชโนวรรณ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) ดำรงตำแหน่ง
เมอ่ื วนั ที่ 8 มนี าคม 2553 ถึงวนั ที่ 4 พฤศจกิ ายน 2553

4. นายสนิท เจริญมาก ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝนั )ดำรงตำแหน่ง
เมื่อวนั ที่5 พฤศจกิ ายน 2553 จนถึงปัจจบุ นั

10

1.12 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา

1.12.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย

สรุปผลการประเมินภาพรวมระดบั ปฐมวัย

 ผา่ นเกณฑข์ ้ันต้น  ตอ้ งปรับปรุง  ดี  ดมี าก

มาตรฐาน ตวั บ่งช้ีและตวั บ่งชีย้ ่อย ผลการประเมิน
ภายใน ภายนอก
มาตรฐานที่ 1 การบรหิ ารจัดการสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
มาตรฐานท่ี 2 คร/ู ผดู้ ูแลเด็กให้การดแู ล และจดั ดี
ประสบการณเ์ รยี นรู้และการเล่นเพ่ือพัฒนาเดก็ ดีมาก รอพจิ ารณา
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย ดมี าก

1.12.2 ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน  ดมี าก
สรุปผลการประเมินภาพรวมระดบั ข้นั พ้นื ฐาน

 ผ่านเกณฑ์ข้นั ต้น  ตอ้ งปรับปรงุ  ดี

มาตรฐาน ตัวบ่งช้แี ละตวั บ่งชีย้ ่อย ผลการประเมนิ
ภายใน ภายนอก
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ 3 กระบวนจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียน ดี รอพิจารณา
เป็นสำคัญ ดี

11

1.13 ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก
1.13.1 จดุ เด่น

ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น
โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) การบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ

มีแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ร่วมกันจัดทำโครงการและปฏิบัติตามแผนการปฏิบัติงาน
ประจำปี มรการประเมินและปรับปรุงแผนโดยบุคลากรมีส่วนร่วม มีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียน
เทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) เป็นตัวกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้เด็กบรรลุมาตฐาน
คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ตามที่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กำหนด นำหลักสูตรที่ได้
ดำเนินการการประเมิน นิเทศกำกับติดตามการใช้หลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตรทุกปี มีการจัดเก็บข้อมูล
สารสนเทศ ข้อมูลเดก็ ข้อมลู ครู เพ่อื นำข้อมลู ท่ีจดั เกบ็ ไปใชป้ ระโยชน์ในการวางแผนการจัดการศึกษา

โรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมีการประชุมผู้ปกครองปีละ
2 ครั้ง ในภาคเรียนที่ 1 และ 2 ประชุมกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานประชุม 4 ครั้งเพื่อร่วมพิจารณาและ
ติดตามการดำเนินงานด้านต่าง ๆ กับโรงเรียน มรการสื่อสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านแอปพลิเคช่ัน
Facebook . Line มีการตั้งกลุ่มสร้างเครือข่าย เช่น เครือข่ายผู้ปกครองเพื่อสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
เมือ่ โรงเรยี นจัดกจิ กรรมต่าง ๆ จะได้รับความรว่ มมอื และการมสี ว่ นร่วมจากผปู้ กครองอย่างสม่ำเสมอ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร มีแผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้และกิจกรรมที่ส่งเสริมภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับครูชาวต่างชาติ มีแผน
และการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ปฐมวัย และกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของสถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธกิ าร

มแี ผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรแู้ ละจดั กิจกรรมทส่ี ่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อมรมณ์
จิตใจ - สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองดี จัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมปฐมวัยส่งเสริม
และปลกู ฝังใหเ้ ด็กมคี ณุ ธรมจริยธรรมและค่านืยมท่พี ึ่งประสงค์

มาตรฐานที่ 3 กระบวนจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั
เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัย มีสุขนิสัยที่เหมาะสมเพราะได้รับการฝึกทั้งที่บ้านและ

ที่โรงเรียน มีพัฒนาการโดยรวม ด้านการเคลื่อนไหว ด้านอารมณ์จิตใจ สติปัญญา เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
และพัมนาการดา้ นภาษาและการส่อื สารในระดับท่ดี ีมาก กลา้ พูดกล้าแสดงออกตามวยั

12

ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น
ผู้เรียนอ่านหนงั สือออกและอ่านได้ รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคนสามารถ

ใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีสุขภาพแข็งแรงมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
มาตรฐาน หลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีผลงานในการเข้าร่วม
กิจกรรมด้านวิชา การกีฬาและนันทนาการ ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่
พงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ รกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มและดำรงตนอย่างมีความสุขตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ
2. โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนรว่ ม การ

ประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายท่ี
ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัด
การศึกษา สภาพปัญหา/ความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทีม่ ุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผูส้ อนสามารถจดั การเรยี นรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ มี
การดำเนินการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
ครมู คี วามตง้ั ใจมุ่งมนั่ ในการพฒั นาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้

โดยการคิดได้ปฏิบัติจริงมีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากส่ื อ
เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้

1.13.2 จุดทค่ี วรพิจารณา
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย การจัดบันทึกการค้นหาจุดเสี่ยง

การนำผลการประเมินปรับปรุงและพัฒนา การจัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน ป้องกันอัคคีภัย / ภัยพิบัติ
ตามความเสี่ยงของพื้นที่ ควรมีแผนการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ฝึกซ้อมแผนอพยพให้กับบุคลากรและเด็กทุกคน
เสมอื นเจอเหตุจริง อยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครั้ง

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
การดแู ลเด็กและพฒั นาอย่างรอบด้านและส่งเสริมพฒั นาดา้ นร่างกายและการดูแลสุขภาพ

ในประเด็นการจัดทำบันทึกต่าง ๆ ให้เปน็ ปัจจุบัน เช่นการใช้แบบประเมินการเฝ้าระวังเด็กรายบุคคล (DSPM)
แบบบันทึกการช่วยเหลือเด็ก แบบคดั กรองสุขภาพ

13

มาตรฐานที่ 3 กระบวนจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
โดยภาพรวมนำหนกั ตามเกณฑส์ ว่ นสูง เด็กทมี่ ีร่างกายสมส่วน 279 คน คดิ เปน็ ร้อยละ

74.60 อยูใ่ นระดบั ดมี าก แต่ยงั มเี ดก็ อีก 95 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.40 ทยี่ ังต้องพัฒนาให้ดยี ิ่งข้นึ และ สขุ ภาพ
ชอ่ งปากเด็กที่ฟันไมผ่ ุมเี พยี ง 195 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 52.14 ของจำนวนเดก็ ทั้งหมดอยู่ในระดบั ดี แต่ยงั มีเด็ก
อีกถึง 179 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.86 ของเดก็ ท้ังหมดทีย่ ังต้องพัฒนา

ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
1. ผ้เู รียนควรไดร้ ับการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และ

พฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลในวิชาทอ่ี ยใู่ นระดับต่ำกวา่ เกณฑใ์ ห้ผเู้ รยี นได้รบั การฝกึ ฝนทกั ษะกระบวนการคิด
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแกป้ ัญหาอยา่ งมีเหตุผล จนเปน็ นสิ ยั ที่ดี เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผูเ้ รียน ตลอดจนพฒั นาผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานผูเ้ รียนระดับชาติ National
Test : NT Reading Test : RT และ Ordinary National Educational : O-Net ให้เพ่ิมขน้ึ

2. สรา้ งความตระหนักให้ผู้ปกครองในการดแู ลเอาใจใสน่ ักเรียนให้มกี ารแสวงหาความรู้
ดว้ ยตนเองอย่างสมำ่ เสมอและใหม้ ีการทบทวนบทเรยี นเลง็ เหน็ ความสำคัญของการเรียนเพ่อื พฒั นาตนเองและ
พฒั นาสงั คม

3. สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนดแู ลรกั ษาสุขภาพรา่ งกายให้มีน้ำหนักและส่วนสงู สมสว่ นตามเกณฑ์
ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
1. ส่งเสริมให้ครู “ทุกคน” ได้รับการอบรมเพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญด้านการจัด

ประสบการณ์ทางวิชาชีพ การผลิตสื่อ การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ การจัดหาสื่อเพื่อการเรียนรู้
อยา่ งเพยี งพอและหลากหลาย เพอ่ื ใหบ้ รรลุมาตรฐานของสถานศึกษา

2. สร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื ของผ้มู ีสว่ นเกีย่ วข้อง ในการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ให้มี
ความเข้มแขง็ มีส่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการ ขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา

3. จัดหาครูในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น สาขาคณติ ศาสตร์ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการเรียนการ
สอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สง่ ผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษาให้สูงขนึ้ ได้

4. พฒั นาระบบอินเตอร์เน็ตให้มีประสิทธภิ าพท้ังในส่วนของการจดั การเรียนการสอนและ
การบริหารจัดการ จัดหาสื่อเทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานสำหรับการจัดการเรียนการสอนในห้องคอมพิวเตอร์ให้
เพยี งพอต่อการจดั การเรียนการสอน

มาตรฐานที่ 3 กระบวนจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
1.จัดระบบแนะแนวนักเรียนและสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองให้เหมาะสมตามความ

แตกต่างระหว่างบุคคล ครทู กุ คนทำหน้าที่แนะแนวในการให้คำปรึกษาและสง่ เสริมผูเ้ รยี นตามศักยภาพ

14

2.จัดระบบการติดตาม แก้ไขปัญหานักเรียนในแต่ละกลุ่มให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น โดย
ใชก้ ระบวนการ ชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) เขา้ มาช่วยใน
การแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน สะท้อนผลการทำงานพัฒนาผู้เรียน เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานของสถานศกึ ษาให้สูงขึน้

1.13.3 ข้อเสนอแนะ
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
ควรดำเนนิ การจดั ระบบเหตุฉุกเฉนิ ป้องกันอัคคภี ยั และภยั พิบัติ แผนฝกึ ซอ้ มอพยพหนีไฟ

ควรบรรจุในแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2564 มกี ารฝึกซ้อมเสมอื นจรงิ ตรวจสอบประเมินผลการดำเนการและนำ
ผลประเมนิ มาปรับปรงุ พัฒนา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ควรมีการจัดทำและประเมินเด็กตามเอกสารของคู่มือมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

แหง่ ชาตใิ หเ้ ปน็ ปจั จบุ นั ครบถว้ น
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
จัดกจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมการพฒั นาดา้ นรา่ งกาย เด็กอ้วน เด็กผอม และเด็กที่มีปญั หาฟันผุ

โดยขอความรว่ มมอื จากสาธารณสุขหรือหน่วยงานภายนอกมาร่วมแกป้ ญั หาเดก็

1.14 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ระดบั การศึกษาปฐมวัย
1. โครงการเตรยี มความพรอ้ มป้องกนั อัคคภี ัย ภัยพิบตั ิและเหตุฉุกเฉนิ
2. โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพเดก็ ปฐมวยั
ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ตลอดจนพัฒนาการผลการทดสอบ

ความสามารถพื้นฐานผู้เรียนระดับชาติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (National Test : NT) และการทดสอบโอเน็ต
ในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเขม็ ขง็

3. ส่งเสริมให้ครู “ทุกคน” ได้รับการอบรมเพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ทางวิชาชีพและเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning
Community: PLC)

15

1.15 ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC : Professional Learnning Community ) เขียนตามแบบ
บันทกึ PLC และ e-PLC ทกี่ ำหนดให้

แบบบันทึกชุมชนวชิ าชีพ

(PLC : Professional Learnning Community)

โรงเรยี นเทศบาล 6 (อนบุ าลในฝนั ) ครง้ั ที่ 3

วนั ท่ี 23 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2564 เวลา 14:30 น. – 15:30 น.

ผู้เขา้ รว่ ม

1. นางสาวอัจฉรา หนูวงศ์

2. นายชาลี ลูกเหลม็

3. นางเปรมจติ ร จันทร

4. นางสาวเกษศิรนิ ทร์ ขนิษฐา บญุ สนอง

5. นางสาวนชุ นา หมาดเต๊ะ

6. นางสาวอาวาตีฟ ปะเต๊ะ

ปญั หา

1.นกั เรยี นเข้าเรียนน้อยและขาดเรียนหลายคน

2.นักเรยี นไมม่ ีความพรอ้ มสำหรบั เรียนออนไลน์

3.นกั เรยี นไม่มคี วามสนใจในบทเรยี น

4.นักเรยี นไม่สง่ งาน

สรปุ ผลการแลกเปล่ียนเรียนรู้

1. สิง่ ทท่ี ำได้สำเรจ็

- ครูสามารถหาวิธที ำใหน้ กั เรยี นเขา้ เรยี นออนไลนแ์ ละสง่ งานใหไ้ ดม้ ากทส่ี ุด และปรับรูปแบบการเรียนการ

สอนให้มคี วามน่าสนใจ มีเกมส์ มสี ่อื อนื่ ๆ ประกอบ

2. ส่งิ ทท่ี ำไม่สำเรจ็

- ยังมีนักเรียนท่ีขาดเรยี นบ่อย และไม่สง่ งาน

3. แนวทางการปรับปรุง / พฒั นา / สำเร็จ

- เม่ือได้รูป้ ัญหาตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ในการสอนออนไลน์ของแตล่ ะช้นั แลว้ และไดม้ กี ารหาวิธกี ารปรบั เปล่ยี น

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนใหด้ ียิ่งขึ้น

4. อืน่

16

รูปภาพประกอบการ PLC

ประชุม PLC คร้ังที่ 3
วันท่ี 23 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564
สถานท่ี หอ้ งประชุม โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝนั )

17

แบบบันทกึ ชมุ ชนวชิ าชีพ
(PLC : Professional Learnning Community)

โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) ครั้งท่ี 4
วนั ท่ี 21 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 เวลา 11:30 น. – 12:30 น.
ผู้เขา้ ร่วม
1. นายชาลี ลกู เหลม็
2. นางสาวนุชนา หมาดเต๊ะ
3. นางสาวอาวาตฟี ปะเตะ๊
4. นางสาวศศินิภา รัฐภมู ิภกั ดิ์
5. นางสาวอริสรา สงสงิ ห์
6. นางสาวชลลดา หาญพล
7. นางสาวอมติ ตา เสยี มไหม
8. นางสาวชญานชิ กิติอาสา
9. นางสาวเบญญาภา ราชสีห์
10. นางสาวอภิราดี นวลสง
11. นางสาวฮาวานา่ สาและ
ปญั หา
1.นักเรยี นเขา้ เรยี นน้อยและขาดเรียนหลายคน
2.นกั เรียนขาดความพรอ้ มสำหรับเรยี นออนไลน์
3. ขาดอปุ กรณ์สำหรับเรียนออนไลน์
4.นักเรยี นไมม่ คี วามสนใจในบทเรยี น
5.นักเรียนไม่คอ่ ยส่งงาน
6. นักเรยี นไม่เปิดกลอ้ ง
สรุปผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. ส่งิ ทีท่ ำไดส้ ำเร็จ
- ครูสามารถหาวธิ ีทำให้นักเรียนเข้าเรยี นออนไลนแ์ ละส่งงานให้ได้มากท่สี ดุ และปรับรปู แบบการเรยี นการ
สอนใหม้ ีความน่าสนใจ มเี กมส์ มสี อื่ อืน่ ๆ ประกอบ
- ครอู ัดหนา้ จอวีดีโอตอยสอนออนไลน์ เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นยอ้ นหลงั ได้

18

2. ส่ิงที่ทำไม่สำเร็จ
- ยงั มนี ักเรียนทขี่ าดเรยี นบ่อย และไม่คอ่ ยสง่ งาน
- นักเรยี นเปิดกลอ้ งน้อยกว่า 10 คน
3. แนวทางการปรบั ปรงุ / พฒั นา / สำเร็จ
- เม่ือไดร้ ปู้ ญั หาต่าง ๆ ที่เกดิ ในการสอนออนไลนข์ องแต่ละชน้ั แล้ว และไดม้ กี ารหาวธิ กี ารปรบั เปล่ยี น
รปู แบบการจดั การเรียนการสอนใหด้ ียิ่งขน้ึ
4. อน่ื

รปู ภาพประกอบการ PLC

ประชุม PLC คร้งั ที่ 4
วนั ท่ี 21 เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
สถานท่ี ห้องประชุม โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน)

19

แบบบันทึกการสรา้ งชุมชนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู (E-PLC)
ของนกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) สังกัด สำนักการศกึ ษา เทศบาลนครหาดใหญ่

E-PLC ครงั้ ที่ 3 / 2564

วัน เดอื น ปี เวลาทีเ่ ร่ิม-สน้ิ สุด สถานที่
23 ธนั วาคม 2564 13:30 – 14:30 จำนวน 1 ช่วั โมง โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนบุ าลในฝนั )
สมาชิก E-PLC
1. นางสาวอัจฉรา หนวู งศ์ 4. นางสาวเกษศริ ินทร์ ขนิษฐา บุญสนอง นางสภุ าวดี ต้นิ สกลุ
2. นายชาลี ลูกเหล็ม 5. นางสาวอาวาตฟี ปะเต๊ะ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
3. นางเปรมจิตร จนั ทร 6. นางสาวนชุ นา หมาดเตะ๊

1. สภาพการประพฤติปฏิบัติตาม โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) สังกัด สำนักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่

จ ร ร ย า บ ร ร ณ ว ิ ช า ช ี พ ค รู จากการท่นี ักศึกษาชั้นปีท่ี ๕ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเก็ต เข้ารับการฝึก

ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ประสบการณ์วิชาชีพครูในฐานะนักศึกษาฝึกสอนเพื่อฝึกปฏิบัติการสอน

วิชาชีพครู ในสถานศึกษา ตามสาขาวิชาในภาคเรยี นท่ี ๒ โดยมีคณะผ้บู ริหารและคณะครูท่ีได้รับ

(ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันสะท้อน มอบหมายรวมถึงนักศึกษา ที่ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา

ผ ล ก า ร ป ร ะ พ ฤ ต ิ ป ฏ ิ บ ั ต ิ ต น จรรยาบรรณวิชาชีพครู (E-PLC) ในครั้งนี้ ได้มีการเสนอความคิดเห็นแลกเปลี่ยน

ตามจรรยาบรรณวิชาชีพของ และสะท้อนตัวตนของนักศึกษากับการปฏิบัติตน ตามจรรยาบรรณโดยรวมของ

นักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษามีการช่วยเหลืองานที่รับมอบหมาย และนอกเหนือ จากหน้าท่ี

ครทู กุ คน) ได้เป็นอย่างดมีน้ำใจและสร้างความสัมพันธ์กับผู้ร่วมวิชาชีพได้มีลักษณะ

และบุคลิกภาพ ในการเป็นครู และมีการจัดการเรียนการสอนมีกิจกรรมที่กระตุ้น

ความสนใจผู้รับบริการได้เป็นอย่างดี จากการสะท้อนของคณะผู้บริหารและคณะครู

สามารถสรุปประเด็นท่สี ะทอ้ น ได้ดังน้ี

1. จรรยาบรรณต่อตนเอง

- ในเร่อื งของเวลา ได้มาปฏบิ ัติงานตรงตามเวลาของระเบยี บสถานศกึ ษา

- นกั ศึกษาเต็มท่ีในภาระงานท่ีไดร้ ับความมอบหมาย / ใหช้ ว่ ยงานครูทุกคนใน

โรงเรยี นด้วยความเต็มใจ

- นักศึกษาได้มีการปฏิบัติหน้าที่ Work From Home ในบางวันตามที่ได้รับ

มอบหมาย

2. จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี

- การแตง่ กายอยใู่ นเกณฑท์ ี่ดี มมี นษุ ยสัมพนั ธท์ ดี่ ีกับเพือ่ นร่วมงาน

- นกั ศกึ ษามีความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ มคี วามกระตอื รือรน้ ในการสอน

20

- ประสบการณ์ด้านการสอน นักศึกษามีประสบการณ์สอนจากภาคเรียนที่ 1
มาแล้ว แต่เนื่องจากนักศึกษาได้ย้ายสถานฝึกสอนทำให้นักศึกษามีความต้ืน
เต้นในการสอนในช่วงแรก ๆ และต่อมามีการพัฒนาในด้านการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ที่ดีขนึ้ มกี ระบวนการสอนครบถ้วนตามกระบวนการ

2. แนวทางการส่งเสริมและแก้ไข - นักศกึ ษาไดม้ กี ารปรึกษากับครูพ่ีเล้ยี ง เมอ่ื เจอปญั หาในการจดั การเรียนการสอน
พฤติกรรมการปฏิบัติตนตาม - รับผิดชอบงานภาระการสอนได้ดีครบถ้วน ตามที่ได้รับมอบหมาย มีการส่งงานตรง
จรรยาบรรณวิชาชีพครูที่ไม่ เวลาหรือก่อนเวลา ไม่เคยมีการส่งงานสาย
เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษ า ฝึ ก - มกี ารช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื ได้ดมี ากย่งิ ข้นึ สามารถปรับตัวเขา้ หาครทู ่านอน่ื ๆ ได้ดีข้นึ
ประสบการณ์วิชาชพี ครู (โรงเรียนมี
การกำหนดแนวทาง /วิธีการ
ส่งเสริมและแก้ไขพฤติกรรมการ
ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ครูให้แก่นกั ศกึ ษาอยา่ งไร)
3. ผ ล ก า ร พ ั ฒ น า ท ี ่ เ ก ิ ด ข้ึ น - ในความรับผดิ ชอบในด้านหน้าทกี่ ารสอนทำไดด้ ี และมีการพฒั นายิง่ ขนึ้ มากกวา่ เดิม
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ - สามารถควบคมุ ชั้นเรยี นไดด้ ขี นึ้
ครูมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ
วชิ าชพี ครอู ย่างไรบา้ ง)

ลงช่อื ...................................................ผู้รบั รอง
(นางสภุ าวดี ติน้ สกุล)

ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน)

ลงชอ่ื .............................................ผู้บันทกึ ลงชอ่ื ...................................................ผบู้ ันทกึ
(นางสาวนชุ นา หมาดเต๊ะ) (นางสาวอาวาตีฟ ปะเต๊ะ)
ตำแหน่ง นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์
ตำแหน่ง นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์

21

รปู ภาพประกอบการ E-PLC

ประชมุ E-PLC คร้งั ท่ี 3
วันท่ี 23 ธันวาคม 2564
สถานที่ หอ้ งประชุม โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝนั )

22

แบบบนั ทกึ การสร้างชุมชนการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาจรรยาบรรณวิชาชีพครู (E-PLC)
ของนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู ก็ต
โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝนั ) สงั กดั สำนักการศกึ ษา เทศบาลนครหาดใหญ่

E-PLC ครั้งท่ี 4 / 2564

วัน เดือน ปี เวลาทเ่ี รม่ิ -ส้นิ สดุ จำนวน 1 ชว่ั โมง สถานที่
21 กุมภาพนั ธ์ 2565 10:30 – 11:30 โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนบุ าลในฝัน)

สมาชกิ E-PLC นางสุภาวดี ต้ินสกลุ
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา
1. นายชาลี ลกู เหล็ม 7. นางสาวอมติ ตา เสียมไหม

2. นางสาวนชุ นา หมาดเตะ๊ 8. นางสาวชญานชิ กติ อิ าสา
3. นางสาวอาวาตีฟ ปะเต๊ะ 9. นางสาวเบญญาภา ราชสีห์
4. นางสาวศศินภิ า รัฐภมู ิภกั ด์ิ 10. นางสาวอภริ าดี นวลสง

5. นางสาวอริสรา สงสงิ ห์ 11. นางสาวฮาวานา่ สาและ

6. นางสาวชลลดา หาญพล

1. สภาพการประพฤติปฏิบัติตาม โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) สังกัด สำนักการศึกษา เทศบาลนครหาดใหญ่

จ ร ร ย า บ ร ร ณ ว ิ ช า ช ี พ ค รู จากการทนี่ ักศึกษาช้ันปีที่ ๕ คณะครศุ าสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต เข้ารับการฝึก

ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ประสบการณ์วิชาชีพครูในฐานะนักศึกษาฝึกสอนเพื่อฝึกปฏิบัติการสอน

วิชาชพี ครู ในสถานศึกษา ตามสาขาวิชาในภาคเรียนที่ ๒ โดยมีคณะผู้บริหารและคณะครู

(ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันสะท้อน ทีไ่ ด้รบั มอบหมายรวมถึงนักศึกษา ทีไ่ ด้รว่ มกันจัดกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา

ผ ล ก า ร ป ร ะ พ ฤ ต ิ ป ฏ ิ บ ั ต ิ ต น จรรยาบรรณวิชาชีพครู (E-PLC) ในคร้ังน้ี ได้มีการเสนอความคิดเห็นแลกเปลี่ยน

ตามจรรยาบรรณวิชาชีพของ และสะท้อนตัวตนของนักศึกษากับการปฏิบัติตน ตามจรรยาบรรณโดยรวม

นักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของนักศึกษามีการช่วยเหลืองานที่รับมอบหมาย และนอกเหนือ จากหน้าท่ี

ครทู ุกคน) ได้เป็นอย่างมีน้ำใจและสร้างความสัมพันธ์กับผู้ร่วมวิชาชีพได้มีลักษณะ

และบุคลิกภาพ ในการเป็นครู เป็นการส่งเสริมครู บุคลากรทางการศึกษา

และเตรียมเข้าสู่วิชาชีพครู และมีการจัดการเรียนการสอนมีกิจกรรมที่กระตุ้น

ความสนใจผู้รับบริการได้เป็นอย่างดี จากการสะท้อนของคณะผู้บริหารและ

คณะครสู ามารถสรปุ ประเด็นที่สะท้อน ไดด้ ังนี้

23

1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
- ในเรื่องของเวลา ได้มาปฏิบัติงานตรงตามเวลาของระเบียบสถานศึกษา
ทางโรงเรียนมีการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online) ดังนั้นเฉพาะ
ในวนั ทน่ี ักศกึ ษาไมม่ สี อน อนญุ าตใหน้ ักศกึ ษามาโรงเรียน 8:30 น.
- นักศึกษาได้มีการปฏิบัติหน้าที่ Work From Home ในบางวันตามที่ได้รับ
มอบหมาย
- นักศึกษาเต็มที่ในภาระงานที่ได้รับความมอบหมาย / ให้ช่วยงานครูทุกคน
ในโรงเรยี นด้วยความเตม็ ใจ
- นักศึกษาไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ
อารมณ์
- นกั ศึกษามีการพัฒนาตนเองทด่ี ขี ้ึน

2. จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี
- การแต่งกายอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานและครูใน
โรงเรียนไดด้ ี
- นกั ศกึ ษามีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ มีความกระตอื รือรน้ ในการสอน
- นักศึกษามีประสบการณ์ด้านการสอนที่ดีขึ้น และมีการพัฒนาในด้านการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ดีขึ้น มีกระบวนการสอนครบถ้วนตาม
กระบวนการ

2. แนวทางการส่งเสริมและแก้ไข - นักศกึ ษาได้มกี ารปรึกษากบั ครูพ่ีเลย้ี ง เม่อื เจอปญั หาในการจัดการเรยี นการสอน
พฤติกรรมการปฏิบัติตนตาม - รับผิดชอบงานภาระการสอนได้ดีครบถ้วน ตามที่ได้รับมอบหมาย มีการส่งงานตรง
จรรยาบรรณวิชาชีพครูที่ไม่ เวลาหรือกอ่ นเวลา ไม่เคยมกี ารสง่ งานสาย
เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษ า ฝึ ก - มีการช่วยเหลือผู้อ่ืนได้ดมี ากยง่ิ ข้นึ สามารถปรบั ตัวเขา้ หาครูท่านอน่ื ๆ ได้ดขี ึ้น
ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู (โรงเรยี นมี - มพี ฒั นาการด้านการจดั การเรยี นการสอนได้ดีข้นึ
การกำหนดแนวทาง /วิธีกา ร
ส่งเสริมและแก้ไขพฤติกรรมการ
ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ครใู หแ้ ก่นกั ศึกษาอยา่ งไร)

24

3. ผ ล ก า ร พ ั ฒ น า ท ี ่ เ ก ิ ด ขึ้ น - ในความรบั ผิดชอบในดา้ นหน้าท่ีการสอนทำไดด้ ี และมีการพัฒนาย่งิ ขึ้นมากกวา่ เดมิ
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ - สามารถควบคมุ ชน้ั เรียนได้ดีข้นึ
ครูมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม - มีการช่วยเหลือครูในโรงเรียนไดด้ ี
การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ
วชิ าชีพครอู ย่างไรบา้ ง)

ลงชื่อ...................................................ผรู้ ับรอง
(นางสุภาวดี ติ้นสกุล)

ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน)

ลงชือ่ .............................................ผู้บันทึก ลงช่ือ...................................................ผบู้ นั ทึก
(นางสาวนชุ นา หมาดเตะ๊ ) (นางสาวอาวาตีฟ ปะเต๊ะ)
ตำแหนง่ นักศึกษาฝึกประสบการณ์
ตำแหน่ง นกั ศึกษาฝึกประสบการณ์

25

รูปภาพประกอบการ E-PLC

ประชมุ E-PLC ครงั้ ท่ี 4
วนั ท่ี 21 กมุ ภาพันธ์ 2565
สถานท่ี ห้องประชมุ โรงเรยี นเทศบาล ๖ (อนบุ าลในฝัน)

26

บันทึกการปฏิบัตงิ าน

1.การปฏิบัติงาน

การบนั ทกึ รายละเอียดการปฏิบัตงิ าน หมายเหตุ

(ที่ไดร้ ับมอบหมายเปน็ กรณีพเิ ศษ)

ช่ือกิจกรรม/งาน/โครงการ

1. แจกหนงั สือเรยี น แจกเอกสาร - วันที่ 15 พฤษจิกายน 2564 ได้รับมอบหมาย

นักเรียน ป.6 ใหแ้ จกหนงั สือเรียน

2. แจกเอกสารนักเรยี น ป.6 - วันที่ 20 พฤษจิกายน 2564 ได้รับมอบหมาย
ให้แจกเอกสารสำหรับ ติวสอบ ให้กับนักเรียน
และ นักเรยี นช้นั ป.6 ถา่ ยรูปติดใบจบ

3. แจกนมโรงเรยี น - วันที่ 13 – 17 ธันวาคม 2564 ได้รับ
มอบหมายให้แจกนมให้กบั นกั เรียน

4. กจิ กรรมวนั ครสิ ต์มาส - 24 ธันวาคม 2564 ได้รับมอบหมายใหเตรยี ม
งานกิจกรรมวนั ครสิ ต์มาส
- 25 ธันวาคม 2564 ได้รับมอบหมายให้
ช่วยงานกิจกรรมแจกของขวัญวนั ครสิ ตม์ าส

5. กิจกรรมวันตรุษจีน - วันที่ 01 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับมอบหมาย
ใหช้ ่วยกิจกรรมวนั ตรษุ จนี

6. สอบคัดเลอื ก นักเรียนเข้า ป.1 - วันที่ 08 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับมอบหมาย
รอบแรก (นักเรยี นจากโรงเรียน ให้ช่วยงาน รับ - ส่ง นักเรียนไปยังห้องสอบใน
เทศบาล 6) แตล่ ะห้อง

7. สอบคัดเลือก นกั เรยี นเข้า ป.1 - วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับมอบหมาย
รอบสอง (นักเรียนใหม่) ให้ช่วยงาน รับ - ส่ง นักเรียนไปยังห้องสอบใน
แต่ละห้อง

2. การลา จำนวนวนั 27
การบนั ทกึ
รายละเอียด
(ระบุวนั ที่ สาเหตุ)

การลาป่วย ครง้ั ที่ 1.................
การลากิจ ครั้งท่ี 2.................
การขออนุญาตออกนอกสถานที่ ครงั้ ท่ี 1.................
ครั้งท่ี 2.................
ครั้งที่ 1.................
คร้งั ที่ 2.................

หมายเหตุ ใหแ้ นบคำสง่ั ปฏิบัติการ ใบลา ใบรับรองแพทย์ หรือเอกสารอืน่ ๆ ทีแ่ สดงให้ถงึ ขอ้ มลู การ
ปฏิบตั ิงานตามทร่ี ะบไุ ว้ที่ภาคผนวก

28

สรปุ ผลงานวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารในชนั้ เรียน

ชื่องานวิจัย : การพัฒนาบทเรียนในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน
(Microsoft Excel) ของนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
ผวู้ ิจัย : นางสาวนุชนา หมาดเตะ๊
โรงเรยี น : เทศบาล 6 ( อนุบาลในฝัน)
ระยะเวลาทำการวิจยั ปีการศึกษา 2/2564 : ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ที่มาและความสำคัญ
ในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันในทุกด้าน รวมทั้งด้านการจัดเรียน

การสอน เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ให้กับผู้เรียนให้ทันกับเทคโนโลยี
ที่เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว ซึง่ โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมสำเรจ็ รูปที่จัดการเอกสารในรูปแบบ
ตาราง การสร้างแผนภูมิแบบอัตโนมัติในการนำเสนอข้อมูล ซึ่งมีส่วนประกอบมากมายทำให้ผู้เรียนขาดทักษะ
ในการสร้างแผนภูมิและการปรับเปลี่ยนรูปแบบของแผนภูมิตา่ งๆ และมคี ำสง่ั ทยี่ ุ่งยากซับซ้อน ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีมี
เนื้อหาที่ผู้เรียนจดจำยาก จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เกี่ยวกับเรื่อง โปรแกรมตาราง
การทำงาน (Microsoft Excel) (วไิ ลวรรณ ศรีแสงอ่อน, 2557)

ไพโรจน์ตีรณธนากุล ไพบูลย์เกียรติโกมน และ เสกสรรค์แย้มพินิจ ได้ให้ความหมายของ 3 บทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไวว้ ่า คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนคือการนำคอมพิวเตอร์เขา้ มาเสริม เพ่อื ชว่ ยเพมิ่ ประสิทธิภาพ
การเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เสริมการสอนนี้ สามารถใช้ประกอบขณะที่ผู้สอนทำ
การสอนเอง หรือการใชส้ อนแทนผู้สอนทัง้ หมดกไ็ ด้ (ไพโรจน์ตีรณธนากลุ และคณะ, 2546)

การเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้กำหนดตัวชี้วัดที่ 4 ให้นักเรียนมีความสามารถนำเสนอข้อมูล
ในรูปแบบที่เหมาะสมโดยเลือกใช้ซอฟแวร์ประยุกต์โดยกำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ดังน้ี
(1) นักเรียนสามารถจัดทำข้อมูลเพื่อการนำเสนอต้องพิจารณารูปแบบของข้อมูลให้เหมาะสม
กับการสื่อ ความหมายที่เข้าใจง่ายและชัดเจน เช่น การพิมพ์เอกสาร การคำนวณ กราฟ ตารางแผนภาพ
รูปภาพ (2) นักเรียนใช้ซอฟต์แวร์นำเสนอ เช่น การสร้างงานเอกสาร สร้างกราฟ ตกแต่งเอกสาร การกำหนด
เทคนิคพิเศษในการนำเสนอและ (3) นักเรียนเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ให้เหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอ
(หลกั สูตรสถานศึกษากลมุ่ สาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี , 2551)

ในการดำรงชีวิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ในปัจจุบัน สื่อทั้งหลายที่นำมาใช้
ในการจัดกจิ กรรมการสอน จงึ ต้องจัดอย่างมีระบบและมีหลายชนิดหลายวิธีในปัจจบุ ัน พบว่า สื่อคอมพิวเตอร์

29

มัลติมีเดียเป็นสื่อที่น่าสนใจที่สุดสื่อหนึ่ง กล่าวคือเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอน
การทบทวน การทำแบบฝึกหัด และการวัดผลประเมินผล มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์
ตลอดเวลา ซึ่งอาจ เป็นตัวหนังสือ ภาพกราฟิก เสียง ผู้เรียนเรียนไดต้ ามอัตราความเร็วของตนเองเรียนที่ไหน
เมื่อใดก็ได้ อีกทั้ง ยังสามารถทราบผลการเรียนรู้ของตนเองได้ทันที ดังนั้นจึงสามารถแก้ปัญหา
และเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน การสอน ทำให้การเรียนรู้ของผู้เรียน มีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนดขี ึ้น (บญุ รตั น์ คึมยะราช, 2556:100)

ผู้วิจัยพบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่พอมีพื้นฐานการใช้โปรแกรมมาแล้ว ซึ่งผู้เรียนขาดทักษะ
ในเร่ือง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ผู้วจิ ัยจึงได้นำบทเรยี นออนไลน์ เร่อื ง โปรแกรมตาราง
การทำงาน (Microsoft Excel) ข้นึ มาเพอื่ พัฒนาความรแู้ ละทกั ษะทางด้านการใช้งานคอมพวิ เตอร์ใหก้ ับผู้เรียน
ใหท้ นั กับเทคโนโลยีทเี่ ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาตา่ งกนั อกี ท้ังเคร่ืองคอมพิวเตอร์
ยังใช้แนวคิดเชิงคำนวณแก้ไขปัญหา และผู้เรียนยังต้องเข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต
ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะการคำนวณบวก ลบ คูณ หาร ในโปรแกรม
Microsoft Excel ได้ เพ่อื สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ได้

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียน

ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้บทเรียนออนไลน์

ที่พฒั นาขึ้น ของนกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

วธิ กี ารดำเนินการวจิ ัย
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel)

ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) โดยผู้วิจัยได้ดำเนินการ
ตามข้ันตอนดงั ต่อไปน้ี

1 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
2 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย
3 การสร้างเครื่องมอื ในการวจิ ยั
4 สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู
5 โครงสรา้ งของบทเรยี น

30

1 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง
1.1. ประชากรท่ใี ช้ในการวิจยั
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) ภาคเรียนที่ 2

ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 116 คน
1.2. กลมุ่ ตวั อย่าง
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) ภาคเรียนที่ 2

ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 116 คน
2. เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย

เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั มีดังน้ี
2.1 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
2.2 แบบประเมินคุณภาพของบทเรยี นออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel)
ของนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5
2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้นเรื่อง โปรแกรมตารางการ
ทำงาน (Microsoft Excel) ของนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์
3. การสร้างเคร่ืองมอื ในการวิจัย
3.1. ในการวิจัย การพัฒนาบทเรียนในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการ
ทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) ด้วย
เว็บไซต์ออนไลน์ Google site ผู้วิจัยได้นำหลักการออกแบบของ ADDIE มาเป็นหลักเพื่อประยุกต์ใช้ในการ
พัฒนา ตามลำดบั ขนั้ ดังน้ี

1) ขัน้ วเิ คราะห์ (Analysis)

ศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเลือกรายวิชารายวิชา

สาระเพิ่มเติม คอมพิวเตอร์ศึกษา และมาวิเคราะห์เนื้อหาทั้งหมด 1 บท หน่วยการเรียนรู้

4 หนว่ ย จำนวน 8 ช่วั โมง ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 โดยมีรายละเอียดเน้อื หาดงั ตอ่ ไปน้ี

ชื่อหนว่ ย เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง)

โปรแกรมตาราง หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง หนา้ ต่างโปรแกรม Microsoft Excel 2
การทำงาน หน่วยท่ี 2 เรื่อง การใช้ฟงั ก์ชัน ในโปรแกรม Microsoft Excel 2
หนว่ ยท่ี 3 เรือ่ ง การหาคา่ บัญชีรายรบั - รายจ่าย 2
Microsoft Excel หนว่ ยที่ 4 เร่อื ง การสร้างแผนภมู ิ 2

รวม 8

31

2) ขั้นออกแบบ (Design)
ผู้วิจัยได้ทำการนำผลการวิเคราะห์จากขั้นตอนการวิเคราะห์ มาทำการออกแบบ
ตามลำดับขน้ั ตอน ดงั น้ี
2. 1 อ อ ก แ บ บ บ ท เ ร ี ย น อ อ น ไ ลน ์ ด ้ ว ย เ ว ็บ ไ ซ ต ์ Google site ต ั ้ ง แ ต ่ ห น ้าแรก
หน้าบทเรียน หน้าเนื้อหา หน้าสื่อการเรียนรู้ หน้ากิจกรรมการเรียนรู้ หน้าแบบทดสอบ
และหน้าผู้จดั ทำ
2.2 นำเสนอบทเรียนออนไลน์ ด้วยเว็บไซต์ Google site หน้าต่างโปรแกรม
การทำงาน Microsoft Excel โดยอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจดูความถูกต้องและขอคำแนะนำ
จากอาจารย์ท่ปี รกึ ษา

3) ขน้ั พฒั นา (Development)
3.1 ดำเนินการสร้างสื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง หน้าต่างโปรแกรมการทำงาน Microsoft
Excel สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยเว็บไซต์ออนไลน์ Google site ตามรูปแบบที่ได้
ออกแบบดไี ซนไ์ ว้ตามแพลตฟอรม์ ที่มใี ช้อยู่ Google site โดยเร่ิมจากการเตรยี มเน้ือหา และรูปภาพท่ีเกีย่ วข้อง
3.2 สร้างเนื้อหาข้อความที่เตรียมไว้ ใส่ในรูปภาพเพื่อให้ดูน่าสนใจ ทำให้เข้าใจได้ง่าย ด้วย
โ ป ร แ ก ร ม Microsoft Powerpoint แ ล ะ Microsoft Excel จ า ก น ั ้ น น ำ เ น ื ้ อ ห า ร ู ป ภ า พ ด ั ง ก ล ่ า ว
ใส่ลงไปในเว็บไซต์ออนไลน์ Google site
3.3 นำบทเรียนออนไลน์จาก Google site ที่สร้างมานำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อีกคร้งั เพื่อขอคำแนะนำหาขอ้ ผดิ พลาดและนำไปปรบั ปรุงแก้ไข
4) ข้นั การดำเนินการ (Implement)
ผู้ว ิจัยนำบทเรียนออนไลน์ หน้าต่างโ ปรแกรมการทำงาน Microsoft Excel
ของนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ด้วยเวบ็ ไซตอ์ อนไลน์ Google site ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญประเมนิ
5) ขน้ั ประเมนิ และปรับปรุงแกไ้ ข (Evaluation)
1. นำผลที่ได้จากการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงแก้ไข
ตามคำแนะนำ
2. ปรับปรุงแกไ้ ขส่ือใหม้ ีคณุ ภาพตามเกณฑท์ ว่ี างไว้
3.3.2. แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ เรื่อง หน้าต่างโปรแกรมการทำงาน Microsoft
Excel สำหรับนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5
1) สร้างแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ใน Google Forms เพื่อนำให้ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านเนื้อหาและเทคนิค จำนวน 3 คน ประเมิน โดยใช้การวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5

32

ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท (1 = น้อยที่สุด ถึง 5 = มากที่สุด) โดยนำผลการประเมินมาแปลงเป็นคะแนน ดังน้ี
(บุรินทร์ รจุ จนพนั ธ์ุ, 2553)

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์ประเมนิ
นอ้ ยท่ีสดุ = 1 นอ้ ยทส่ี ดุ = 1.00 - 1.80
นอ้ ย = 2 น้อย = 1.81 - 2.60
ปานกลาง = 3 ปานกลาง = 2.61 - 3.40
มาก = 4 มาก = 3.41 - 4.20
มากทสี่ ดุ = 5 มากท่สี ุด = 4.21 - 5.00

2) นำแบบประเมินคุณภาพไปใช้จริงกับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านเทคนิค จำนวน 3 คน
เพื่อมาวิเคราะห์หาคุณภาพของ บทเรียนออนไลน์ เรื่อง หน้าต่างโปรแกรมการทำงาน Microsoft Excel
สำหรับนกั เรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5

3.3.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 5 ทไี่ ดร้ บั การสอนโดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์

1) ออกแบบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พร้อมคิดเครื่องมือในการออกแบบ
แบบทดสอบ โดยเลือกใชแ้ บบทดสอบ ใน Google Forms

2) หาเนื้อหาจากเว็บไซต์มาทำแบบทดสอบให้เกี่ยวข้องกับเรื่อง หน้าต่างโปรแกรมการทำงาน
Microsoft Excel

3) สร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ผ่าน Google Forms จำนวน 30
ขอ้ เพือ่ ใหค้ รอบคลมุ กับเนือ้ หา พรอ้ มทง้ั ตกแต่งธมี ใหส้ วยงาม

4. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
4.1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (mean) และการหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard

deviation) และการทดสอบ (T-test: One Sample test) กลุ่มเดียวกนั ก่อนและหลัง ดงั ตอ่ ไปนี้

33

1. ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยใช้สตู ร (บญุ ชม ศรีสะอาด,2545) คำนวณจากสูตร

= X

X N

เมอื่ X แทน คา่ คะแนนเฉล่ยี
 X แทน ผลรวมของคะแนน

n แทน จำนวนผู้สอบทั้งหมด

2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ชูศรี วงศ์รัตนะ,2541) คำนวณ
จากสตู ร

S.D. = N X 2 − ( X )2

N(N −1)

เม่อื S.D. แทน ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
N แทน จำนวนผ้สู อบท้ังหมด
X แทน ผลรวมของคะแนน
X2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละคา่ ยกกำลงั สอง

3. การทดสอบ ( t-test : One Sample test) กลุ่มเดียวกัน ก่อนและหลัง คำนวณ

จากสูตร

t = D df = n-1
N D2 − ( D)2

N −1

เม่อื t แทน ค่าสถติ ิท่ใี ช้ในการพจิ ารณาใน t – distribution

D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่

N แทน จำนวนคู่ของคะแนนหรอื จำนวนนักเรยี น

 D แทน ผลรวมท้งั หมดของผลตา่ งของคะแนนกอ่ นและหลังการทดลอง

 D2 แทน ผลรวมของกำลงั สองของผลต่างของคะแนนก่อนและหลังการ

ทดลอง

34

5. โครงสร้างของบทเรยี น

ผลการวิจยั
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ มีวัตุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตาราง

การทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้บทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564จำนวน 116 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) บทเรียนออนไลน์
เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
(2) แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 5 ทไี่ ดร้ บั การสอนโดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ ทง้ั นีผ้ ูว้ ิจัยไดส้ รุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้

1. ได้เว็บไซต์บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่องโปรแกรมตาราง
การทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน)
โดยบทเรียนออนไลน์นำเสนอในรูปแบบ เว็บไซต์ สื่อมัลติมีเดีย ที่ประกอบด้ วย ข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง ภาพวิดิโอ มีการออกแบบกิจกรรม เช่น ใบงาน กระดาน Padlet มีแบบทดสอบก่อน
เรียน และแบบทดสอบหลังเรียน จาก Google forms ให้ทำเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน
ประกอบดว้ ยเนือ้ หาดงั นี้

หนว่ ยที่ 1 หน้าต่างโปรแกรม Microsoft Excel
หน่วยที่ 2 การใช้ฟังกช์ ัน ในโปรแกรม Microsoft Excel
หน่วยที่ 3 การหาคา่ บญั ชรี ายรับ – รายจา่ ย
หนว่ ยที่ 4 การสรา้ งแผนภมู ิ

35

2. คุณภาพบทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) จากผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านเทคนิค
จำนวน 3 ท่าน พบว่า บทเรียนออนไลน์มคี ุณภาพโดยรวมอยู่ในระดบั มากที่สุด เมื่อพิจารณา พบว่ามีคุณภาพ
ดังนี้ 1) การใช้รูปแบบและขนาดของตัวอักษร คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67
2) การใช้พื้นหลังมีความเหมาะสม คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.67 3) การใช้สีของ
ตัวอักษรมีความเหมาะสม คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 4) การจัดวางองค์ประกอบ
ในหน้าจอการแสดงผล คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 5) การออกแบบกราฟฟิก
ในหน้าจอ สวยงามเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.33
6) ใช้ภาพประกอบสอดคล้องกับเนื้อหามองเห็นได้ชัดเจน คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
4.33 7) ภาพที่ใช้ในวิดีทัศน์ มีความคมชัด คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.33
8) คณุ ภาพของเสยี งในวดิ ีทัศน์ คุณภาพอยใู่ นระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยอยทู่ ่ี 4.00 9) ออกแบบป่มุ การเชื่อมโยง
ได้อย่างเหมาะสม ใช้งานง่าย คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.671 0) การเชื่อมโยงของ
เนื้อหาในแต่ละหน้าถูกต้องเหมาะสม คุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.67
11) การแบ่งโครงสร้างเนื้อหาในแต่ละหน้ามีความเหมาะสม คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
อยู่ที่ 4.33 12) บทเรียนมีความน่าสนใจสามารถดึงดูดผู้เรียนในการเรียนรู้ คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด
โดยมีคา่ เฉลย่ี อยู่ที่ 4.33 13) การออกแบบกจิ กรรมทใี่ ช้ในการเรียนสามารถบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ต้งั ไว้ คุณภาพ
อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 14) ความเหมาะสมของแบบทดสอบ / แบบฝึกหัด
ในแต่ละหน่วย การเรียนรู้ คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.33 15) ส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น
หน้าวัตถุประสงค์ หน้าผู้จัดทำ มีความสมบูรณ์ คุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67
16) บทเรียนมีความน่าสนใจ เหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน/เผยแพร่เพื่อการเรียนรู้ได้
คุณภาพอยู่ในระดบั มาก โดยมีค่าเฉล่ียอยทู่ ่ี 4.00

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ที่ได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน) เรื่อง โปรแกรมตาราง
การทำงาน (Microsoft Excel) พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนมีคะแนน 11.08 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า
เท่ากับ 3.31 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมีคะแนน 19.77 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.56
และเมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยการทดสอบค่าที (t-test) แบบ independence พบว่าค่า t
เท่ากับ 18.82 คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05

36

การนำไปใชป้ ระโยชน์
1. ได้บทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน (Microsoft Excel) ของนักเรียนระดับชั้น

ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑเ์ พือ่ ใช้เป็นสอื่ ประกอบการจัดการเรียนรู้รายวชิ าคอมพวิ เตอร์
2. ทำใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรายวชิ าคอมพวิ เตอร์เพิ่มเติมทด่ี ีขึ้น
3. นกั เรียนสามารถนำความรู้ท่ีได้จากการศึกษาในบทเรียนออนไลน์ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้

เชน่ การบวก ลบ คูณ หาร , การทำบญั ชรี ายรับ – รายจ่ายของนกั เรยี น

37

บรรณานุกรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. (2564). คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู: การปฏิบัติการสอน
ใน สถานศกึ ษา 1 (Teaching Internship 1 ) : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภเู ก็ต.

โรงเรียนเทศบาล 6 (อนุบาลในฝัน). (2563). รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
(Self Assessment Report 2020) ปีการศกึ ษา 2563.

นุชนา หมาดเต๊ะ. (2564). วิจัย การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง โปรแกรมตารางการทำงาน
(Microsoft Excel) ของนักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5.

38

ภาคผนวก

• ภาคผนวก ก. ภาพถ่ายอาคารสถานท่ภี ายในโรงเรยี น
• ภาคผนวก ข. ภาพถา่ ยกจิ กรรมภายในโรงเรยี น
• ภาคผนวก ค. เอกสารอน่ื ๆ ที่เห็นว่าเหมาะสม ฯลฯ

39

• ภาคผนวก ก. ภาพถ่ายอาคารสถานท่ภี ายในโรงเรยี น

40

41

• ภาคผนวก ข. ภาพถ่ายกจิ กรรมภายในโรงเรยี น

42

วันท่ี 15 พฤษจกิ ายน 2564 ได้รบั มอบหมายให้แจกหนังสอื เรยี น
วนั ที่ 20 พฤษจกิ ายน 2564 ไดร้ บั มอบหมายให้แจกเอกสารสำหรับตวิ สอบ ใหก้ บั นกั เรยี น

และ นักเรยี นชั้น ป.6 ถา่ ยรูปตดิ ใบจบ

วันที่ 13 – 17 ธันวาคม 2564 ได้รับมอบหมายให้แจกนมใหก้ บั นกั เรียน

43

24 ธันวาคม 2564 ได้รับมอบหมายใหเตรยี มงานกจิ กรรมวนั คริสตม์ าส
25 ธันวาคม 2564 ได้รบั มอบหมายใหช้ ่วยงานกิจกรรมแจกของขวัญวนั คริสต์มาส

วันท่ี 01 กุมภาพนั ธ์ 2565 ได้รบั มอบหมายให้ชว่ ยกจิ กรรมวันตรุษจีน

44

วนั ท่ี 02 กุมภาพนั ธ์ 2565 เขา้ ร่วมกิจกรรมวนั ตรุษจีน ในรูปแบบออนไลน์
เข้ารว่ มกิจกรรมวันลอยกระทง ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ในรปู แบบออนไลน์
เขา้ ร่วมกิจกรรมวนั ลอยกระทง ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ในรปู แบบออนไลน์

45

ไดร้ ับมอบหมายใหแ้ จกเอกสาร และการบา้ นของเด็กนักเรยี น

เข้าสอน วชิ าชุมนุมการสร้างเกม ในรูปแบบออนไลน์
ได้รับมอบหมายใหไ้ ปดูแลนักเรยี นทมี่ าซ้อมกจิ กรรม รับประทานข้าว


Click to View FlipBook Version