The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปลูกผักสลัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rakkaitiyodkul, 2022-07-29 07:09:03

คู่มือปลูกผักสลัด

คู่มือปลูกผักสลัด

คู่มือการปลูกผักสลัด
แบบออร์แกนิค

ฐานการเรียนรู้ที่ 6

ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค
โ ร ง เ รี ย น วั ด สั น ติ ก า ร า ม วิ ท ย า
ใ น พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ เ ค ร า ะ ห์

คู่มือการปลกผักสลัด
แบบออร์แกนิค

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 การปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

ส.ว.

คำนำ

เอกสารประกอบการบรรยายฉบับนี้เป็นการรวบรวม
ข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องและมีความสำคัญในการปลูก
ผักสลัดแบบออร์แกนิค ได้แก่ การเตรียมสถานที่
ในการปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ส่วนผสม
การเตรียมดิน การเตรียมดินลงแปลงเพาะกล้า
ชนิดของผักสลัด การเพาะต้นกล้าลงแปลง การปลูก
การเก็บเกี่ยวผลผลิต การเกิดโรคและการป้องกัน
การกระจายผลผลิต เพื่อให้บุคคลที่มีความสนใจ
และต้องการศึกษาสามารถนำเอาความรู้
ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในฟาร์มของตนเอง ซึ่งจะทำให้
การปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิคมีศักยภาพ
และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ส า ร บั ญ

01 08
ช นิ ด ข อ ง ผั ก ส ลั ด
ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เ ห ตุ ผ ล

02 11

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ พ า ะ ต้ น ก ล้ า ล ง แ ป ล ง / ก า ร ป ลู ก

03 13

ก า ร เ ต รี ย ม ส ถ า น ที่ ใ น ก า ร ป ลู ก ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต

06 14

ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ที่ เ ห ม า ะ ส ม ก า ร เ กิ ด โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้ อ ง กั น

07 16
ก า ร ก ร ะ จ า ย ผ ล ผ ลิ ต
ส่ ว น ผ ส ม ก า ร เ ต รี ย ม ดิ น

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

หลั กการและเหตุ ผล

ปัจจุบันผู้คนหันมาดูแลสุขภาพ จึงหันมารับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อ

สุขภาพ ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือผักสลัด เนื่องจากมีคุณค่าทางอาการทั้งวิตามินและแร่
ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักสลัดนั้น มักจะ ห น้ า 0 1
เลือกบริโภคผักสลัดที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำ ลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช
จึงทำ ให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำ จัดแมลงฉีดพ่นใน
ปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำ
มาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อ
เป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจึงควรหันมา ทำ การปลูกผักปลอกภัยจากสาร
พิษ โดยนำ เอาวิธีการป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน
เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของ
เกษตรกร ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
ซึ่งข้อดีของการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ

1. ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้
บริโภค

2. ช่วยให้ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี
ป้องกันและกำ จัดศัตรูพืช ทำ ให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย

3. ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกัน
และกำจัดศัตรูพืช

4. ลดปริมาณการนำ เข้าสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
5. เกษตรกรจะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพ ทำให้
สามารถขายผลผลิตได้ในราคาสูงขึ้น
6. ลดปริมาณสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชที่จะปนเปื้อนเข้าไปในอากาศ
และนํ้า ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อม
ได้ทางหนึ่ง

โดยการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของโรงเรียนวัดสันติการาม
วิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์ มุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีด
ความสามารถของของนักเรียน ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้เป็นบุคคล
ที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองผู้อื่น
และสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน ศักยภาพด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ
และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดำเนินชีวิต การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนำมาสู่การ
กำหนด หลักสูตรอาชีพที่สถานศึกษาจะจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง
นโยบายดังกล่าว จึงต้องเน้นการปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเพิ่งพาตนเองได้
อย่างแท้จริง บนพื้นฐานในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จึงได้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานการปลูกผัก
สลัด เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง และได้นำความรู้ที่ไ้ด้รับ
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงให้เกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค
โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

วั ตถุ ประสงค์

01 เพื่ อส่ งเสริ มผลักดันการปลูกผักสลัดโดยไม่ใช้ สารเคมี
สร้างมู ลค่ าเพิ่ มให้กับผลิตภัณฑ์ สร้างความเข้ มแข็ ง
และเปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงองค์ความรู้สำคั ญ
ในปลู กผั กสลัด

02 เพื่ อให้ นั กเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในอาชีพที่ สุ จริ ต
03 เพื่ อให้ นั กเรียนนำองค์ความรู้ไปเป็นแนวทางในการ

ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
04 เพื่ อส่ งเสริ มให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดยการลงมื อ

ปฏิ บั ติ จริ ง

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 0 2

การเตรี ยมสถานที่ ในการปลู ก

การปลู กผั กในแปลงปลู ก โดยแปลงปลูกควรมีความกว้างประมาณ
1-1.20 เมตร และความยาว ตามความเหมาะ
ประกอบด้วยขั้นตอนการไถพรวนดิน เพื่อให้ดินมี สมของพื้นที่ โดยการวางแปลงในแนวทิศเหนือ -
โครงสร้างดีขึ้น และช่วยกำจัดวัชพืช ใต้เพื่อให้ได้รับแสงแดดทั่วทั้งแปลง ทำการ
โดยหลังจากการพรวนดินแล้วควรตากดิน ปรับปรุงดินให้มีเนื้อดินร่วนซุยสามารถระบายน้ำ
ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 สัปดาห์ เพื่อให้ความร้อนจาก และเก็บรักษาความชื้นที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชไว้
แสงแดดช่วยกำจัดไข่แมลงหรือโรคพืช ได้ดี และมีธาตุอาหารที่จำเป็นต้องการเจริญของ
ที่อยู่ในดิน จากนั้นจึงยกแปลงปลูกให้สูง ประมาณ พืช ซึ่งการปรับปรุงบำรุงดินนี้ถือเป็นหัวใจ ของ
4-5 นิ้ว จากผิวดิน การปลูกผักกินใบอายุสั้น โดยเฉพาะผักสลัดชนิด
ต่างๆ ให้เจริญเติบโตดีและให้ผลผลิตที่มี
คุณภาพดี ซึ่งนิยมบำรุงดินโดยการคลุกเคล้าด้วย
ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตราประมาณ 1-2 ตัน/ไร่
จากนั้นจึงย้ายปลูกต้นกล้าผักสลัดลงปลูก
ในแปลงตามระยะปลูกที่เหมาะสมกับของผักชนิด
นั้นๆ คลุม

ผิวดินด้วยฟางเพื่อรักษาความชื้น หลังจากนั้น
หมั่นดูแลให้น้ำ กำจัดวัชพืช และศัตรูพืช จน
กระทั่งผัก สลัดเจริญเติบโตพร้อมเก็บเกี่ยวไป
บริโภค หรือจำหน่าย

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 0 3

การเตรียมสถานที่ในการปลูก

การปลู กผั กในภาชนะ รวมทั้งสามารถระบายน้ำและอุ้มความชื้นได้ดีจึง
เป็นสิ่งจำเป็นและอาจถือได้ว่า ดินหรือวัสดุปลูกที่
ซึ่งชนิดของผักที่เหมาะสมกับการปลูก ดีถือเป็น ปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ประสบ
ในภาชนะควรเป็นผักที่มี ระบบรากค่อนข้างตื้น
ความสำเร็จในการปลูกพืชผักในภาชนะ เมื่อ
ภาชนะที่ใช้ปลูกอาจเป็นกระถาง หรือดัดแปลง
เตรียมวัสดุปลูกใน ใส่ภาชนะที่ใช้ปลูกแล้ว
จากสิ่งที่ใช้แล้ว เช่น ยาง รถยนต์เก่า กะละมัง
สามารถย้ายต้นกล้าผักที่เพาะเตรียมไว้หรือโรย
รวมถึงวงบ่อซีเมนต์ เป็นต้น การปลูกผักแบบนี้
เมล็ดลงปลูกในกระถาง โดยตรงก็ได้ นำไปวางใน
ระบบรากจะถูกจำกัดให้เจริญดูด น้ำและแร่ธาตุ
บริเวณที่ได้รับแสงแดดตลอดทั้งวัน หมั่นรดน้ำ
อาหารอยู่ในบริเวณที่จำกัด และดูแลรักษาเช่นเดียวกับ กับการปลูกผักใน
แปลง
ดังนั้นการปรุงดินหรือวัสดุปลูกให้มี

คุณลักษณะที่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของ

ราก มีธาตุอาหารที่เพียงพอและพอเหมาะกับการ

เจริญของผักที่ปลูก

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 0 4

การเตรี ยมสถานที่ ในการปลู ก

การปลูกผักบนโต๊ะ หรือการปลูกผัก
ในแปลงผักแบบยกพื้นสูง

การปลูกผักแบบนี้มีข้อดี หลายประการคือ ทำงานได้ ซึ่งมีข้อดีคือมีความแข็งแรง ราคาไม่แพง ทนทานไม่ผุ
สะดวก ควบคุมคุณภาพดิน ลดปัญหาการรบกวน พังได้ง่าย นอกจากนี้ยังน้ำส่วนเกินระบายออกตามลอน
ของวัชพืชและศัตรูพืช จำพวกหอยทาก ได้ดี ทำให้ ของกระเบื้องอีกด้วย ใช้มุ้งตาข่ายปูรองพื้น ก่อนใส่ดิน
ประหยัดเวลาและแรงงานในการดูแลรักษา และสามารถ หรือวัสดุปลูกที่ปรับปรุงดีแล้วลงบนโต๊ะปลูก โดยให้มี
ปลูกผักได้เป็น ปริมาณมากคล้ายกับการปลูกผักในแปลง ความหนาประมาณ 15 -20 เซนติเมตร
แต่มีต้นทุนในการสร้างโต๊ะปลูก ดังนั้นหากทำเป็นการค้า จากนั้นย้ายต้นกล้าผักที่มีใบจริง 1-2 คู่ ซึ่งเตรียมเพาะ
ควรเลือกปลูกผักที่มีราคาจำหน่ายสูง เพื่อให้สามารถคุ้ม ไว้ล่วงหน้า ประมาณ 1-2 สัปดาห์ ลงปลูก ดูแลให้น้ำ
ทุนได้ในเวลาอันสั้น สำหรับโต๊ะปลูกผักนั้น นิยมสร้างให้ และน้ำหมักชีวภาพจนกระทั่งผักโตพร้อมเก็บเกี่ยวได้
มีความกว้างประมาณ 1.20 เมตร ความยาวตามขนาด หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตหมดแล้ว ควรนำตากดิน
ของพื้นที่ สำหรับความสูงของโต๊ะ ของพื้นโต๊ะควรสร้างให้ หรือวัสดุปลูกเดิมไว้ประมาณ 7-10 วันเพื่อกำจัด
อยู่ในระดับที่เหมาะสม (ประมาณ 75-80 เซนติเมตร) เชื้อโรค (ภาพที่ 3) จากนั้นนำวัสดุปลูกเดิมออกครึ่งหนึ่ง
เพื่อให้สามารถทำงาน ได้สะดวก ใช้กระเบื้องมุงหลังคาปู แล้วจึงเติมวัสดุปลูกที่ปรับปรุงใหม่เติมลงไป
รองพื้นโต๊ะ ก็จะสามารถย้ายปลูกต้นกล้าผักรอบใหม่ได้ สำหรับวัสดุ
ปลูกเดิมที่รื้อออกนั้นสามารถนำไปกลับไปปรับปรุงใหม่
เพื่อให้มีความอุดมสมบูรณ์และมีสภาพเหมาะสม
ใช้หมุนเวียนปลูกผักรอบใหม่ โดยไม่ ต้องทิ้ง

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค ห น้ า 0 5
โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม

ผักสลัด เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินแทบทุกชนิด ไม่ว่า

จะเป็นดินเหนียว ดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย แต่สามารถปลูกผัก

สลัดได้ผลดีที่สุดในดินร่วน ซึ่งมีการระบายน้ำและระบายอากาศดี

ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของดินอยู่ระหว่าง 6.0-6.8 มีความชื้น

ในดินพอสมควร พื้นที่ควรให้ได้รับแสงเต็มที่ตลอดวัน เพราะผักสลัด

ต้องการแสงเต็มที่ตลอดวัน ผักสลัดเป็นพืชฤดูเดียวเจริญเติบโตได้ดี

ในสภาพอากาศเย็นระดับอุณหภูมิที่เหมาะสมนั้น จะอยู่ระหว่าง 21-

26 องศาเซลเซียส แต่ หากปลูกผักสลัดในสภาพอุณหภูมิที่สูงเกินไป

จะทําให้ผักสลัดมีรสขมและแทงช่อดอกเร็ว แต่อย่างไรก็ตามสามารถ

ปลูกได้ตลอดทั้งปีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 0 6

ส่ วนผสมการเตรี ยมดิ น

สำหรับการผสมและหมักดินเพื่อใช้เป็นวัสดุปลูก อาจเตรียมได้จากวัสดุดังนี้ดินร่วน
1 ส่วน แกลบดิบ (เก่า) 1 ส่วน แกลบดิบ (ใหม่) 1 ส่วน ถ่านแกลบ (ขี้เถ้าแกลบ) 1 ส่วน
มูลสัตว์แห้ง 1 ส่วน ผสมให้เข้ากัน รดด้วยน้ำหมักชีวภาพ เช่น น้ำหมักจุลินทรีย์จากรกหมู
จุลินทรีย์หน่อกล้วย จุลินทรีย์จาวปลวก หรือน้ำหมักสูตรอื่นๆ หมักไว้จนกระทั่งไม่มีความ
ร้อนในกองวัสดุหมัก วัสดุหมักที่ ได้จะมีสีคล้า มีลักษณะนุ่ม มีความร่วนซุย และไม่มีกลิ่น
เหม็นของมูลสัตว์หรือกลิ่นแอมโมเนีย จึงนำไปใช้ปลูกพืชผักต่อไป

จากตัวอย่างการปลูกผักที่นำเสนอมาทั้ง 3 แบบ ข้างต้น จะเห็นได้ว่า “ดินดี”
(Fertile soil) ถือว่าเป็นหัวใจและรากฐานของการทำเกษตรอินทรีย์ ดินดีคือ ดินที่มีธาตุ
อาหารพืชและมีสภาพทาง กายภาพและชีวภาพเหมาะสมต่อการเพาะปลูก เจริญเติบโต
และการให้ผลผลิตของพืชซึ่งเรา สามารถสังเกตลักษณะของดินดี มักเป็นดินที่มีสีด าหรือ
น้ำตาลเข้ม มีความร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง มี ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประมาณ 6.5
หรือเป็นกรดอ่อน (สวนผักคนเมือง, 2562) มีอินทรียวัตถุ ซึ่งเป็นอาหารสำหรับสัตว์หน้า
ดินพวกไส้เดือนดิน และจุลินทรีย์ดินที่เป็นประโยชน์ ดังนั้นการปรุงดิน หรือวัสดุปลูกให้มีส
ถาพที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกจึงมีความสำคัญมาก ซึ่งผู้ปลูก ผักควร
ให้ความใส่ใจเมื่อดินปลูกดี ทำให้พืชผักแข็งแรง เจริญเติบโตได้รวดเร็ว ส่งผลให้ได้รับ
ผลผลิต มากและมีคุณภาพดี

การเตรี ยมดิ นลงแปลงเพาะกล้ า

ขุดหรือไถพลิกดินให้ลึกประมาณ 10-15 เซนติเมตร แล้วตากดินไว้ประมาณ 5-7 วัน
ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักผสมลงในดิน พรวนย่อยหน้าดินให้ละเอียด จากนั้นยกแปลงสูงเพื่อ
การระบายน้ำได้ดี (หากในฤดูร้อนสามารถคลุมฟางเพื่อคลุมความชื้นในแปลง )

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 0 7

ผั กสลั ด


ปัจจุบันมีความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากความนิยมบริโภค ห น้ า 0 8
สลัดผักเพิ่มขึ้นมาก คนรักสุขภาพ ผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก
และคนรักการรับประทานผักเป็นชีวิตจิตใจ หลายท่านนิยมทาน
เป็นอาหารเช้าหรืออาหารเย็น ผักสลัดนั้นนิยมทำเป็นเมนูสลัด
ราดน้ำสลัด หรือจะรับประทานคู่กับอาหาร สเต็ก หมูย่าง หรือ
เนื้อย่าง ก็สามารถอร่อยได้ทันที

ชนิ ดของผั กสลั ด

1.ผั กกาดคอส (Cos Lettuce)

นิยมรับประทานกัน ด้วยความที่ผักกาดชนิดนี้มีรสชาติ
ขมเล็กน้อย แต่มีความกรอบและเบา นอกจากนี้ผัก
กาดคอสยังอุดมไปด้วยวิตามินซี มีไฟเบอร์สูง
โพรแทสเซียม และกรดโฟเลตก็สูงไม่แพ้กันด้วย

2.ผั กกาดหอมบั ตเตอร์ เฮด
(Butter head Lettuce)

นิยมกินเป็นสลัดด้วยเช่นกัน เพราะมีรสชาติหวาน
กรอบ อร่อยอีกทั้งผักกาดหอมบัตเตอร์เฮดยังอุดม
ไปด้วยวิตามินเอโพรแทสเซียม กรดโฟเลต

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค
โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

3.ผั กกาดคอรั ล

(Red Leaf Lettuce)
ห น้ า 0 9
จะมีรสชาติไม่แตกต่างจากผักกาดหอมชนิดอื่นเท่าไร นอกจาก
อาจจะมีรสชาติที่หวาน และกรอบกว่า รวมทั้งสีแดง ๆ ของผัก
กาดชนิดนี้ อาจจะช่วยกระตุ้นน้ำย่อยของมนุษย์ได้ดีกว่าผักกาด
หอมสีเขียวธรรมดา ซึ่งผักกาดหอมสีแดงเองก็อุดมไปด้วยสาร
ต้านอนุมูลอิสระ วิตามินเอ และกรดโฟเลตอีกด้วย

4.เรดโอ๊ ค
(Red Oak Lettuce)

มีวิตามินและสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง เช่น วิตามินเอ
วิตามินซี โฟเลต และธาตุเหล็ก สีของเรดโอ๊คจะมีสี
แดงเข้มเบอร์กันดีบริเวณขอบใบหยัก ๆ มีสีเขียวแซม
บ้าง เรดโอ๊คเป็นผักที่มีกากใยสูงเหมาะสำหรับผู้ที่ขับ
ถ่ายยากหรือมีปัญหาเรื่องการขับหากรับประทานเรด
โอ๊คจะช่วยได้เป็นอย่างดี

5.กรี นโอ๊ ค (Green Oak Lettuce)

ความโดดเด่นและรสชาติใกล้เคียงกับเรดโอ้ค
มีรสชาติหวาน กรอบ มีลักษณะเป็นพุ่ม ผักสลัดประเภทนี้
เข้ากับน้ำสลัดและอาหารจานอื่น ๆ ได้อย่างดีเยี่ยม

กรีนโอ๊ค มีกากใยช่วยให้ย่อยอาหารได้เป็นอย่างดี
มีวิตามินบี วิตามินซี และไฟเบอร์สูงช่วยเรื่องท้องผูก
บำรุงสายตากล้ามเนื้อ และเส้นผมได้เป็นอย่างดีมีแคลอรี่
ที่ต่ำมากๆแถมยังรับประทานง่าย ล้างให้สะอาดเด็ดใบ
จัดลงจานพร้อมกับราดน้ำสลัด หรือรับประทานสด ๆ
ได้ตามชอบ

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค
โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

6.กรี นโครอล

(Green Coral Lettuce)
ห น้ า 1 0
กรีนคอรัล” หรือที่คนไทยเรียกว่า “ผักกาดหอม” ที่มีใบหยัก
สวย ช่วงข้อถี่ ๆ ไม่สูงมากเท่าไหร่เป็นผักที่ชอบอากาศเย็น ๆ
มีคุณค่าทางอาหารสูง อุดมไปด้วยวิตามิน ก่อนรับประทานจะ
ต้องล้างผักให้สะอาด ตัดราก ก่อนรับประทานสด หรือใช้
ตกแต่งอาหารให้สวยงาม เพราะใบม้วนงอช่วยให้เมนูอาหาร
มีสีสันดูงดงามน่ารับประทาน บางครั้งก็ใช้ทำแซนวิชร่วมกับแฮม
ชีส หรือเบคอนตามความชอบ

7.เรดคอรั ล
(Red Coral Lettuce)

เป็นผักในกลุ่มผักสลัด มีลักษณะเป็นพุ่ม ใบมีสีแดงอมม่วง
ปลายใบหยักฟู มีลักษณะคล้ายกับปะการัง
จึงได้ชื่อว่า Coral ที่หมายถึงปะการัง รสชาติหวาน
และกรอบกว่าเรดโอ๊ค เป็นผักที่นิยมบริโภคสด โดยเฉพาะ
ในสลัด หรือกินกับยำ นำมาตกแต่งในจานอาหาร ผักกาด
หอมเรดโครอลมีน้ำเป็นองค์ประกอบหลัก และมีวิตามินบี
วิตามินซีสูง อีกทั้งยังมีไฟเบอร์ ที่ช่วยบรรเทาอาการท้องผูก

8.ฟิลเลย์ ไอซ์ เบิ ร์ ก
(Frillice Ice Berg Lettuce)

ฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก มีใบสีเขียวอ่อนและสีเขียวเข้ม มีลักษณะ
อวบ กรอบ แปลกตา ลักษณะเป็นพุ่ม ฝอยหยิก ๆ เข้าหากัน
โคนลำต้นตรงมีความชุ่มน้ำเป็นผักตระกูลสลัดที่สามารถ
ปลูกในดิน หรือปลูกแบบไฮโดรโปรนิกส์ก็ได้อายุประมาณ
40-50 วันก็สามารถเก็บเกี่ยวได้

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค
โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

ก า ร เ พ า ะ ก ล้ า ล ง แ ป ล ง

สามารถเพาะกล้าได้ 2 แบบ

คือหยอดเมล็ดลงถาดหลุมแล้วค่อยย้ายลงแปลง และหว่านเมล็ด
ลงตะกร้าแล้วค่อยแยกต้นกล้าลงถาดก่อนย้ายปลูกลงแปลง

การเตรียมดินเพาะต้นกล้า
-ขุยมะพร้าว 1 ส่วน
-แกลบดำ 1 ส่วน (ไม่แนะนำให้ใช้แกลบใหม่เนื่องจากค่า pH สูง
ทำให้ต้นกล้าเหลือง)
-มูลไส้เดือน 1 ส่วน

วิธีการเพาะต้นกล้า

1.นำดินเพาะใส่ถาดหลุมให้เต็มไม่ต้องอัดแน่น รดน้ำให้ชุ่ม
2.เจาะหลุมไม่ต้องลึกมาก แล้วหยอดเมล็ดลงหลุม 1-2 เมล็ด
จากนั้นกลบเบาๆไม่กดแน่น
3.รดน้ำให้ชุ่ม แล้ววางถาดไว้ที่ร่มรำไร (ไม่ควรวางกลางแจ้ง
โดยตรงเพื่อป้องกันต้นกล้าเฉา และโดนฝน)
4.จากนั้นรดน้ำ เช้า-เย็น (หรือบางวันอากาศร้อนอาจจะ 3 ครั้ง
สังเกตหน้าดิน)
อายุกล้า 15-20 วันย้ายลงแปลงปลูก

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 1

การปลูก

วิ ธี ปลู ก ข้ อควรระวั ง

1.นำดินเพาะลงกระถางขนาดเล็กเพื่อทำการเพาะ ในการปลูกผักหลังย้ายกล้า ผักสลัด หรือผักกาดหอม
กล้า โรยเมล็ด และรดน้ำด้วยฟ๊อกกี้ และน้ำกระดาษ ในฤดูฝนให้ระวังหนอนกระทู้ดำ และจิ้งหรีด
ที่มีความทึบปิดหน้ากระถางไว้ 1 คืน เพื่อเป็นการปิด
แสงในช่วงแรกก่อน กการใาห้นร้ำ ใ ห้ น้ำ
2.วันที่ 2-5 ช่วงเช้าให้แสงเต็มที่ แต่ช่วงบ่ายให้นำไว้
ใต้ชายคาแทน ผักสลัด ควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ และเพียงพอต่อการ
3.วันที่ 7 จะเริ่มมีสีเขียวเข้มขึ้นยังให้แสงอยู่ เจริญเติบโต การให้น้ำไม่ควรมากเกินไป อาจทำให้
4.เริ่มลงถาดหลุมที่ละต้น โดยวิธีการจับ ให้จับใบคู่ เกิดโรคโคนเน่า
ด้านบนแล้วทำการดึงขึ้นอย่างเบามือ
5.ทำการรับแสงช่วงเช้าปกติ สถานที่เพาะควรมีอะไร กการใาส่ปรุ๋ยใ ส่ ปุ๋ ย
มุงเพื่อให้ได้รับแสงเพียง 50 %
6.พออายุครบ 15 วัน สามารถนำลงกระถางเพาะ หลังปลูก 7 วัน ใส่ วัคซีนพืช big 40 cc / น้ำ 20
ได้เลย ลิตร/ 1 ไร่ พร้อมกำจัดวัชพืช
7.เมื่อนำลงกระถาง สามารถนำฟางคลุมด้านบน หลังปลูก 20 – 25 วัน วัคซีนพืชbig 40 cc / น้ำ 20
เพื่อควบคุมความชื่นได้ดี ลิตร/ 1 ไร่ พร้อมกำจัดวัชพืช หลังปลูก 20-25 วัน
วัคซีนพืชbig 40 cc / น้ำ 20 ลิตร/ 1 ไร่ พร้อมกำจัด
วัชพืช ขุดร่องลึก 2 – 3 ซม.

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 2

ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต

การเก็บควรเลือกเก็บขณะที่ใบยังอ่อน กรอบ ไม่เหนียว กระด้าง
ไม่ควรเก็บขณะต้นแก่เพราะจะมีรสขม วิธีการตัดโดยใช้มีดตัดตรง
โคนต้น แล้วตัดแต่งใบเสียทิ้งไป จุ่มน้ำเพื่อให้ยางสีขาวออก และ
สลัดนํ้าออกให้หมด เพราะถ้ามีนํ้าขังอยู่จะเน่าเสียได้ง่าย

อายุ การเก็ บเกี่ ยวผั กสลั ดแต่ ละชนิ ด

1.คอส อายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน

2.บัตเตอร์เฮด อายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน

3.กรีนโอ๊ค อายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน

4.เรดโอ๊ค อายุการเก็บเกี่ยว 45- 50 วัน

5.เรดโครอล อายุการเก็บเกี่ยว 45-50 วัน

6.กรีนโครอล อายุการเก็บเกี่ยว 45- 50 วัน

7.ผักกาดหอม อายุการเก็บเกี่ยว 45 วัน

8. ฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก อายุการเก็บเกี่ยว 35-45 วัน

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 3

การเกิดโรคและการป้องกัน

1.โรคใบจุ ด

เป็นโรคที่มักเกิดขึ้นกับผักประเภทกินใบ อย่างกระหล่ำ ผักกาดต่างๆ
บร็อคโคลีเป็นต้น ใบของผักจะมีจุดสีเหลือง หรือสีน้ำตาลเป็นจุดเล็กๆ
และเริ่มขยายขนาดกว้างขึ้น ส่งผลให้พืชผลเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่
และลามารถแพร่เชื้อระบาดไปยังแปลงผักอื่นๆได้

วิ ธี แก้ ไข

จัดการระบบการปลูกและโรงเรือนให้สะอาด ปราศจากเชื้อ

2.โรครากเน่ า

ดจากเชื้อรา ผักสลัดที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้คือผักกรีนโอ๊ค เบบี้คอส
ผักกาดหอม มะเขือเทศ เป็นต้น มักเกิดขึ้นมากในช่วงฤดูฝน หรือในกรณี
บนดิน แล้วมีระบบจัดการระบายน้ำได้ไม่ดี มีน้ำท่วมขัง ส่งผลให้เกิดเชื่้อรา
โดยการแพร่ระขาดของโรคนี้เย็นไปได้ง่าย

วิ ธี แก้ ไข

การจัดระบบระบายน้ำให้ดี ควรแบ่งทางเดินระบายน้ำให้ถี่ขึ้นเพื่อป้องกัน
การระบาดของโรค

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 4

การเกิดโรคและการป้องกัน

3.ฝั กสลั ดใบไหม้
โรคนี้มักเกิดขึ้นกับผักกาดแก้ว ผักกรีนโอ๊ค ผักกาดหอม เป็นต้น
สาเหตุที่เกิดโรคใบไหม้ในผักสลัด นั่นมีอยู่หลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่มัก
ทำให้เกิดได้บ่อยที่สุดก็คือเชื้อโรค และอากาคที่ร้อนจัด โดยเฉพาะ
ในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม ที่ถือว่าเป็นหน้าร้อน
ของประเทศไทย ผู้เพาะปลูกผักสลัดก็มักจะเจอกับปัญหานี้

วิ ธี แก้ ไข
เปลี่ยนหลังคาโรงเรือนจากแบบบมาใช้แลลนแทน เพื่อให้อากาศ
ถ่ายเทได้ดี และค่อยประพรมไอน้ำ เพื่อลดอุณภูมิความร้อน เป็นระยะ

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 5

การจัดการผลผลิต

01 02

มีการกระจายผลผลิตจากผักสลัด นำไปจัดจำหน่ายเป็นธุรกิจในครัวเรือน
ให้ชุมชนได้บริโภคผักสลัดที่มีคุณภาพ
ปลอดภัยปราศจากสารพิษ และราคา 03
ย่อมเยา
นำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์
ห น้ า 1 6

บรรณานุ กรม

ช้อนกลาง. (2563). ผักสลัด 9 ชนิดที่คนรักผักนิยมมีอะไรบ้าง. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565,
จาก https://www.chonklang.com/th/

สวนผักคนเมือง. (2562). ควรรู้ก่อนปลูกผัก TECHNIQUES INURBAN AGRICULTUREบทที่ 4: ดิน หัวใจ
และรากฐานของการทำเกษตรอินทรีย์. สืบค้นเมื่อ 115 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www.thaicityfarm.com/

Admin. (2562). รวมสายพันธุ์ ผักสลัด (LETTUCE)ที่นิยมปลูกในเมืองไทย. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565,
จาก https://www.aee-growlight.com/category/บทความปลูกผักไฮโดรโปนิ/

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์

คู่มือการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

เนื้อหาประกอบด้วย

การเตรียมสถานที่ในการปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ส่วนผสมการเตรียมดิน การเตรียมดินลงแปลงเพาะกล้า ชนิดของ
ผักสลัด การเพาะต้นกล้าลงแปลง การปลูก การเก็บเกี่ยวผลผลิต
การเกิดโรคและการป้องกัน การกระจายผลผลิต เพื่อให้บุคคล
ที่มีความสนใจและต้องการศึกษาสามารถนำเอาความรู้
ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในฟาร์มของตนเอง ซึ่งจะทำให้
การเลี้ยงปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค มีผลผลิตที่น่าพึงพอใจ
ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ได้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ

ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ฐานการปลูกผักสลัดแบบออร์แกนิค

โรงเรียนวัดสันติการามวิทยา ในพระบรมราชานุเคราะห์


Click to View FlipBook Version