The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิเชษฐ์ หาดี, 2020-04-02 03:05:47

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

9ศ คา่ ใช้จ่าย และงบประมาณ จานวนเงิน รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย งบประมาณ อุดหนนุ

รายการ 2,600.-
1. แบตเตอรีกล้องดิจติ อล EOS 200D

(CANON BATTERY (LP-E17)

2. ไมโครโฟนสาย 4 เมตร 800.-
3. ชุดไมโครโฟนไรส้ าย 2,200.-
4. วสั ดอุ ปุ กรณ์สานักงาน
-

5. ปา้ ยไฟวง่ิ LED ตวั อักษรสีแดง 8,600-
(ภายนอกอาคาร) P10-Red Outdoor 14,200ศ-
ขนาด 25×105 ซม
รวมเป็นเงินท้งั ส้ิน

10. การประเมินและติดตามผล
11.1 แบบสอบถามความพงึ พอใจ
11.2 วิธีการสัมภาษณ์

11. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
12.1 ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และนักศึกษาได้รบั ขา่ วสารทัว่ กนั
12.2 มวี สั ดุอปุ กรณแ์ จ้งข่าว สาระบันเทงิ งานประชาสมั พันธ์ ในงานเสียงตามสาย

64

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ชือ่ โครงการ พฒั นางานบุคลากร
2. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : ฝ่ายบริหารทรัพยากร
2.2 รอง : งานบุคลากร วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร
3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใต้/ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

เร่ือง พฒั นาปรมิ าณและคณุ ภาพของครูคณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางดา้ นอาชีวศกึ ษา
 มาตรฐานการอาชวี ศึกษา/ประกันคณุ ภาพภายใน

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศึกษา
2.3 ดานการบรหิ ารจัดการ
 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- องคป์ ระกอบท่ี 1 ตวั บ่งชท้ี ่ี 1
 สถานศึกษาคณุ ธรรม จริยธรรม
องคป์ ระกอบที่ 2 ด้านผลผลติ
4. หลกั การและเหตุผล
บคุ ลากรของวิทยาลยั ฯ ประกอบดว้ ยคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ซงึ่ เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาการ
จัดการเรยี นการสอน การดาเนนิ งานเอกสารเกยี่ วกบั บคุ ลากร ได้แก่ การลงเวลาปฏิบัตงิ าน การลาการประเมินผลการ
ปฏิบตั งิ าน การรบั สมคั ร การทาสัญญาจ้างลกู จา้ ง การสง่ ข้อมลู ต่าง ท่เี กี่ยวข้องซง่ึ จาเปน็ ต้องใช้วัสดุเพื่อจัดทาเอกสาร
สรุปงานตา่ งๆ ท้งั สิน้
5.วัตถุประสงคข์ องโครงการ
5.1 เพ่ือดาเนินงานเอกสารท่ีเก่ียวข้องกบั บุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 เพื่อพัมนาระบบงานบุคลากร และคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
6. เป้าหมายโครงการ
6.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
6.1.1 บุคลากรภายในวทิ ยาลัยฯ นกั เรียน นกั ศกึ ษา ร้อยละ 90 ติดต่อประสานงานทเ่ี กีย่ วข้อง

ดา้ นบคุ ลากร
6.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ

6.2.1 บคุ ลากรภายในวทิ ยาลยั ฯ นกั เรียน นกั ศกึ ษา ร้อยละ 90 มคี วามพงึ พอใจในการบรหิ าร
จัดการและการใหบ้ ริการงานบุคลากร

65

7. สถานทด่ี าเนินการ

งานบุคลากร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร

8. ระยะเวลาดาเนนิ การ

1 ปี เรม่ิ จาก 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2563

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย
ก.ย เหตุ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค
หมายเหตุ
เสนอโครงการ/อนมุ ตั ิ

ดาเนินการตามโครงการ

ตดิ ตามประเมินผล

สรปุ และรายงานผล

9ศ คา่ ใช้จ่าย และงบประมาณ

หมวดรายจ่าย จานวนเงนิ
รายการ งบประมาณ อุดหนนุ
รายได้

1. ค่าวสั ดสุ านกั งาน 10,000.-

รวมเปน็ เงินทัง้ สน้ิ 10,000ศ-

11. การประเมนิ และตดิ ตามผล
11.1 เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ
- บคุ ลากรภายในวทิ ยาลัยฯ นักเรยี น นักศึกษา ร้อยละ 90 มีความพึงพอใจในการบริหาร
จัดการและการให้บริการงานบุคลากร รอ้ ยละ 90 สอบถามความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม
11.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
- บคุ ลากรภายในวทิ ยาลยั ฯ นกั เรียน นกั ศึกษา ร้อยละ 90 ติดต่อประสานงานทเ่ี กยี่ วข้อง
ด้านบุคลากร รอ้ ยละ 90 สารวจการเข้ารบั การสัมมนาและศึกษาดูงาน

12.ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ
12.1 งานบุคลากร ไดด้ าเนนิ การท่ีเก่ยี วข้องกับบคุ ลากรภายในวิทยาลยั ฯ
12.2 งานบุคลากรไดร้ ับการพัฒนาการทางานอย่างมปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น
12.3 มีการจดั เก็บเอกสารข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ

66

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ช่ือโครงการ พัฒนาศักยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาศกึ ษา
2. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลกั : ฝา่ ยบริหารทรัพยากร
2.2 รอง : งานบคุ ลากร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
3. ความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/ภายใต้/ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

เร่ือง ครผู ้สู อน การจดั การเรียนการสอนอาชวี ศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา/ประกนั คุณภาพภายใน

มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชีวศึกษา
2.3 ดานการบรหิ ารจดั การ
 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- องค์ประกอบที่ 1 ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1
 สถานศกึ ษาคุณธรรม จริยธรรม
องค์ประกอบท่ี 2 ดา้ นผลผลิต
4. หลักการและเหตุผล
ครูและบุคลากรทางการศึกษาถือเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาการศึกษา เป็นผู้ท่ีให้การส่งเสริมสนับสนุน
และจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของสถานศึกษาครู และบุคลากร
ทางการศึกษาจาเป็นต้องหม่ันฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีการแสวงหาความรู้ และเทคนิควิธีการใหม่ๆ อีกทั้ง
ต้องเพิ่มพูนประสบการณ์ในการเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพื่อให้รู้เท่าทันกับกระแส
โลกาภิวัฒน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับสถานศึกษาต้องมีการเตรียมความพร้อมครู และบุคลากร
ทาง กา รศึ กษา ให้ มีคุ ณภ าพสู่ สภ าพ สู่มา ตร ฐ า นส ากล เ ท่า ทันต่ อก าร เป ล่ียน แป ลง ของ สัง คม โ ล ก
โครงการน้ีจึงเป็นการเสริมสร้างครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับการพัฒนาในวิชาชีพอีกทั้งเป็นการ
สร้างขวัญและกาลังใจ ความสามัคคี ความเป้นเอกภาพขององค์กรและสามารถนาความรู้และความสามารถ นา
ประสบการณ์ท่ีไดม้ าใชใ้ หเ้ กิดประโยชนตื อ่ วิชาชพี องค์กร และงานราชการสืบตอ่ ไป
5.วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
5.1 เพือ่ สรา้ งขวญั กาลงั ใจ ความสามคั คแี ละความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันของบุคลากร
5.2 เพอ่ื เป็นการสง่ เสรมิ และพฒั นาบุคลากร สามารถนาความรทู้ ่ีได้รบั จากการสัมมนาและศึกษาดูงาน
มาพัฒนาเพอื่ ใหเ้ กิดความก้าวหนา้ ในวิชาชีพ และงานที่รบั ผดิ ชอบ
5.3 เพอื่ ให้ครูนาความรู้ทีไ่ ด้จากสมั มนาและศึกษาดูงาน มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนและ
พฒั นานกั เรยี น นักศกึ ษา

67

6. เปา้ หมายโครงการ

6.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ

6.1.1 ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มขี วัญและกาลงั ใจในการปฏบิ ัติหน้าท่ี

และมีความสามัคคี ความสัมพนั ธอ์ ันดตี ่อกนั

6.1.2 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 เข้ารว่ มกจิ กรรมการสมั มนาและ

ศกึ ษาดงู าน

6.2 เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ

6.2.1 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัตหิ น้าท่ี

และมคี วามสามัคคี ความสมั พนั ธ์อนั ดตี อ่ กัน

6.2.2 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 เขา้ ร่วมกิจกรรมการสมั มนาและ

ศึกษาดงู านมาพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ให้กับนักเรยี น นักศึกษา

7. สถานท่ดี าเนนิ การ

งานบุคลากร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร และภายนอกสถานศึกษา

8. ระยะเวลาดาเนินการ

1 ปี เร่มิ จาก 1 ตลุ าคม 2562 ถงึ 30 กนั ยายน 2563

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 หมาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย เหตุ

เสนอโครงการ/อนุมัติ
ประชมุ วางแผน

ดาเนนิ การ /
ติดตามประเมนิ ผล
สรุปและรายงานผล

9ศ ค่าใชจ้ า่ ย และงบประมาณ จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย รายการ งบประมาณ อดุ หนนุ

1. คา่ วสั ดุ 75,000.-

รวมเป็นเงินทัง้ ส้ิน 75,000ศ-

68

10. การประเมินและตดิ ตามผล
10.1 เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ
- บุคลากรภายในวิทยาลัยฯ นกั เรียน นักศึกษา ร้อยละ 90 มคี วามพึงพอใจในการบรหิ าร
จดั การและการให้บรกิ ารงานบคุ ลากร รอ้ ยละ 90 สอบถามความพงึ พอใจของผูร้ ่วมกิจกรรม
10.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
- บคุ ลากรภายในวทิ ยาลยั ฯ นักเรียน นกั ศึกษา ร้อยละ 90 ติดตอ่ ประสานงานทเ่ี กยี่ วข้อง
ด้านบคุ ลากร รอ้ ยละ 90 สารวจการเข้ารบั การสัมมนาและศึกษาดงู าน

11. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
11.1 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญและกาลังใจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ และมคี วามรู้
ความสามัคคี ความสมั พนั ธอ์ ันดีต่อกัน
11.2 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา นาความรทู้ ี่ไดจ้ ากการสมั มนา และศึกษาดงู านมาพฒั นา
การจดั การเรยี นการสอน ให้กบั นักเรียน นักศึกษา
11.3 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ไดพ้ ฒั นาตนเองทางดา้ นวิชาการ
11.4 วิทยาลยั มผี ลงานและช่ือเสยี งเป็นท่ยี อมรับของสงั คม และชุมชน

69

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ชื่อโครงการ โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการงานบริหารงานพัสดุ
2. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : ฝา่ ยบริหารทรัพยากร
2.2 รอง : งานพัสดุ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชพี บางไทร
3. ความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/ภายใต/้ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อง ดา้ นผเู้ รยี นและผูส้ าเร็จการศกึ ษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คณุ ภาพภายใน

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศึกษา
2.3 ดานการบรหิ ารจัดการ
 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- องคป์ ระกอบท่ี 1 ตัวบ่งช้ที ่ี 1
 สถานศึกษาคณุ ธรรม จริยธรรม
องค์ประกอบท่ี 2 ด้านผลผลิต
4. หลกั การและเหตุผล
งานบริการด้านธรุ การ งานพัสดุ กม็ คี วามสาคญั ของการพฒั นาการศกึ ษา เปน็ ผูท้ ีใ่ หก้ ารส่งเสริมสนับสนุนและ
จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพ่ือให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของสถานศึกษาครู และบุคลากร
ทางการศึกษาจาเป็นต้องหมั่นฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีการแสวงหาความรู้ และเทคนิควิธีการใหม่ๆ อีกทั้ง
ต้องเพ่ิมพูนประสบการณ์ในการเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพ่ือให้รู้เท่าทันกับกระแส
โลกาภวิ ฒั นท์ ีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับสถานศึกษาต้องมีการเตรียมความพร้อมด้านงานสนับสนุน
ให้กับครู ผู้เรียน ให้มีคุณภาพสู่สภาพสู่มาตรฐานสากล เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
โครงการนี้จึงเป็นการเสริมสร้างคุณภาพด้านการสนับสนุน ให้ความอ้ืออานวยความสะดวกกับผู้เรียน ครูท่ีมี
หน้าที่สอน จัดหาวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน อานวยความสะดวก จัดทาความระเบียบของทางราชการอย่าง
ถูกต้อง และโปร่งใส่ ทั้งยัง เป็นแหล่งเรียนรู้ ในระบบการทางานปฏิบัติงานให้กับนักเรียนนักศึกษา บางสาขาอีกด้วย
สรา้ งประสบการณ์ท่ีได้มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนตื อ่ วิชาชพี องคก์ ร และงานราชการสบื ตอ่ ไป
5. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
5.1 เพอ่ื อานวย ความรวดเร็ว ตอ่ การเรยี นการสอน ให้กบั คณะผบู้ รหิ าร ครู และนักเรยี นนักศกึ ษา
5.2 เพ่อื เปน็ การส่งเสรมิ และพฒั นาใหก้ บั ผเู้ รยี น ด้านศกึ ษาดงู าน
5.3 เพ่ือให้การสนบั สนุน ครูนักเรียน ตามโครงการ กิจกรรมของนักเรยี นนักศึกษา
5.4 เพื่อจดั ซ้ือ จัดจ้าง ให้ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ

70

6. เป้าหมายโครงการ
6.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ
6.1.1 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มีขวญั และกาลังใจในการปฏบิ ตั ิหน้าที่
และมคี วามสามัคคี ความสัมพันธ์อันดตี ่อกนั
6.1.2 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 เขา้ รว่ มกิจกรรมอยา่ งต่อเน่ือง
6.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
6.2.1 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มีขวัญและกาลงั ใจในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
และมคี วามสามัคคี ความสมั พันธ์อนั ดีต่อกัน
6.2.2 ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 เข้ารว่ มกจิ กรรมได้อยา่ งต่อเน่ือง

7. สถานทีด่ าเนนิ การ
งานพสั ดุ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร

8. ระยะเวลาดาเนนิ การ
1 ปี เริ่มจาก 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กนั ยายน 2563

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2563

กจิ กรรม ต.ค. ปีงบประมาณ 2563 ก.ค ส.ค หมาย
เสนอโครงการ/อนมุ ัติ พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย รายได้ ก.ย เหตุ

ดาเนินการ / หมายเหตุ
ติดตามประเมนิ ผล
สรปุ และรายงานผล

9ศ คา่ ใชจ้ า่ ย และงบประมาณ

หมวดรายจ่าย จานวนเงนิ
งบประมาณ อุดหนุน
รายการ
10,000.-
1. คา่ วัสดสุ านักงาน

รวมเป็นเงนิ ท้ังสิน้ 10,000ศ-

10. การประเมินและตดิ ตามผล
10.1 เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ
- บคุ ลากรภายในวิทยาลยั ฯ นักเรียน นกั ศึกษา ร้อยละ 90 มคี วามพึงพอใจในการบริหาร
จดั การและการให้บรกิ ารงานพัสดุ ร้อยละ 90 สอบถามความพึงพอใจของผ้รู ่วมกจิ กรรม

71

10.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
- บคุ ลากรภายในวิทยาลยั ฯ นกั เรยี น นักศึกษา ร้อยละ 90 ติดตอ่ ประสานงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ดา้ นพัสดุ ร้อยละ 90 สารวจการความต้องการของครูอาจารย์ นักเรยี น นกั ศกึ ษา ในการบรกิ าร

11. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
11.1 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญและกาลังใจในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ และมีความรู้
ความสามคั คี ความสัมพนั ธอ์ นั ดตี ่อกัน
11.2 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นาความรทู้ ่ีได้
การจดั การเรียนการสอน ใหก้ บั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
11.3 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดพ้ ัฒนาระบบการทางานของพสั ดุ
11.4 วิทยาลยั มีผลงานและชื่อเสยี งเป็นท่ียอมรบั ของสังคม และชมุ ชน

72

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ช่ือโครงการ โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้อาคารสถานที่ให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอน
2. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

2.1 หลกั : ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
2.2 รอง : งานอาคารสถานท่ี วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
3. ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/ภายใต้/ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อง อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน ห้องปฏิบัติการ

โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คณุ ภาพภายใน

มาตรฐานที่ 2 ดา้ นปัจจยั พ้ืนฐาน
2.5 ดานการบรหิ ารจัดการ

 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- องค์ประกอบที่ -

 สถานศกึ ษาคุณธรรม จริยธรรม
องคป์ ระกอบที่ -

4. หลกั การและเหตุผล
อาคารสถานท่ี ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม ของสถาศกึษาเป็นองค์ประกอบที่สาคัญต่อการปฏิบัติราชการและ

การจัดกเรเรยี นการสอนจาเป็นต้องมีการจัดอาคารถสานท่ีสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์บริหารจัดการให้เกิดประโยชนื
สูงสุดปรับปรุงพัฒนาอาคารสถานท่ีให้ท่ีมีอยู่ให้ม่ันคง ปลอดภัย เพียงพอต่ีอความความต้องการของการใช้งาน แ ละ
ผู้รับบริการเพกิดความพ่ึงพอใจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เป็นส่วนราชการท่ีมีการจัดภูมิ
ทศั นแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาใหค้ งสภาพท่ีสวยงาม จึงมคี วามจาเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนต้อง
มีคยบามตระหนักและมีส่วนร่วมในการบารุงกรักษาอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ให้สะอาด สวยงาม่อยู่
เสมอ
5. วตั ถุประสงค์ของโครงการ

5.1 เพือ่ ให้สถานศึกษาเป็นสถานทีต่ ้นแบบท่ีมสี วนหย่อม และการปรบั ปรงุ พน้ื ทใี่ ห้สวยงาม อยูเ่ สมอ
และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน

5.2 เพอ่ื จัดสภาพแวดล้อมใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นรู้ ใหก้ บั ครู นักเรยี น นักศึกษา
5.3 เพ่อื พัฒนาพนื้ ท่ีปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรและผปู้มาติดต่อราชการ
5.4 เพื่อปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอาคารสถานทใ่ี ห้มีความมน่ั คง แข็งแรง ปลอดภยั

73

6. เป้าหมายโครงการ
6.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
6.1.1 ปรับปรุงอาคารสถานท่ี บรเิ วณพ้ืนท่ีโดยรอบวิทยาลัยฯ ให้มสี ภาพสมบูรณ์ เหมาะแก่การ
อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นการสอน การปฏิบัติงานของบคุ ลากร และผู้มาตดิ ตอ่ ราชการ จานวน
15 อาคาร
6.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
6.2.1 วิทยาลัยฯ มอี าคารสถานที่เอื้อต่อบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน
6.2.2 อาคารสถานที่มีความม่ันคง แขง็ แรง ปลอดภยั

7. สถานท่ีดาเนินการ
งานอาคารสถานท่ี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร

8. ระยะเวลาดาเนนิ การ
1 ปี เริม่ จาก 1 ตลุ าคม 2562 ถงึ 30 กนั ยายน 2563

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 หมาย
ก.ย เหตุ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค
หมายเหตุ
ประชมุ คณะกรรม

ดาเนินงาน

วางแผนจดั ทาโครงการ

ดาเนินงานตามโครงการ

สรุปผลการดาเนนิ งาน

9. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย

หมวดรายจา่ ย จานวนเงิน

รายการ งบประมาณ อดุ หนนุ รายได้

1. ค่าวสั ดุ 175,000.-

รวมเปน็ เงินทัง้ ส้นิ 175,000ศ-

10. การประเมนิ และติดตามผล
10.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
- อาคารสถานท่ีโดยรอบวทิ ยาลยั ฯ มสี ภาพสมบรู ณ์ มีความพรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอน
การปฏิบตั งิ านของบุคลากร และผูม้ าตดิ ต่อราชการ คดิ เป็นร้อยละ 100
10.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
- วทิ ยาลัยฯ มีภมู ทิ ัศน์ และอาคารสถานท่สี วยงาม ม่ันคงแข็งแรง และปลอดภัย คิดเปน็ ร้อยละ 100

74

11. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
11.1 พื้นท่ปี ฏบิ ัตงิ านของบุคลากรและผู้มาติดตอ่ ราชการมีสภาพพร้อมใช้งาน
11.2 อาคารสถานท่มี ีสภาพสมบูรณ์ แขง็ แรง ปลอดภัย
11.3 มีสภาพแวดล้อมท่สี วยงาม เปน็ แหล่งเรยี นรใู้ หก้ ับครู นักเรียน นกั ศึกษา

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชพี บางไทร

สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชอื่ โครงการ พัฒนาคณุ ภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการแหลง่ เรียนรู้
2. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

2.1 หลัก : ฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร
2.2 รอง : ห้องสมุด วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร
3ศ สอดคล้องนโยบาย
 นโยบายชาติ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพ (การปลกู ฝงั ระเบยี บ วินัย คุณธรรม

จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์
 นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดา้ นยกระดบั คุณภาพการศึกษาการอาชีวศึกษา
 นโยบายจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
 ประกนั คณุ ภาพภายใน ตัวบง่ ชีท้ ี่ ตวั บง่ ชีท้ ี่ 3.3 ระดบั คณุ ภาพในการจัดการศึกษา

ตัวบง่ ชี้ใ 3.4 ระดบั คุณภาพในการจดั กิจกรรมเสริมหลักสูตร
 ประกันคณุ ภาพภายนอก ด้านท่ี 5 ด้านปัจจัยพืน้ ฐาน 5.3 แหล่งเรียนรแู้ ละศนู ย์วิทยบรกิ าร
4ศ หลักการและเหตุผล
ปจั จบุ ันเปน็ ยคุ โลกไร้พรมแดน หรอื ยคุ โลกยคุ ข้อมลู ข่าวสารนกั เรียนหรอื ผ้ใู ช้บริการทัว่ ไปจาเปน็ ต้อง
ใชส้ ารนเิ ทศตลอดเวลา ห้องสมดุ เปน็ แหลง่ สรรพวทิ ยาการต่าง ๆ ทีส่ ามารถค้นควา้ หาความรไู้ ด้อย่างเสรี
ห้องสมุดถือเปน็ หวั ใจสาคัญท่ีจะชว่ ยพฒั นานกั เรียนในทกุ ๆ ดา้ นชว่ ยวางรากฐานใหน้ กั เรียนเป็นผู้รักการ
เรียนรู้ และสนใจเรียนรูต้ ลอดชวี ติ เกดิ การพัฒนาตนเองส่งผลให้มีคณุ ภาพชีวิตไมว่ ่าจะทางดา้ นการศึกษา
และดา้ นความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
หอ้ งสมุดนอกจากจะเป็นแหลง่ ค้นควา้ แลว้ ยังเปน็ ทผี่ ่อนคลายและแหล่งนันทนาการระหวา่ งพกั ซง่ึ
บรรยากาศและภูมทิ ัศนใ์ นห้องสมุดเป็นส่วนประกอบทจ่ี ูงใจให้นกั เรยี นเขา้ ใชบ้ รกิ าร
ด้วยเหตนุ ี้หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชพี บางไทร จงึ จาเป็นตอ้ งพัฒนาปรบั ปรุง
หอ้ งสมดุ ให้มคี วามทันสมัยเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ภาวะสังคมให้ไปสู่การเป็นห้องสมุดมีชีวิต เปน็ การประสม
ประสานกันแบบบรู ณาการ ท้ังในสว่ นการดาเนนิ งานใหเ้ ป็นห้องสมุดอเิ ล็กทรอนิกส์ และสามารถสืบคน้ ได้โดยใช้ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศการสอื่ สาร(ICT) เขา้ มาดาเนนิ การ เพือ่ ให้การบริการเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และสามารถ
อานวยแก่ผใู้ ชบ้ ริการได้มากที่สดุ

75

5ศ ขอ้ เสนอแนะผลการจดั กิจกรรม/โครงการทผี่ า่ นมา
-

6ศ วัตถปุ ระสงค์โครงการ
1. เพื่อสง่ เสริมพัฒนาหอ้ งสมุดใหม้ ลี ักษณะ เปน็ ห้องสมุดมีชีวิต (Living Library)
2. เพือ่ พัฒนาบรรยากาศหอ้ งสมดุ ให้น่าเขา้ ใช้บริการ เอื้อต่อการเรยี นรู้
3. เพ่อื พัฒนาหอ้ งสมุดไปสูร่ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร(ICT)
4 เพ่ือใหผ้ ใู้ ช้บรกิ ารเขา้ ถึงทรัพยากรสารนเิ ทศและได้รับประโยชน์จากการศึกษาหาความรู้ เพมิ่ มากขึน้
5 เพอื่ ปลูกฝงั รากฐานให้นักเรียนรูจ้ กั วธิ ีศกึ ษาค้นควา้ ได้ด้วยตนเอง
6 เพ่ือส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นมนี สิ ัยรกั การอา่ น
7 เพื่ออานวยความสะดวก บริการทรัพยากรสารสนเทศแก่ผเู้ รียน ครแู ละชมุ ชน
8 เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรียนเขา้ ใช้แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน และเรยี นรู้ทจ่ี ะพัฒนาศักยภาพ
ของตนเอง ด้วยการอ่าน

7ศ แหลง่ /รายละเอยี ดงบประมาณที่ดาเนนิ งาน
1. งบประมาณจากวทิ ยาลยั ฯ จานวน 25,000 บาท (สองหมื่นหา้ พันบาทถว้ น)

8ศ วิธีดาเนินงาน (แสดงผังหรอื ขัน้ ตอนการดาเนินงาน PDCA)
1. ประชมุ ศึกษาหาแนวทางการดาเนินงานตามนโยบายโดยรวม
2. จัดทาแผนปฏิบัตงิ าน
3. เสนอแผนปฏิบัตงิ านโครงการเพือ่ พิจารณาอนมุ ัติ
4. ประชาสมั พันธ์กิจกรรมโครงการ
5. ปฏบิ ัตงิ านตามแผนงาน
6. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน
7. สรุป และรายงานผลการดาเนนิ งาน

8ศ เป้าหมายโครงการ
เชิงปริมาณ
1. ผูใ้ ชบ้ ริการร้อยละ 80 สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมดุ ได้อยา่ งถูกต้องรวดเร็ว
2. ผู้ใชบ้ รกิ ารรอ้ ยละ 80 มีนสิ ยั รกั การอ่านและรูจ้ ักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
3. นกั เรียนร้อยละ 80 ไดเ้ ข้าใช้บริการหอ้ งสมุด
เชิงคุณภาพ
1. ห้องสมุดมีหนังสือ เอกสาร ส่งิ พมิ พต์ า่ ง ๆ ให้บรกิ ารแกน่ กั เรียนและบุคลากรในโรงเรยี นอย่างเพียงพอ
2. มรี ะบบห้องสมุดอตั โนมตั ิทมี่ ีคณุ ภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
3. ห้องสมดุ มเี ทคโนโลยีสารสนเทศการสือ่ สารท่เี ชือ่ มโยงกบั หน่วยงานภายนอก
4. ห้องสมดุ มีบรรยากาศจูงใจน่าเขา้ ใชบ้ รกิ าร
5. หอ้ งสมุดเป็นศนู ย์กลางพกั ผอ่ น ผ่อนคลาย เป็นแหลง่ นันทนาการระหว่างพกั
6. นักเรียนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลสารสนเทศได้ด้วยตนเอง และเป็นศูนย์เรียนรู้ของนักเรียนและบุคลากร
ในโรงเรียน

76

9ศ ระยะเวลา/สถานทีด่ าเนินการ
1 ตลุ าคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563 ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร และชมุ ชน

โดยรอบสถานศึกษา
แผนงาน/กิจกรรมดาเนินการ ปงี บประมาณ 2563

กจิ กรรม ปีงบประมาณ 2563

ประชุม ตศคศ พศยศ ธศคศ มศคศ กศพศ มีศคศ เมศย พศคศ มศิ ยศ กศคศ สศคศ กศยศ
เขียนโครงการ
นาเสนอ
ปฎบัติกิจกรรม
ประเมนิ โครงการ
รายงานผลโครงการ

10. งบประมาณค่าใชจ้ า่ ย จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจา่ ย
รายการ งบประมาณ อดุ หนนุ
1. คา่ วัสดุ
25,000.-

รวมเป็นเงินท้ังสิน้ 25,000ศ-

11ศ ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
1ศ สถานศึกษาได้พัฒนาห้องสมดุ ให้มลี กั ษณะเป็นหอ้ งสมดุ มชี ีวติ (Living Library)
2. สถานศกึ ษาพฒั นาบรรยากาศหอ้ งสมุดใหน้ ่าเข้าใช้บริการ
3. ห้องสมุดได้พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) เพ่ือใชบ้ รกิ ารดาเนินงาน
ไดม้ าตรฐาน ห้องสมุดตามมาตรฐานสากล ห้องสมุดโรงเรียน
4. ห้องสมดุ ได้บริการผู้เรียน ครู ชมุ ชน ไดบ้ ริการเข้าถึงทรัพยากรสารนเิ ทศและไดร้ บั ประโยชนจ์ าก
การศึกษาหาความร้เู พ่มิ มากขึน้
5. ไดป้ ลกู ฝังรากฐานใหน้ ักเรียนรจู้ ักวิธีศึกษาค้นควา้ ได้ดว้ ยตนเอง
6. สถานศกึ ษาไดส้ ง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีนิสัยรกั การอา่ น
.7. ห้องสมุดอานวยความสะดวก บริการทรพั ยากรสารสนเทศแก่ผู้เรียน ครูและชมุ ชน
8. สถานศกึ ษาสง่ เสริมให้นักเรยี นเข้าใช้แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน และเรยี นรูท้ ่ีจะพฒั นาศักยภาพของ
ตนเองด้วยการอ่าน

12ศ ผลผลติ (Out put)/ตัวป้อน (เทียบเป็นอัตราร้อยละ)
1. ผ้ใู ช้บริการรอ้ ยละ 80 สามารถเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดได้อยา่ งถกู ต้องรวดเร็ว

77

2. ผู้ใช้บริการรอ้ ยละ 80 มนี ิสยั รักการอ่านและรูจ้ ักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
3. นกั เรยี นร้อยละ 80 ไดเ้ ข้าใชบ้ ริการห้องสมดุ
13ศ ผลลัพธ์ (Out come) (เทยี บเป็นอัตราร้อยละ)
1. ผ้ใู ช้บรกิ ารรอ้ ยละ 80 สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศในหอ้ งสมดุ ได้อย่างถกู ต้องรวดเรว็
2. ผู้ใช้บรกิ ารร้อยละ 80 มนี สิ ยั รกั การอ่านและรจู้ ักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์
3. นักเรยี นร้อยละ 80 ได้เข้าใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ

78

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1.ช่ือโครงการ โครงการพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้อาคารแผนกอาหารและโภชนาการทใ่ี ห้มีความพรอ้ มในการจัดการเรียน
การสอน

2ศผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ 1.นางเยาวนิจ ไวทยะวจิ ติ ร
2.นางสาวนติ ยา ชะนะบุญ

3ศสอดรบั นโยบาย
 นโยบายชาติ
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
 นโยบายประกนั คุณภาพ 5. ด้านปัจจยั พื้นฐาน
5.1 อาคารสถานท่ี หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม

4ศหลักการและเหตผุ ล
ด้วยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้น้อมนาพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ 9 สู่หลักสตู รการจัดการเรยี นการสอน โดยจดั ตั้งศนู ย์ความชานาญเฉพาะทางในสถานศึกษา ท่ีมีลักษณะโดด
เด่นแตกต่างกนั ออกไป สานักงานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา ได้มอบหมายให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปา
ชีพบางไทร รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอน สาขาอาหารและโภชนาการ เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้าน
วิชาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการทางด้านเศรษฐกิจ และครัวโลก ฉะนั้นจึงจาเป็นต้องปรับปรุงบารุงรักษา
ห้องเรียน ห้องปฎิบัติการให้มีความพร้อมสะอาดปลอดภัยจากมูลนกพิราบ ปลวกเจาะตัวโครงสร้างของวงกบประตู
หน้าตา่ งห้องเรียน หนแู ละแมลงตา่ งๆ
5ศวัตถุประสงค์

1. เพื่อซ่อมแซมดแู ลรักษาอาคารอาหารและโภชนาการให้มีความสมบรู ณ์ ถูกสขุ ลักษณะ มีความสะอาด
ปลอดภยั จาก นก หนู ปลวก แมลง และสัตวท์ เี่ ป็นพาหนะนาโรค

2. เพ่ือให้การจัดการเรยี นการสอนในสาขาวชิ าอาหารและโภชนาการเปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและมี
ประสิทธิภาพสงู
6ศเปา้ หมายโครงการ

เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ
1.ดูแลกาจัดปลวกอาคารอาหารและโภชนาการ3ครั้ง/ปี 8,000 บาท
2.สรา้ งตาข่ายเพื่อดักนกพริ าบจานวน 4 แห่ง จุดละ 8,000 บาท
3.กาจัดหนจู านวน 3 ครัง้ /ปี 2,000 บาท

79

เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ
นกั เรยี น-นักศึกษามีอาคารเรียนทั้งภาคปฎิบตั ิและภาคทฤษฎี ทีถ่ ูกสขุ ลักษณะมีความสะอาดปลอดภัย มี
คุณภาพตรงตามสาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ
7ศ วิธกี ารดาเนนิ โครงการ
1. จดั ทาโครงการเสนองบประมาณ
2. ประชมุ คณะกรรมการจัดทาคาสั่งปฏบิ ตั ิงาน
3. วางแผนการดาเนนิ งาน
4. เสนอของบประมาณ
5. ดาเนินงานตามแผนงาน
6. ติดตามและประเมนิ ผลงานโครงการ
7. สรปุ ผลการดาเนินงาน
8ศ ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน/สถานทดี่ าเนนิ งาน
ระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563
สถานที่ แผนกอาหารและโภชนาการวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร

แผนงาน/กิจกรรมดาเนนิ การประจาปีงบประมาณ 2563

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย ธ.ค ส.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.จัดทาโครงการ

เสนองบประมาณ

2.ประชมุ คณะกรรมการจัดทา

คาสงั่ ปฏบิ ัติงาน

3. วางแผนการดาเนนิ งาน

4. เสนอของบประมาณ

5. ดาเนินงานตามแผนงาน

6. ตดิ ตามและประเมินผลงาน

โครงการ

7. สรุปผลการดาเนินงาน

9. งบประมาณค่าให้จ่าย จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย

รายการ งบประมาณ อดุ หนุน

1. คา่ วสั ดุ 9,000.-

รวมเปน็ เงินทงั้ สนิ้ 9,000ศ-

80

10. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
1. อาคารเรยี นสาขาอาหารและโภชนาการมคี วามสะอาด ถกู สุขลักษณะปลอดภยั จาก นก หนู ปลวก แมลง

และสัตวพ์ าหนะนาโภคตา่ งๆ
2. นกั เรยี น-นักศึกษามีอาคารเรยี นทีส่ ะอาดปลอดภัยทาให้การจดั การศึกษาได้ถูกต้องตรงตามมาตรฐานของ

สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ

81

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ พศศศ2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร
สภาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ชือ่ โครงการ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานด้านงานทะเบียน
2. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

2.1 หลกั : ฝ่ายบรหิ ารทรัพยากร
2.2 รอง : นายสุเมธ นามวงค์ (หวั หนา้ งานทะเบียน)
3. ความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/ภายใต้ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา เร่อื ง ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน
3.2.2 การบริหารจดั การระบบข้อมลู สารสนเทศ เพ่ือการบริหารจดั การสถานศึกษา
4. หลักการและเหตผุ ล
การจดั ทางานทะเบยี นมคี วามสาคญั อย่างยิ่งต่อการพฒั นาการเรยี นการสอนในปจั จบุ นั ท่ีเน้นผเู้ รียน
เป็นศนู ยก์ ลางการเรียนรู้ โดยนาผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นนักศกึ ษาทกุ คนเพ่ือนาไปจัดทาเปน็ เอกสารให้กบั
ผ้เู รยี นที่กาลงั ศึกษาอยู่ และผู้ทส่ี าเร็จการศึกษาไปแล้ว ท่ีสาคัญเปน็ งานทต่ี ้องจัดเก็บข้อมูลตา่ งๆของผเู้ รียนใน
ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและออกเอกสารสาคัญใหก้ บั นักเรยี นศกึ ษา ผปู้ กครองครทู ุกทา่ น
5. วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
1. เพอ่ื ใหง้ านทะเบยี นทเี่ กี่ยวข้องกับเอกสารการออกเอกสาร การรับรองผลการเรยี น การจบหลกั สตู รการ
จัดเกบ็ ข้อมูล การตรวจสอบข้อมลู มีประสิทธิภาพ
2. เพ่ือพัฒนางานทะเบียนให้ทันสมยั และมีความเพยี งพอ ถูกต้อง ตามแนวนโยบาย
3. เพื่อสง่ เสริม การรายงานผลการเรยี น การติดตามผลการเรยี นให้มปี ระสิทธิภาพ
6. เป้าหมายโครงการ
เชิงปรมิ าณ
- มเี อกสารงานทะเบยี น ครบทุกระดับชัน้ จัดทา จัดจ้าง จดั ซื้อ ครบทุกระดับช้นั ปี
- ครูทป่ี รึกษาได้รับผลการเรียนจากงานทะเบียน เพ่ือแจ้งผู้ปกครองคดิ เปน็ ร้อยละ 100
- สามารถตรวจสอบข้อมลู ดา้ นทะเบยี นนักเรียน นกั ศึกษา ได้ ร้อยละ 100
เชงิ คุณภาพ
- การใหบ้ ริการดา้ นงานทะเบียน มีประสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ
- การจดั เก็บรวบรวม ข้อมูล ระบบงานทะเบยี น มีประสทิ ธิภาพ
- เอกสาร เกีย่ วกับงานทะเบียน มคี วามถูกต้อง เหมาะสมวิธดี าเนนิ งาน (แสดงผังหรือขัน้ ตอนการดาเนินงาน
PDCA)

82

7. ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ โครงการ
7.1 ตวั ชี้วัดดา้ นปรมิ าณ
7.1.1 นักเรียนนักศึกษาทุกชน้ั ปี 371 คน
7.2 ตัวชวี้ ดั ดา้ นคณุ ภาพ
7.2.1 นกั เรียน นักศึกษามีความพึงพอใจในการรบั บริการ

8. สถานทด่ี าเนนิ การ หอ้ งทะเบียน ฝ่ายบรหิ ารทรัพยากรวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
9. ระยะเวลาดาเนนิ การ

ระยะเวลา 1 ปี เรม่ิ จาก 1 ตลุ าคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2563

กจิ กรรม ปีงบประมาณ 2563
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

1. ขั้นเตรยี มการ

2. ขั้นดาเนินการ

3. ขนั้ ตรวจสอบและประเมินผล

4. ขั้นปรบั ปรุงพฒั นา

10. งบประมาณค่าใช้จ่าย

หมวดรายจ่าย จานวนเงิน หมายเหตุ
รายการ งบประมาณ อดุ หนุน
รายได้

1. คา่ วสั ดุ 12,500.-

รวมเปน็ เงนิ ทงั้ สนิ้ 12,500ศ-

11. การตดิ ตามและประเมินผล
11.1 สรปุ ผลการดาเนินโครงการ

12. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
12.1 งานทะเบียนสามารถดาเนินการไปดว้ ย ความเรียบรอ้ ย ถูกต้อง มปี ระสิทธภิ าพสูง
12.2 สามารถดาเนินการได้ทนั ตามระยะเวลาที่กาหนด
12.3 การตรวจสอบระบบขอ้ มูลมีความถูกต้อง รวดเร็ว
12.4 สามารถให้บรกิ ารตอ่ นักเรยี นนักศกึ ษา ครทู ปี่ รึกษา ผปู้ กครองได้อย่างรวดเร็ว
12.5 การจดั ระบบเก็บเอกสารมีความเหมาะสมมากข้ึน

83

13. ผลผลติ (Out put) / ตัวปอ้ น (เทยี บเป็นอัตราร้อยละ)
- จานวนนักเรยี น นักศกึ ษา 371 คน คดิ เป็นร้อยละ 100
- ครู ผปู้ กครอง คิดเป็นร้อยละ 100

14. ผลลพั ธ์ (Out come) (เทียบเป็นอัตราร้อยละ)
1. นกั เรยี นนักศกึ ษา ทจี่ ะเขา้ มาศึกษาต่อในปีการศกึ ษา 2563

84

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบนั การการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ช่อื โครงการ โครงการรักษาความสะอาดและสิง่ แวดล้อมภายในวทิ ยาลัย
2. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ

2.1. หลกั : ฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร
2.2. รอง : (ช่อื ผรู้ ับผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) นายเสกสรร จนั ทร
3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง ดา้ นปจั จัยพ้นื ฐาน
 มาตรฐานการอาชวี ศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน

- ด้านปจั จยั พื้นฐาน 5.2 ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน
4. หลกั การและเหตุผล

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียนนักศึกษา ตลอดจน
บุคลากรภายในสถานศึกษาพักอาศัยอยู่แบบประจาจานวนมาก ปัญหาท่ีเกิดขึ้นคือ มีขยะมูลฝอยเป็นจานวนมาก ซ่ึง
ทางวิทยาลัยฯ ไมส่ ามารถกาจัดไดท้ นั อกี ท้ังบริเวณท่ีกาจัดขยะมูลฝอยไม่มี ส่วนทีใ่ ช้การได้ และปลอดภัยถาวร ทาให้
เกิดปัญหามูลฝอยจนส่งกิล่นเหม็นและสภาพท่ัวไปไม่น่าอยู่ และกาจัดไม่ทัน ฉะนั้นเพื่อให้ความเป็นอยู่สภาพที่ดีข้ึน
ชีวิตไม่มีสุขอนามัย สถานท่ีอยู่อาศัยสะอาดนักเรียน นักศึกษาและบุคลากรมีชีวิตท่ีมีคุณภาพ อันเป็นปัจจัย ขึ้นพ้ืนท่ี
และกาจัดขยะมูลฝอย มีหน่วยงานใกล้เคียงที่สามารถดาเนินการได้ คือเทศบาล/องค์กรบริหารส่วนตาบล จะต้องมี
ค่าใช้จ่าย เป็นรายเดือนแต่คุ้มค่า และมีความจาเป็นอย่างย่ิง เพื่อให้การดาเนินการท่ียังไม่สามารถมีการจัดการที่ดีได้
โดยองคก์ รการบริหารสว่ นตาบลเปน็ ผดู้ าเนนิ การแทน และต่อเนอ่ื ง
5. วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้นักเรยี นนักศึกษา บุคลากรไดร้ ับสวัสดิการ และบริการกาจัดขยะมูลฝอยดีขน้ึ
2. เพอื่ เพื่อใหน้ ักเรียนนักศึกษาบุคลากรภายในสถานศกึ ษา มีความเปน็ อยแู่ ละคุณภาพชีวติ ข้ึน
3. เพื่อให้สถานศึกษา บ้านพกั ท่ีทางาน สะอาดและมีสภาพแวดล้อมน่าอยู่ย่ิงขน้ึ
6. เป้าหมาย
6.1. เชิงปรมิ าณ
1. นักเรยี นนกั ศึกษา บุคลากรได้รบั การบรหิ ารการกาจัดขยะไม่น้อยกวา่ จานวน 400 คน
2. สถานศึกษาไดร้ ับการเกบ็ กาจัดขยะมูลฝอยไม่น้อยกวา่ 10 จดุ
6.2. เชงิ คุณภาพ
1. นักเรียนนกั ศึกษาและบุคลากรมคี วามพึงพอใจ และมีความสุขทพ่ี ักอาศัยในสภาพที่ดีข้ึน
2. สถานศึกษา บ้านพัก อาคารต่างๆ และบริเวณโดยรอบมีความสะอาดและสภาพพื้นที่นา่ อยู่
7. ตัวชีว้ ดั
7.1. เชงิ ปรมิ าณ
1. นักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในวทิ ยาลัยฯ
2. สภาพแวดลอ้ ม ในวิทยาลัยฯ น่าอยู่ นา่ พักผ่อน

85

7.2. เชงิ คณุ ภาพ

1. นักเรียนนกั ศึกษา มีคณุ ภาพชีวติ มอี ากาศทด่ี ีขึ้น

2. ครู และบคุ ลาการทางการศึกษา มคี ณุ ภาพชีวติ มีอากาศท่ีดขี ้ึน

8. สถานท่ีดาเนนิ การ

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร

9. ระยะเวลาดาเนินการ(ระบวุ ันที่/เดือน/ปี พ.ศ.)

1 ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563

แผนการดาเนินงาน

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมายเหตุ

ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค. เม.ย พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

- เสนอโครงการ

- ดาเนนิ การ

ตามโครงการ

- สรปุ โครงการ

10. งบประมาณค่าใช้จา่ ย รายการ จานวนเงิน รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย งบประมาณ อดุ หนุน

1. คา่ กาจัดขยะมูลฝอย 24,000.-

รวมเปน็ เงนิ ท้ังสิ้น 24,000ศ-

11. การตดิ ตามประเมนิ ผล
-

12. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
1. คณะผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลลากรทางการศกึ ษา เจา้ หน้าทแี่ ละนกั ศึกษา มสี ุภาพจิต ที่ ดี ขนึ้
2. คณะผูบ้ รหิ าร ครู บคุ ลลากรทางการศกึ ษา เจา้ หนา้ ทแ่ี ละนักศกึ ษา มีบรเิ วณ สภาพ สะอาด ดี ขึ้น

86

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทร
สถาบันการการอาชีวศกึ ษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1ศ ช่อื โครงการ พัฒนาปรบั ปรุงปัจจัยพน้ื ฐานงานยานพาหนะ
2ศ ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ

2.1. หลัก : ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
2.2. รอง : (ชอ่ื ผู้รบั ผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) นางสาวรพพี ร ทองยิ่ง
3. ความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรอ่ื ง ด้านปจั จัยพืน้ ฐาน
 มาตรฐานการอาชวี ศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน

ด้านปจั จยั พ้นื ฐาน 5.1 อาคารสถานที่ ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ัตกิ าร โรงฝกึ งาน หรอื งานฟาร์ม
4. หลกั การและเหตุผล

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เป็นสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาที่ดาเนินงานภายใต้นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีมุ่งมั่นสร้าง พัฒนาบุคลากรและ
ผู้เรยี นให้มีความพร้อม มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ตลาดแรงงานต้องการ ดังน้ันเพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ทุกฝ่ายจาเป็นต้องส่งเสริม สร้าง ระบบความเป็นอยู่ ความปลอดภัยในชีวิตยานพาหนะเป็นงานอีกส่วนหน่ึงที่
จาเป็นต้องได้รับการดูแล บารุงรักษาให้มีสภาพสมบูรณ์ต่อการใช้งานอยู่เสมอทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย จึงได้จัดทา
โครงการยานพาหนะปลอดภยั ข้ึนโดยมวี ตั ถุประสงค์ดงั น้ี
5. วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือความปลอดภัยของคณะผู้บริหาร ครู บคุ ลลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าท่ีและนักศึกษา
2. เพอ่ื เป็นการบารงุ รักษายานพาหนะใหม้ ีความสมบรู ณป์ ลอดภยั อยู่เสมอ
3. เพ่อื จดั อบรมให้ความรู้ในการดูแลรกั ษายานพาหนะเบอ้ื งต้นและเพ่ิมขดี ความสามารถ ความพร้อมแก่

พนกั งานขบั รถ
6. เปา้ หมาย

6.1. เชิงปริมาณ
1. ยานพาหนะมีความปลอดภยั และพร้อมใช้ตามภารกจิ ของคณะผู้บรหิ าร ครู บุคลลากรทางการศึกษา
เจ้าหน้าท่ีและนกั ศกึ ษา
2. ยานพาหนะมีการบารงุ รักษายานพาหนะให้มีความสมบูรณป์ ลอดภยั อยเู่ สมอ
3. ส่งพนักงานขับรถเข้าอบรมให้ความรใู้ นการดแู ลรักษายานพาหนะเบื้องตน้ และเพ่มิ ขีดความสามารถ
แก่พนกั งานขับรถทุกคน

87

6.2. เชงิ คุณภาพ

1. ยานพาหนะทุกคันมคี วามปลอดภัยและพรอ้ มใช้ตามภารกิจของคณะผ้บู ริหาร ครู บคุ ลลากร

ทางการศึกษา เจา้ หนา้ ท่แี ละนกั ศึกษา

2. ยานพาหนะทุกคันไดร้ บั การบารุงรกั ษายานพาหนะใหม้ ีความสมบรู ณ์ปลอดภัยอยู่เสมอ

3. พนกั งานขับรถเข้าอบรมให้ความรูใ้ นการดูแลรักษายานพาหนะเบือ้ งตน้ และเพิม่ ขีดความสามารถในการ

ให้บรกิ ารอยา่ งปลอดภัย

7. ตวั ช้วี ดั

7.1. เชิงปริมาณ

1. จานวนการขอใช้และการออกให้บริการของฝ่ายยานพาหนะมคี วามปลอดภยั และพร้อมใชต้ ามภารกจิ

ของคณะผู้บริหาร ครู บุคลลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าทแี่ ละนักศึกษา

2. จานวนการเขา้ รับการตรวจเชด็ ยานพาหนะและมีการบารุงรักษายานพาหนะให้มีความสมบูรณป์ ลอดภัย

อยู่เสมอกาหนด

3. พนักงานขับรถเข้าอบรมให้ความร้ใู นการดูแลรักษายานพาหนะเบอื้ งต้นและเพม่ิ ขีดความสามารถใน

การใหบ้ ริการอย่างปลอดภยั อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร้ัง

7.2. เชิงคุณภาพ

1. ยานพาหนะทุกคนั มกี ารตรวจเช็คเพือ่ ความปลอดภัยและพร้อมใชต้ ามภารกจิ ของคณะผู้บริหาร ครู บุคล

ลากรทางการศกึ ษา เจา้ หนา้ ที่และนักศกึ ษาตามกาหนดเวลา

2. ยานพาหนะทุกคนั ได้รบั การบารุงรักษายานพาหนะใหม้ ีความสมบูรณป์ ลอดภัยอยเู่ สมอจากบริษทั หา้ งร้าน

ทมี่ คี ณุ ภาพผ่านการรับรองมาตรฐาน

8. สถานทดี่ าเนนิ การ

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชพี บางไทร

9. ระยะเวลาดาเนินการ(ระบุวนั ท/ี่ เดือน/ปี พ.ศ.)

1 ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563

10. แผนการดาเนินงาน

กจิ กรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย

ตศค พศย ธศค มศค กศพ มีศคศ เมศย พศคศ มศิ ยศ กศคศ สศคศ กศยศ เหตุ

- บนั ทกึ ระยะเวลา

ระยะทางการขอใชร้ ถ

- ตรวจสอบระบบตา่ ง ๆ

ตามคมู่ ือการใช้รถ

- ซอ่ มบารงุ ตาม

ระยะเวลาที่กาหนด

88

กิจกรรม ตศค พศย ธศค มศค ปงี บประมาณ 2563 มิศยศ กศคศ สศคศ กศยศ หมายเหตุ

กศพ มศี คศ เมศย พศคศ

- บันทึกระยะเวลา

ระยะทางการขอใช้รถ

- จดั ทาประกันความ ประเภทที่

ปลอดภยั 3

- ดแู ลรกั ษา จัดทาความ

สะอาดเบ้ืองตน้ เป็น

ประจา

- อบรมพนักงานขับรถ ปีละ 1

เพ่อื เพ่มิ ความสามารถ ครั้ง

ในการปฏบิ ัติงาน

11. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย รายการ จานวนเงิน รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย งบประมาณ อุดหนนุ

1. ค่าวัสดุ ค่าซ่อมแซม 150,000.-

รวมเป็นเงินทัง้ ส้นิ 150,000ศ-

12. การติดตามประเมนิ ผล
- บนั ทึกการขอใช้รถ
- บนั ทึกประจารถ/วัน เวลา สถานท/ี่ ระยะทาง

13. ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ
1. คณะผู้บริหาร ครู บคุ ลลากรทางการศึกษา เจา้ หนา้ ที่และนกั ศึกษามีความปลอดภัยในการเดินทาง
ไปปฏิบัตภิ ารกจิ
2. ยานพาหนะได้รบั การบารงุ รกั ษาใหม้ ีความสมบูรณ์ปลอดภัยอยู่เสมอ โดยไมเ่ กดิ อบุ ตั เิ หตขุ ณะใหบ้ รกิ าร

89

โครงการ
ฝา่ ยแผนงานและความ

รว่ มมอื

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ชอ่ื โครงการ โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงานงบประมาณ
2. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : (ระบชุ ื่อฝุาย) ฝาุ ยแผนงานและความรว่ มมือ
2.2 รอง : (ชอื่ ผูร้ บั ผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) นางสาวศิริเพญ็ คุ้มทกุ ข์

นางสาวศภุ ลกั ษณ์ สรรพศรี
3. ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/ภายใต้/ยุทธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ

 นโยบายสานักงาคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรอื่ ง ดา้ นการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ
 มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา / ประกนั คุณภาพภายใน

- มาตรฐานท่ี ...................... ตวั บง่ ช้ีท่ี .........................
 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

- องค์ประกอบที่ 3 ตวั บง่ ช้ีท่ี 3, 1, 3, 2, 33
 สถานศกึ ษาคุณธรรม จริยธรรม ด้าน ...................................
4. หลักการและเหตุผล
ด้วยงานวางแผนงานและงบประมาณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร มีสว่ นงาน
เกย่ี วข้องกับงบประมาณท่ีไดร้ ับการจัดสรรจากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซงี่ ต้องมีการจัดทา
งบประมาณผา่ นคณะกรรมการสถานศึกษาและพจิ ารณางบประมาณใหเ้ หมาะสม กับจานวนงบประมาณทว่ี ิทยาลยั
ได้รับการจัดสรร เพ่ือใหส้ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ ลดั ข้อผิดพลาดในการบริหารด้านการเงิน สอดคล้องไปกบั
ยทุ ธศาสตรขื องสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ดังนนั้ งานวางแผนและงบประมาณจงจัดทาโครงการ เพ่ือดาเนนิ การจดั หาอุปกรณ์ที่มีส่วนช่วยในการ
สนบั สนนุ ต่อการปฏบิ ัตงิ าน จดั พิมพเ์ อกสาร จัดทาเล่นแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี พฒั นาระบบควบคุมการใช้
งบประมาณ และจดั การสมั มนาการจัดทายุทธศาสตร์ มาตรการ กลยทุ ธ์ ของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์
ศิลปาชพี บางไทร ข้ึน
5. วตั ถปุ ระสงค์โครงการ
5.1 เพ่อื ดาเนินการจดั หาอปุ กรณท์ ีม่ สี ว่ นชว่ ยสนับสนนุ ตอ่ การปฏิบัติงาน จดั พมิ พ์เอกสาร จัดทาเล่ม
แผนปฏิบัตงิ าน งานประจาปี พัฒนาระบบควบคมุ การใชง้ บประมาณ
5.2 เพอื่ เพิม่ จัดการสัมมนาการจดั ทายุทธศาสตร์ มาตรกร กลยทุ ธ์ กลวธิ ี
6. เป้าหมาย
6.1 เชงิ ปริมาณ

1. ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา จานวน 250 คน
6.2 เชิงคุณภาพ

1. ครู บุคลากรทางการศึกษา อุปกรณ์ที่มสี ่วนชว่ ยสนบั สนนุ ตอ่ การปฏิบตั งิ าน พิมพ์เอกสารทาเลม่
แผนปฏิบัตงิ านประจาปี ควบคุมการใช้งบประมาณ

90

2. วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร มยี ทุ ธศาสตร์ มาตรการ กลยุทธ์ ทสี่ อดคล้องกับ
สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
7. ตัวข้ีวัดความสาเร็จของโครงการ

7.1 ตัวชี้วัดดา้ นปริมาณ
7.1.1 งานแผนและงบประมาณ ได้แผนปฏิบัตงิ านประจาปีที่ จานวน 30 เล่ม

7.2 ตวั ชว้ี ัดด้านคุณภาพ
7.2.1 ฝาุ ย/แผนก/งาน ไดร้ บั แผนปฏบิ ัติงานประจาปี เพือ่ ใชใ้ นการจดั ซ้ือและควบคุมการใช้จ่ายของ

โครงการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8. สถานทีด่ าเนินการ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร

แผนงานกิจกรรมดาเนินการ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 หมาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย เหตุ

1.วางแผนการดาเนนิ งาน

2.จดั ทาโครงการเสนอ

3.แต่งตง้ั คณะกรรมการ

พจิ ารณาแผนปฏิบตั ิงาน

4.ดาเนินงานตามแผน

5.รายงานผลการปฏิบัตงาน

9. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย

หมวดรายจา่ ย จานวนเงิน หมายเหตุ
รายการ งบประมาณ อุดหนุน รายได้

1. ค่าวัสดุสานักงาน 3,000.-

รวมทั้งสิ้น 3,000.-

10. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั
ครู บคุ ลากรทางการศึกษา อุปกรณ์ท่ีมีส่วนชว่ ยสนบั สนุนตอ่ การปฏบิ ัติงาน พมิ พ์เอกสาร ทาเลม่ แผนปฏบิ ัติ

งานประจาปี ควบคุมการใชง้ บประมาณ

91

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชือ่ โครงการ พฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การศึกษา
(งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา)

2. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
2.1 หลัก : (ระบชุ ่ือฝุาย) ฝาุ ยแผนงานและความร่วมมือ
2.2 รอง : (ชอื่ ผู้รับผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) นายปฏญิ ญา คอนเพง็

3. ความสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/ภายใต/้ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายชาติ ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ (การปลกู ฝงั ระเบยี บ วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม
คา่ นิยม ท่ีพึ่งประสงค์
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา / ประกันคุณภาพภายใน
3.2.1 การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมสี ว่ นร่วม
ตัวบ่งชีท้ ี่ 4.1 ระดบั คณุ ภาพในการดาเนนิ การประกันคณุ ภาพภายใน
 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- องคป์ ระกอบที่

4. หลักการและเหตุผล
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา (QUALITY ASSURANCE) หมายถึง การทากจิ กรรม หรอื การปฏิบตั ิภารกจิ

หลกั อยา่ งมีระบบตามแบบแผนที่กาหนดไว้ โดยมีการควบคุมภาพ (QUALITY CONTROL) การตรวจสอบคุณภาพ
(QUALITY AUDITING) และการประเมนิ คุณภาพ (QUALITY ASSESSMENT) จนทาให้เกิดความมัน่ ใจในคุณภาพ
และมาตรฐานของดชั นชี วี้ ัด ระบบและกระวบการผลิต ผลผลติ และผลลัพธ์ ของการจัดการศึกษา ประกอบด้วยการ
ประกนั คุณภาพภายใน และการประกันคณุ ภาพภายนอก

การจัดระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาอย่างเป็นระบบจะต้องไดร้ ับความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ งทุกฝาุ ย
จะทาใหส้ ถานศึกษาเกิดการพัฒนาตามมาตรฐานะการศกึ ษาของสถานศึกษา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์-
ศลิ ปาชีพบางไทร จึงไดจ้ ดั ทาโครงการพัฒนาระบบงานประกัน ข้ึน
5. ข้อเสนอแนะผลการจัดกิจกรรม/โครงการทผ่ี ่านมา

-
6. วัตถปุ ระสงค์โครงการ

เพอื่ พฒั นาระบบงานประกันใหเ้ ป็นระบบและมีประสิทธิภาพตามที่ฏกระทรวงกาหนด
7. แหลง่ /รายละเอหี ยดงบประมาณ ทด่ี าเนินงาน

งบประมาณจากวทิ ยาลยั ฯ จานวน 20,000 บาท (สองหม่ืนบาทถว้ น)
8. วิธีดาเนนิ งาน (แสดงผังหรือขน้ั ตอนการดาเนินงาน PDCA)

1. ประชมุ ศกึ ษาหาแนวทางการดาเนินงานตามนโยบายโดยรวม
2. จัดทาแผนปฏิบตั ิงาน
3. เสนอแผนปฏบิ ตั งิ านโครงการเพ่อื พิจารณาอนุ มัติ

92

4. ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรมโครงการ
5. ปฏิบตั งิ านคามแผนงาน
6. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน
7. สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน
9. เป้าหมายโครงการ
9.1 เชิงปริมาณ

1. มีครเู ขา้ รว่ มกิจกรรมอย่างน้อย 30%
2. มีสมาชิกเขา้ ร่วมกจิ กรรมอย่างน้อย 90%
3. มีสถานท่ีบริเวณใกล้เคียงสถานศึกษา อยา่ งน้อย 3 แหง่ เข้าร่วมกจิ กรรม
4. ผูป้ กครองเข้ารว่ มกจิ กรรม อย่างน้อย 10 คน
9.2 เชิงคุณภาพ
1. นกั เรยี น ครู ผู้ปกครอง รว่ มกันกาหนดมาตรฐานสถานศกึ ษา
2. นักเรยี น ครู คณะกรรมการสถานศึกษาจดั ทาและดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิการมงุ่ พฒั นาคณุ ภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษา
3. สถานศกึ ษามกี ารจดั ทาสารสนเทศ เพื่อการบริหารตจดั การอย่างเปน็ ระบบ
4. สถานศกึ ษามกี ารตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพภายในและนาผลการประเมินมาพัฒนาตนเอง

อย่างเป็นระบบ
10. ระยะเวลา/สถานศกึ ษาดาเนนิ การ

1 ตุลาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563 ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทรและ
ชมุ ชนโดยรอบสถานศกึ ษา

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2563

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 หมาย

ประชมุ คณะกรรมการ ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย เหตุ
ประชุมตรวจสอบ แก้ไข
อบรมพัฒนา
จดั เตรียมเอกสาร
จัดสง่ รายงาน

93

11. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย จานวนเงิน หมายเหตุ
หมวดรายจา่ ย รายการ งบประมาณ อดุ หนนุ รายได้

1. ค่าวสั ดุสานกั งาน 20,000.-
รวมทั้งส้ิน 20,000.-

12. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
สถานศึกษามรี ะบบงานประกันคณุ ภาพมารตรฐานทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ

13. ผลผลติ (Out put) /ตัวป้อน (เทยี บเปน็ อัตรารอ้ ยละ)
1. ครเู ข้ารว่ มกจิ กรรมอย่างน้อย 30 %
2. มสี มาชิกเข้ารว่ มกจิ กรรมอยา่ งนอ้ ย 90%
3. มีชุมชนเข้าร่วมกจิ กรรมอย่างน้อย 5 แหง่
4. มีผูป้ กครองเข้ารว่ มกิจกรรมอย่างน้อย 10 คน

14. ผลผลพั ธ์ (Out come) (เทยี บเปน็ อัตราร้อยละ)
1. ครเู ขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งน้อย 30%
2. มสี มาชิกเข้ารว่ มกจิ กรรมอยา่ งน้อย 90%
3. มีชมุ ชนเขา้ รว่ มกจิ กรรมอย่างน้อย 5 แห่ง
4. มีผ้ปู กครองเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งน้อย 10 คน

94

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ชอื่ โครงการ จดั การศกึ ษาความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ ทง้ั ในและต่างประเทศ
2. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

2.1 หลัก : (ระบชุ ่ือฝาุ ย) ฝาุ ยแผนงานและความร่วมมือ
2.2 รอง : (ชือ่ ผูร้ บั ผดิ ชอบ/แผนกวชิ า/งาน) นางพนดิ า แจง้ สวา่ ง
3. ความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/ภายใต้/ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

นโยบายที่ 3 พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาและแหลง่ เรียนรใู้ หม่
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยกระดบั มาตรฐานสถานศึกษาของอาชวี ศกึ ษาในด้านการจัดการเรยี นการสอนใน
ระดับ ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยีและสายปฏบิ ตั ิการและเพิ่มศกั ยภาพใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรวู้ ิชาชพี
และฝกึ อบรมวชิ าชพี ของชุมชน
กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นาโครงสรา้ งและเครือข่ายการเรยี นรู้
 มาตรฐานการอาชวี ศึกษา/ประกนั คณุ ภาพภายใน
มาตรฐานท่ี 2 ด้านบรหิ ารจดั การศึกษา
ตัวบ่งช้ีท่ี 2.6 ระดบั คณุ ภาพในการประสานงานความรว่ มมือเพื่อการบรหิ ารจัดการ
 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ดา้ นท่ี 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
องคป์ ระกอบท่ี 3 สอื่ และแหล่งเรียนรทู้ ่เี ก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตวั บ่งชี้ที่ 3.2 จัดทา/พัฒนา/เผยแพร่ แหลง่ เรียนรู้ในสถานศกึ ษา เพ่ือสนับสนุนการเรยี นรเู้ ก่ยี วกับ
หลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
 สถานศกึ ษาคณุ ธรรม จริยธรรม
องคป์ ระกอบที่ 1 ดา้ นการกระบวนการตวั
(การปลกู ฝังระเบยี บ วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ทีพ่ ่งึ ประสงค์)
 มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา / ประกนั คุณภาพภายใน
3.2.1 การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม
ตัวบ่งชีท้ ่ี 4.1 ระดับคณุ ภาพในการดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน
 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ดา้ นที่ 2 ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้
องคป์ ระกอบที่ 3 สอื่ และแหลง่ เรียนร้เู กยี่ วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตัวบ่งช้ที ี่ 3.2 จัดทา/พัฒนา/เผยแพร่ แหลง่ เรยี นรูใ้ นสถานศกึ ษาเพื่อสนบั สนุนการเรียนรู้

เกย่ี วกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 สถานศกึ ษาคุณธรรม จริยธรรม

องค์ประกอบที่ 1 ด้านกระบวนการ

95

ตัวชี้วดั ที่ 1.2 มีคณะทางานและใช้โครงงานคุณธรรม เปน็ เครอ่ื งมือในการพฒั นาสถานศึกษา
คุณธรรมอาชวี ศึกษาทีท่ ุกคนมีส่วนรว่ มในการลงมือปฏิบตั ิ
4. หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ไดใ้ ห้ความสาคัญ
ในการพัฒนาและส่งเสรมิ ความร่วมมอื ระหว่างหนว่ ยงานการศึกษา ภาครฐั และภาคเอกชนเพอื่ ให้การจัดการศกึ ษา
เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ สามารถผลติ กาลังคนไดส้ อดคล้องกบั ความต้องการของสถานประกอบการ

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ไดม้ อบนโยบายให้สถานศกึ ษาสังกดั สานักงานคณะกรรม
การการอาชีวศกึ ษา จดั การศึกษารว่ มกบั สถานประกอบการและหน่วยงานตา่ งๆในการรับนักเรยี น นักศึกษา
เขา้ ฝึกงานในระบบปกติ และระบบทวิภาคี เพื่อการพฒั นา และผลติ นักศกึ ษาส่ตู ลาดแรงงานอยา่ งมคี ุณภาพ
และมีประสิทธิภาพ เพื่อกา้ วเข้าสู่ตลาดแรงงานโลกต่อไป
5. วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ

1. เพ่ือสนับสนนุ การพฒั นาการผลิตกาลังคนของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบและ
ตอ่ เนอื่ ง

2. เพ่อื ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการท้งั ภาครัฐและเอกชน ท้ังในและตา่ งประเทศ
6. สถานท่ีดาเนนิ การ

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
7. เปา้ หมายโครงการ

เชงิ ปรมิ าณ
นกั เรยี น นกั ศึกษาในระดบั ชนั้ ปวช. และปวส. ทีจ่ ะออกฝกึ งานรว่ มกบั สถานประกอบการ

เชงิ คุณภาพ
นักเรียน นักศึกษาไดฝ้ กึ งานในสถานประกอบการทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทงั้ ในและต่างประเทศ

8. ระยะเวลาดาเนินงาน
ดาเนินการจดั ทาโครงการ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม 2562 ถงึ วันท่ี 30 กันยายน 2563

9. แผนการดาเนินการ

แผนงานกิจกรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.จัดประชุมครู บุคลากรทร่ี บั ผิดชอบงาน

2.วางแผนการดาเนินโครงการ

3.เสนอโครงการ

4.ดาเนินการตามกจิ กรรม

5.สรุปผลการดาเนนิ โครงการ

6.รายงานผล

96

10. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย จานวนเงิน รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจา่ ย งบประมาณ อดุ หนุน

รายการ 20,000.-
1. คา่ ใช้จ่ายในการทาความร่วมมือกับ
20,000.-
สถานประกอบการ
2. คา่ ใช้จ่ายในการซ้ือวัสดุอปุ กรณ์

รวมทั้งสน้ิ

11. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. นกั เรยี น นักศกึ ษาในระดับชั้น ปวช. และปวส. มีความพึงพอใจในการฝึกงานร่วมกับสถานประกอบการที่

ได้ทาความร่วมมอื
2. นักเรียน นกั ศกึ ษาไดฝ้ ึกงานในสถานประกอบการทั้งภาครฐั และเอกชน ทัง้ ในและตา่ งประเทศ

12. การตดิ ตามประเมินผล
1. แบบสอบถาม
2. แบบสังเกต

97

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ช่ือโครงการ สนบั สนุนและพัฒนางานฟาร์ม งานบรกิ ารและซอ่ มบารงุ เครื่องทุ่นแรงฟารม์
2. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลกั : (ระบุชื่อฝุาย) ฝุายแผนงานและความร่วมมือ
2.2 รอง : (ช่ือผรู้ บั ผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) นายเสกสรรค์ จันทร
3. สอดรบั นโยบาย
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน

5. ด้านปจั จยั พ้ืนฐาน 5.1 อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัตกิ าร โรงฝกึ งาน หรืองานฟาร์ม
4. หลกั การและเหตุผล

เนื่องจากงานบริการและซ่อมบารุงเคร่ืองทุ่นแรงฟาร์ม มีหน้าที่รับผิดชอบตามระเบียบของสานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาวา่ ด้วยการบริการสถานศกึ ษา วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีและได้รับผิดชอบเก่ียวกับ
ระบบในการใหบ้ รกิ ารและซอ่ มบารงุ เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ให้อยู่ในลักษณะท่ีปลอดภัย สะอาด
สะดวกในการตรวจสอบ และนาไปใชไ้ ดต้ ลอดเวลา ทาประวัติการบริการ การบารุงรักษา และการซ่อมแซมเคร่ืองทุ่น
แรงฟาร์มต่าง ๆ โดยจดบันทึกและทาประวัติ อย่างชัดเจน เพื่อใช้ในการบริการตรวจสภาพและซ่อมบารุงครั้งต่อไป
ประสานงานและใหค้ วามรว่ มมอื กบั ฝุายคณะวชิ า และหน่วยงานใกล้เคยี ง รบั จ้างบรกิ าร และให้บริการแก่หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง โดยสามารถให้บริการอยา่ งเพียงพอต่อความต้องการ
5. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ

1. เพอ่ื จัดทาประวัตหิ รือการใชง้ าน การซ่อมบารงุ วสั ดุอุปกรณ์และเครื่องมอื จดั หาวสั ดอุ ุปกรณ์อะไหลต่ ่าง ๆ
เพ่อื ใช้ในการให้บริการตรวจสภาพ และซ่อมบารงุ

2. เพอื่ ความร่วมมือ และประสานงานกบั คณะวิชา และงานตา่ ง ๆ ในสถานศึกษาในการปฏบิ ตั ิงาน
3. เพ่อื เปน็ การรักษาสภาพของเคร่อื งทุ่นแรงฟาร์มให้อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใช้งานตลอดเวลาและยาวนาน
4. เพ่ือจดั การเรยี นการสอนใหก้ ับนกั เรียน คณะวิชาชา่ งกลเกษตร
6. สถานท่ดี าเนินการ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปาชพี บางไทร
7. เป้าหมายผูร้ ับบริการ
7.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1. ให้บรกิ ารเคร่ืองทนุ่ แรงฟาร์มแก่คณะวชิ า และงานต่าง ๆ รวมถึงนักเรียน นกั ศึกษาโครงการปฏิรปู
การศกึ ษาเกษตรเพอื่ ชวี ิต และสาขาอ่นื ๆ ในสถานศึกษา จานวน 300 คน
2. ใหบ้ รกิ ารรถแทรกเตอร์ 4 คัน รถขดุ ตักไฮดรอลคิ 1 คนั และอปุ กรณท์ ุ่นแรงต่าง ๆ ตลอดเวลา
7.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
1. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน การเรยี นการสอนใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงตามวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู รา ปวช.
และ ปวส.

98

8. วิธกี ารดาเนินการ

1. เขียนโครงการเพือ่ รอรบั การอนมุ ตั ิ

2. ดาเนนิ การจดั ซอื้ วัสดตุ ามโครงการ ตลอดปีงบประมาณ 2563

3. ประเมินผล

9. ระยะเวลาดาเนินการ

ระยะเวลาในการดาเนนิ การ 1 ปี เร่มิ จาก 1 ต.ค. 2562 ถึง 30 ก.ย. 2563

10. แผนดาเนินการ

แผนงานกิจกรรมดาเนินการ ปีงบประมาณ 2563

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เหตุ

1. เสนอโครงการและ

อนุมตั ิโครงการ

2. ดาเนินการ

4. ประเมนิ ผล

11. งบประมาณคา่ ใชจ้ ่าย จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย งบประมาณ อุดหนุน

รายการ 25,000.-
1. คา่ จา้ งซ่อมแซม 20,000.-
2. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ และเครือ่ งมือตา่ ง ๆ 45,000.-

รวมทั้งส้นิ

12. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
1. สามารถให้บรกิ ารเครอื่ งมือท่นุ แรงฟาร์มแก่คณะศูนย์ และงานต่าง ๆ ในสถานศึกษาอยา่ งดี
2. สามารถรกั ษาสภาพของเคร่อื งทุ่นแรงฟาร์มให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านตลอดเวลา และยาวนาน
3. จดั การเรียนการสอนใหบ้ รกิ ารกบั นักเรยี น นักศึกษา จานวน 300 คน

99

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ช่อื โครงการ การเพิ่มประสิทธาพการผลิตพืชผกั ไรด้ นิ ปลอดภัยเพื่อการค้าและการศึกษา
2. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : (ระบชุ ่ือฝาุ ย) ฝุายแผนงานและความรว่ มมือ
2.2 รอง : (ชอื่ ผู้รับผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) งานฟาร์มไฮโดรโพนิกส์ แผนกวิชาพชื ศาสตรื
3. สอดรับนโยบาย/เชือ่ มโยง/ภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 2555 – 2569

2. หลกั สูตหลักการและการจัดการเรยี นการสอน
 มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา/ประกันคณุ ภาพภายใน

2.2 การจดั การเรยี นร้สู ู่การปฏิบตั ทิ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
 แผนกลยทุ ธศาสตร์สถานบันการอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง พ.ศ. 2559-2564

ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 พัฒนาการบริหารจัดการฟาร์มต้นแบบ
กลยุ ุทธ์ท่ี 1 พฒั นาระบบการบริหารจัดการฟาร์มต้นแบบให้เป็นแหล่งเรียนรขู้ องนกั เรยี น นักศกึ ษา
เกษตรกร และชุมชน
4. หลกั การและเหตุผล
ในสถานการืโลกปัจจุบันนี้ การบริโภคพืชผักถือว่าเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับการดารงชีพของมนุษย์เพราะพืชผัก
เป็นแหลง่ วิตามิน เกลือแร่ และเยื่อใย อีกทั้งยังมีสารอาหารที่ช่วยในการปูองกันการเกิดโครต่างๆ ทาให้ความนิยมใน
การบริโภคผักมีมากขึ้น แต่ต้องคานึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะพืชผักส่วนใหญ่ท่ีวางขายในท้องตลาดท่ัวไป
พบวา่ มสี ารพษิ ตกค้างที่เป็นอนั ตรายตอ่ ผบู้ ริโภค เพอื่ หลกึ เลยี่ งการบริโภคผกั ทีป่ นเป้ืนสารพษิ จากการใช้สารเคมีกาจัด
ศตั รูพชื รวมทัง้ เชือ่ โรคต่างๆ ท่ีปนเปือ้ นมากบั การปลูกพชื บนดนิ ซงึ่ ในปจั จุบนั การผลิตผักปลอดถัยมีอยู่หลายรูปแบบ
เช่น การปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักในโรงเรือน การปลูกผักไร้ดิน (Hydroponics) ฯลฯ แต่การปลูกพืช
บนดนิ มกมปี ัญหาเก่ียวกับโรคและแมลง เพราะมีการเจริญเติบโตช้า และอ่อนแอทาให้โรคและแมลงเข้าทาลายได้ง่าย
ส่วนการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หรือการปลูกพืชไร้ดินนั้น เป็นการปลูกที่เรียนแบบธรรมชาติ โดยการปลูกพืชใน
สารละลายธาตุอาหาร (Hydroponics) หรือปลูกลงในวัสดุปลูกที่ไม่ใช่ดิน (Soilless culture) ซึ่งอาศัยหลักการที่ว่า
พืชตอ้ งไดร้ ับธาตอุ าหารทีจ่ าเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโต ผ่านระบบรากพร้อมกับได้รับออซิเจน และแสดงแดดเพียงพอต่อ
การเจรญิ เติบโตทาใหพ้ ชื ท่ีปลกู ผกั แบบไมใ่ ช้ดนิ มีการเจริญเตบิ โต เตม็ ท่ีตามศักยภาพของพันธุกรรมเพราะสามารถใช้
สารละลายธาตุอาหารและนา้ ทีไ่ ดร้ บั อย่างมปี ระสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น การปลูกพืชแบบไม่ใช่ดิน จึงเป็นแนวทางเลือก
ใหม่ เพื่อลดการใชสารเคมีกาจัดศัตรูพืช เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยและระบบน้า ประหยัดพื้นท่ี และแรงงาน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร แผนกวิชาพืชศาสตร์ มีการจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชง สาขาเกษตรศาสตร์ และระดับประกาศนีบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
สาขาพืชศาสตร์ จึงมีความจาเป็นท่ีต้องดาเนินการพัฒนางานฟาร์มพืชไร้ดินให้มีความต่อเนื่อง มีผลผลิตพืชผัหไร้ดิน
ปลดภัยเพื่อการค้า เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานให้กับนักเรียน นักศึกษ และผู้สนใจศึกษาเรียนรู้การปลูกไร้ดิน เพื่อ
พฒั นาเป็นอาชพี ตอ่ ไป

100

5. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ

5.1 เพ่ือพัฒนาใหเ้ ปน็ หาร์มต้นแบบในการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

5.2 เพ่อื เป็นสถานทฝี่ กึ ปฏบิ ัตและเป็นแหลง่ เรยี นร้ใู นการฝึกอบรมถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารปลูกพืชโดยไมใ่ ช้

ดิน ใหก้ ับนักเรยี น นักศกึ ษา เกษตรกร และชุมชน

5.3 เพื่อให้มีรายไดใ้ ห้กบั สถานศึกษา และนามาพฒั นางานฟารม์ ต่อไป

6. เปา้ หมายผ้รู ับบรกิ าร

6.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ

6.1.1 มีฟารม์ ปลูกพืชโดยไม่ใชด้ ิน ในการเยรการสอน จานวนตะ ปลูก 60 โต๊ะ

6.1.2 มีนกั เรยี นนกั ศึกษา เข้าศึกษาการปลูกผักโดยไม่ใช้ดนิ จานวน 300 คน

6.1.3 มีผเู้ ข้าศึกษาดงู าน จานวน 1,000 คน

6.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

6.1.1 มฟี ารม์ ปลูกพชื โดยไม่ใช้ดนิ ในการเยรการสอน จานวนตะ ปลูก 60 โต๊ะ

6.1.2 เปน็ แหลง่ เรยี นรู้การปลูกผกั โดยไม่ใชด้ นิ ของนักเรยี นนกั ศึกษา ซึง่ นักเรียน นักศึกษาสามารถนาความรู้

และประสบการณ์ไปประยุกต์ใชใ้ นการประกอบอาชีพและศึกษาต่อในอนาคตร้อยละ 80

6.1.3 มีผู้เขา้ ศึกษาดงู าน ฝึกทักษะและประสบการณใ์ นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ร้อยละ 80

7. ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ

7.1 ) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเปาู หมายมีความรู้เขา้ ใจหลกั การปลกู พืชไร้ดนิ และสามารถปลูกพชื ไรด้ นิ ที่อย่าง

มคี ณุ ภาพ

7.2) มีรายได้จากการจาหน่ายผลผลติ งานฟาร์มปลกู พืชไรด้ ิน จานวน 12 เดือน ๆ ละ 12,000 บาท รวม

ทงั้ สนิ้ 144,000 บาท

8. ระยะเวลาดาเนนิ การ/สถานที่

ระยะเวลาในการดาเนนิ การ 1 ปี เร่มิ จาก 1 ต.ค. 2562 ถึง 30 ก.ย. 2563

สถานทด่ี าเนนิ การ : งานฟาร์มปลูกพชื ไร้ดิน แผนกวิชาพชื ศาสตร์

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร

9. แผนดาเนนิ การ

แผนงานกจิ กรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เหตุ

1. เสนอโครงการ

และอนุมตั โิ ครงการ

2. ดาเนินการ

3. ประเมนิ ผล

101

10. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย รายการ จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย รวมท้ังสิ้น งบประมาณ อุดหนนุ

1. คา่ จา้ งซอ่ มแซม 80,000.-
80,000.-

11. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
วทิ ยาลัยฯ มีฟาร์มปลูกพืชไร้ดนิ ทมี่ คี ุณภาพ ไดร้ บั การพัฒนาอย่างย่งั ยนื มีผลผลติ พชื ผักไร้ดินปลอดภัย

จาหน่ายสรา้ งรายได้ ใหก้ ับสถานศกึ ษา และเป็นแหลง่ เรยี นรู้ให้กับนักเรียนนักศึกษา และประชาชนท่วั ไป

102

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร
สถาบนั อาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชอ่ื โครงการ การเพมิ่ ประสิทธิภาพผลติ ผกั ปลอดภยั เพ่ือการจาหน่ายและการศึกษา
2. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : (ระบุชือ่ ฝาุ ย) ฝุายวิชาการ และ แผนงานและความร่วมมือ
2.2 รอง : (ช่ือผู้รับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน) นายสมศักดิ์ กาฬวงศ์ แผนกวชิ าพชื ศาสตร์
3. ความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/ภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เร่อื ง ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกันคุณภาพภายใน

2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
2.2 จัดกระบวนการเรียนร้เู น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญโดยสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนได้พัฒนา

 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- องคป์ ระกอบท่ี 2 วิชาการ ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.2 ดาเนนิ ตามนโยบายและแผนปฏิบตั งิ านประจาปี

 สถานศกึ ษาคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นกระบวนการศึกษา
4. หลักการและเหตุผล

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดการจดั การศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทกุ คนมี
ความสามารถในการเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือวา่ ผู้เรียนมีความสาคญั ทสี่ ดุ กระบวนการจดั การศึกษาต้อง
สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเติมศักยภาพ ประกอบดา้ นหลักมุมอาชีวศึกษาเกษตร เน้นผู้เรียน
ให้ประกอบอาชีพไดเ้ พื่อการดารงสุขภาพ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของตัวเอง ครอบครัว และชุมชนใหย้ ง่ั ยนื พืชมกั เป็น
อาหารทคี่ นไทยนยิ มนามาใช้รับประทานกนั มาก เนือ่ งจากมีคุณค่าทางอาหารวติ ามินและแรธ่ าตตุ ่างๆ ท่เี ป็นประโยชน์
ตอ่ รา่ งกายสูง ซ่งึ พฤตกิ รรมบรโิ ภคของคนไทยในปัจจุบนั เปลยี่ นไปคอื หันมาบริโภคอาหารโดยเฉพาะผักที่ปลอดภัย
จากสารพิษ ด้วยเหตุผลดงั กลา่ วจงึ เล้งเห็นความสาคญั คณุ ค่าทางผักทีน่ ามาบรโิ ภค จงึ ทาการปลกู ผักปลอดภัยจาก
สารพษิ ของวธิ กี ารปอู งกนั กาจดั ศัตรู การวิธมี าประยุกตใ์ ช้รว่ มกนั เป็นการทดแทนหรอื ลดปรมิ าณการใช้สารเคมใี ห้
น้อยลง เพื่อความปลอดภยั ต่อผเู้ รียน ผูบ้ รโิ ภค และสิง่ แวดล้อม
5. วัตถุประสงคโ์ ครงการ

6.1 เพือ่ ให้ได้ผักปลอดภยั จากสารพิษไวบ้ ริโภค และจาหน่าย
6.2 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนนกั ศึกษา มีความรู้ ทักษะและประสบการณใ์ นการปลูกผกั ปลอดภยั
6.3 เพ่ือใหน้ ักเรียน นกั ศกึ ษาไดร้ ว่ มกนั ทากจิ กรรมกลุ่ม
6. เปา้ หมาย
6.1 เชงิ ปริมาณ

- ผลติ ผกั ในพน้ื ท่ี 1.5 ไร่
- ผลติ ผักไมน่ อ้ ยกว่า 10 ชนดิ มีรายไดน้ อ้ ยกว่า 20,000 บาท

103

6.2 เชิงคณุ ภาพ
- นกั เรียน นกั ศึกษา สาขาพชื ศาสตร์ทุกคน ไดฝ้ ึกทักษะการผลติ ผักปลอดภัย
- นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ผ้บู รโิ ภค ได้บริโภคผกั ปลอดภยั

7. ตัวช้ีวัดความสาเร็จของโครงการ
7.1 ตวั ชี้วดั ด้านปริมาณ
- ผู้เรียน ทุกคนได้รับความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์การผลติ ผกั ปลอดภัย
- ผบู้ ริโภคทกุ คน ไดบ้ รโิ ภค ผักปลอดภัย
7.2 ตัวชวี้ ดั ด้านคุณภาพ
- นกั เรียน นกั ศึกษา และผูส้ นใจเปลยี่ นพฤติกรรมการผลิตผักปลอดภยั
- นักเรยี น นกั ศกึ ษา และผู้สนใจ มีสขุ ภาพอนามัยดีขน้ึ

8. สถานทีด่ าเนนิ การ หมวดงานพืชผกั แผนกวชิ าพืชศาสตร์
9. ระยะเวลาดาเนินการ (ระบุวนั ที/่ เดือน/ปี พ.ศ.) 1 ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563

แผนงานกิจกรรมดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2563

กจิ กรรม ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ปงี บประมาณ 2563 ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย หมายเหตุ
ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค

1. เสนอ/อนุมัติ โครงการ

2. เตรยี มพ้ืนท/่ี วัสดอุ ปุ กรณ์

3. ให้ความรู้และดาเนนิ การ

4. สรปุ และรายงานผล

10. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย รายการ จานวนเงิน รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจา่ ย รวมทั้งส้นิ งบประมาณ อดุ หนนุ

1. คา่ วสั ดุ 5,000.-
5,000.-

11. การตดิ ตามและประเมินผล
- รายงานความก้าวหน้าและความพงึ พอใจ ให้วิทยาลัยฯ ทรายเปน็ ระยะๆ
- สภาพของเครื่องมือ

104

12. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
- นกั เรยี น นกั ศึกษา มีทักษะในการปลูกผักปลอดภยั
- นกั เรยี น นักศกึ ษา และผู้สนใจไดบ้ ริโภคผกั ปลอดภยั
- นักเรยี น นักศกึ ษา เหน็ ความสาคญั ของผกั ปลอดภัย
- นกั เรียน นกั ศกึ ษา สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาและใชใ้ นการดารงชวี ติ ต่อไปได้

105

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร
สถาบันอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ช่ือโครงการ การพัฒนาระบบการดูแลรักษาแปลงไม้ผลเพ่ือการศึกษา
2. ผู้รับผิดชอบโครงการ

2.1 หลัก : (ระบุช่อื ฝุาย) ฝุายวิชาการ
2.2 รอง : (ชอ่ื ผูร้ ับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน) นายสมศกั ด์ิ มงคลถิน่ งานฟาร์มไม้ผล
3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใต้ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรือ่ ง ยกระดบั คุณภาพการจัดอาชีวศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน

2 ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน
2.2 จดั กระบวนการเรยี นรู้เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญโดยสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนได้พัฒนา

 สถานศกึ ษาคุณธรรม จริยธรรม ดา้ น ความซื้อสตั ย์สุจรติ ขยันหมน่ั เพียร
4. หลักการและเหตุผล

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร ได้เปิดทาการเรยี นการสอน ด้านเกษตรศาสตร์ มี
นักเรียนและนักศึกษา ทจ่ี ะต้องมแี ปลงตัวอย่างไรฝึกปฏิบัติเพอ่ื ให้เกิดทักษะแก่นกั เรยี นนักศกึ ษา และเกษตรกร
ผู้สนใจจึงจดั ทาโครงการน้ีขึ้น
5. วตั ถุประสงคโ์ ครงการ

6.1 เพอ่ื เป็นแหล่งฝกึ ปฏบิ ตั ิของนักเรยี นนักศึกษา และเกษตรกรผู้สนใจ
6.2 เพ่อื เป็นแหลง่ เรยี นรขู้ องนักเรียนนกั ศึกษาในการเรียนการสอน
6. เปา้ หมาย
6.1 เชงิ ปริมาณ

- นักเรยี นนักศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. เกษตรกรผสู้ นใจ จานวน 50 คน
6.2 เชงิ คณุ ภาพ

- นกั เรยี น นักศึกษา มคี วามรู้เตม็ ตามหลกั สูตร
7. ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของโครงการ

7.1 ตวั ชีว้ ดั ด้านปริมาณ
- นักเรยี นทัง้ หมดสอบผา่ นในบทเรยี น

7.2 ตวั ช้ีวัดดา้ นคุณภาพ
- นกั เรยี นมีความรตู้ รงตามหลักสตู ร

8. สถานทีด่ าเนนิ การ แปลงไม้ผลของวทิ ยาลยั ฯ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร

106

9. ระยะเวลาดาเนินการ (ระบุวนั ที่/เดือน/ปี พ.ศ.) 1 ตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563

แผนงานกิจกรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กจิ กรรม ปีงบประมาณ 2563 หมายเหตุ
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

ดูแลรกั ษา

ฝึกทกั ษะ

10. งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ย

หมวดรายจ่าย จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
รายการ งบประมาณ อดุ หนุน

1. คา่ วสั ดุ 12,500.-

รวมท้ังส้นิ 12,500.-

11. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
- ผลการเรยี นการสอนของเด็กนักเรียน

12. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
- นักเรยี นนกั ศกึ ษามีความรู้เต็มตามหลักสตู ร

107

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร
สถาบันการการอาชีวศกึ ษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชอ่ื โครงการ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื พชื เพื่อการศกึ ษา
2. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ

2.1. หลัก : ฝุายแผนงานและความร่วมมอื
2.2. รอง : (ชอ่ื ผู้รบั ผดิ ชอบ/แผนกวชิ า/งาน) นางสาวรพพี ร ทองย่งิ แผนกวชิ าพชื ศาสตร์
3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใต้ยุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ดา้ นหลกั สูตรและการจัดการเรยี นการสอน
 มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา/ประกันคณุ ภาพภายใน

2 ด้านหลกั สตู รและการจัดการเรยี นการสอน
2.2 จดั กระบวนการเรียนรู้เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยสง่ เสริมให้ผู้เรยี นได้พัฒนา

4. หลกั การและเหตุผล
การเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื พืช เป็นการรวบรวมเทคนิคต่างๆ มาใชใ้ นการดูแลรกั ษาและการเจรญิ เตบิ โต

ของ เซลล์พืช หรอื เนอื้ เย่ือพืช หรอื อวยั วะชิ้นส่วนของพชื ภายใต้สภาวะการปลอดเชอ้ื และสภาวะแวดล้อมที่
เหมาะสมต่อการเพาะเลีย้ งเนื้อเย่อื พชื (Plant tissue culture) ชนิดนั้นๆ โดยใส่ไวบ้ นอาหารไวส้ าหรบั การ
เพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือพชื (Plant tissue culture)เพอ่ื ให้ได้พชื ชนดิ นั้นทง้ั ตน้ การเพาะเล้ยี งเน้ือเย่ือพืชสามารถ
เพม่ิ จานวนตน้ พันธ์พุ ืชท่ตี ้องการในปรมิ าณอนั มากในเวลาอันรวดเร็วได้ ตน้ พืชทมี่ ีลกั ษณะทางพนั ธุกรรมเหมอื น
ตน้ เดมิ สามารถผลติ ต้นพืชจานวนหลายๆตน้ ที่มขี นาดสม่าเสมอกนั ได้
ตน้ พืชท่ปี ราศจากโรค วธิ ีนีส้ ามารถเก็บรกั ษาพันธุ์พืชพ้นื เมืองท่ีมอี ยเู่ ดมิ พันธ์ุพืชหายาก พนั ธุพ์ ชื ที่ใกลส้ ูญพันธ์ุ
พนั ธพ์ุ ืชท่มี ีลักษณะท่ีดี พันธ์ุพืชทม่ี ลี ักษณะท่ีต้องการ หรือพันธ์ุพชื ทีแ่ ลกเปลย่ี นระหวา่ งประเทศได้
สามารถใช้ปรบั ปรงุ พนั ธุพ์ ืช ผลติ พชื ทปี่ ราศจากสารพษิ ตกค้าง เพ่ือการสกัดสารจากต้นพชื เพื่อนามาใช้
ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆได้ ผลิตพนั ธพุ์ ชื ทมี่ ีความตา้ นทานหรือทนทานได้ เช่น พนั ธุ์พชื ท่ีทนตอ่ ดินเค็ม หรือ ดิน
เปรีย้ ว, พนั ธุพ์ ชื ทที่ นต่อสภาพอากาศร้อนหรอื หนาว, พันธ์ุพืชที่ทนต่อสารเคมีกาจัดศัตรูพชื , พันธ์พุ ชื ทที่ นต่อโรค
ตา่ งๆ และสารพิษต่างๆท่ีเกดิ จากพวก เช้ือรา แบคทเี รีย และไวรัส นบั เปน็ เทคโนโลยที ่ีน่าสนใจ แผนกงานพืช
ศาสตร์ เรง่ เหน็ ความสาคัญและประโยชนใ์ นการจดั ให้มีการเรยี น การสอนและฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้
ทกั ษะและประสบการณ์ให้แก่ผู้ที่เขา้ ศึกษาหาความร้แู ละเป็นการเก็บรักษาพันธุพ์ ืชในโครงการอนุรักษ์พันธ์กุ รรม
พชื ฯ ส่งเสริมใหช้ ุมชนนาไปเพาะปลูกเพื่อเพ่มิ พ้นื ทปี่ ุาถวายเนื่องในเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรม
ราชาภิเษก ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชปณิธานทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดงานในโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดารใิ ห้มีความยั่งยืน เพ่ือสร้างประโยชนใ์ ห้กับประชาชนและประเทศชาติ จงึ จัดทาโครงการ
เพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่ือพืช โดยมีวตั ถุประสงค์ดังน้ี
5. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ เปน็ แหล่งศกึ ษาหาความรู้ ฝึกทักษะและประสบการณ์ดา้ นการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช
2. เพอื่ เป็นแนวทางในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ
3. สง่ เสรมิ และผลิตพชื เพอื่ การอนรุ กั ษใ์ นโครงการอนุรักษ์พันธุก์ รรมพชื ฯ ส่งเสรมิ ใหช้ ุมชนนาไป

108

เพาะปลูกเพื่อเพิ่มพื้นทีป่ ุาถวายเน่อื งในเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อยหู่ ัวมพี ระราชปณิธานทรงสบื สาน รักษา และต่อยอดงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารใิ หม้ ีความยงั่ ยืน
เพื่อสรา้ งประโยชนใ์ ห้กับประชาชนและประเทศชาติ
6. เปูาหมาย

6.1. เชิงปริมาณ
1. สามารถเป็นแหลง่ ศึกษาหาความรู้ ฝกึ ทักษะและประสบการณด์ า้ นการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื พืชแก่

นกั เรยี น นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนท่สี นใจจนวน 60 คน/ปี
2. นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนทีเ่ ข้ารับการศกึ ษาสามารถนาความรู้ ทักษะและ

ประสบการณ์ไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพอยา่ งน้อย 1 ราย
3. ส่งเสรมิ และผลิตพืชเพ่ือการอนรุ กั ษ์ในโครงการอนุรกั ษ์พันธ์ุกรรมพชื ฯ และส่งเสริมให้ชมุ ชน

นาไปเพาะปลกู เพ่ือเพิ่มพื้นที่ปาุ ถวายเนื่องในเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ซง่ึ พระบาท
สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชปณธิ านทรงสบื สาน รักษา และตอ่ ยอดงานในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารใิ หม้ ี
ความย่งั ยืน เพื่อสร้างประโยชน์ใหก้ ับประชาชนและประเทศชาติในพ้นื ท่ีไมน่ ้อยกว่า 5 ไร่

6.2 เชิงคุณภาพ
1. นักเรยี น นักศกึ ษา เกษตรกรและประชาชนทีส่ นใจเขา้ มาศกึ ษามีความรู้ ฝึกทกั ษะและ

ประสบการณ์ดา้ นการเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือพืชได้
2. นักเรยี น นกั ศกึ ษา เกษตรกรและประชาชนที่สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้ ฝึกทกั ษะและ

ประสบการณ์ดา้ นการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพชื สามารถนาความรู้เป็นแนวทางในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
3. สามารถสง่ เสรมิ และผลติ พืชเพอื่ การอนุรกั ษใ์ นโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุ์กรรมพชื ฯ และส่งเสริมให้

ชุมชนนาไปเพาะปลกู เพ่อื เพ่ิมพืน้ ทป่ี ุาถวายเนอ่ื งในเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก ซึ่ง
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มพี ระราชปณธิ านทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดงานในโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริให้มีความยง่ั ยืน เพื่อสร้างประโยชนใ์ หก้ ับประชาชนและประเทศชาติ
7. ตวั ชีว้ ดั

7.1. เชิงปริมาณ
1. จานวนนักเรียน นกั ศึกษา เกษตรกรและประชาชนท่ีสนใจเขา้ มาศกึ ษาหาความรู้ ฝึกทักษะ

และประสบการณ์ด้านการเพาะเลย้ี งเน้ือเยื่อพชื
2. จานวนนกั เรียน นักศกึ ษา เกษตรกรและประชาชนที่สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้ ฝึกทกั ษะ

และประสบการณด์ า้ นการเพาะเลยี้ งเน้ือเย่ือพชื สามารถนาความรู้เป็นแนวทางในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
3. จานวนผลติ พืชท่ีเพาะเล้ยี งเนือ้ เยือ่ พืช จานวนผู้ทมี่ ารับพนั ธุไ์ มแ้ ละจานวนพ้ืนทีเ่ พาะปลูก เพอ่ื

การอนุรักษ์ในโครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชฯ และส่งเสริมให้ปลูกในชุมชนเพื่อเพ่ิมพ้ืนท่ีปุาถวายเน่ืองในเนื่องใน
โอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชปณิธานทรงสืบสาน รักษา
และต่อยอดงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริให้มีความย่ังยืน เพื่อสร้างประโยชน์ให้กับประชาชนและ
ประเทศชาติ

109

7.2 เชงิ คุณภาพ

1. นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนที่สนใจเข้ามาศกึ ษามีความรู้ มที ักษะและ

ประสบการณ์และสามารถเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพชื ได้

2. นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนท่ีสนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้ ฝึกทักษะและ

ประสบการณด์ า้ นการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืชสามารถนาความรเู้ ปน็ แนวทางในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพได้

3. ผลิตพชื ทีเ่ พาะเลย้ี งเน้อื เย่ือพืช จานวนผู้ท่ีมารับพันธ์ุไม้และจานวนพื้นท่ีเพาะปลูก เพ่ือการอนุรักษ์

ในโครงการอนุรักษ์พนั ธุ์กรรมพชื ฯ และส่งเสริมใหป้ ลูกในชมุ ชนเพ่ือเพมิ่ พ้นื ท่ีปุาถวายเนื่องในเน่ืองในโอกาสมหามงคล

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชปณิธานทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดงานใน

โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริใหม้ คี วามย่งั ยืน เพอื่ สรา้ งประโยชน์ใหก้ ับประชาชนและประเทศชาติได้

8. ระยะเวลา / สถานท่ีดาเนินการ

ระยะเวลาทปี่ ฏิบตั ิงาน 1 ตลุ าคม 2562 – 30 ตุลาคาม 2563

สถานทด่ี าเนินการ :โรงเรอื นเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่ือพชื วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชพี บางไทร

9. ระยะเวลาดาเนนิ การ(ระบุวนั ที่/เดอื น/ปี พ.ศ.)

แผนงานกิจกรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ 2563

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย

ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย เหตุ

- เสนอโครงการ

- จดั เตรยี มวสั ด-ุ อุปกรณ์

- จัดเตรยี มพนั ธ์พุ ชื

- เตรียมอาหารเพาะเล้ยี งพืช

- เพาะเล้ียงไมล้ งบนอาหาร

- ถา่ ยไม้เปลย่ี นอาหาร
ครั้งที่ 1-2

- ถ่ายไมอ้ อกจากอาหาร

- อนบุ าลไมแ้ ละนาไปเพาะปลูก

10. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย รายการ จานวนเงนิ รายได้ หมายเหตุ
หมวดรายจ่าย รวมท้ังสน้ิ งบประมาณ อุดหนุน

1. ค่าวสั ดุ 15,000.-
15,000.-

11. การตดิ ตามประเมนิ ผล
- การนิเทศขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
- จานวนผ้เู ข้าร่วมโรงการ
- จานวนต้นไม้และพื้นทปี่ ลูก

110

12. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
1. เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ฝกึ ทกั ษะและประสบการณด์ ้านการเพาะเลย้ี งเน้ือเย่ือพืชแก่

นักเรียน นกั ศกึ ษา เกษตรกรและประชาชนทีส่ นใจจนวน 60 คน/ปี
2. นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เกษตรกรและประชาชนทเี่ ขา้ รบั การศกึ ษาสามารถนาความรู้ ทักษะและ

ประสบการณ์ไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพอย่างนอ้ ย 1 ราย
3. สง่ เสริมและผลติ พชื เพ่ือการอนุรักษ์ในโครงการอนุรกั ษพ์ ันธ์ุกรรมพืชฯ และสง่ เสรมิ ให้ชมุ ชน

นาไปเพาะปลูกเพื่อเพ่ิมพน้ื ท่ีปุาถวายเน่อื งในเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งพระบาท
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมีพระราชปณิธานทรงสืบสาน รักษา และตอ่ ยอดงานในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริใหม้ ี
ความยงั่ ยนื เพื่อสรา้ งประโยชนใ์ ห้กบั ประชาชนและประเทศชาติในพื้นท่ีไมน่ ้อยกว่า 5 ไร่

111

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบันการการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ช่อื โครงการ การดแู ลระบบการผลติ เห็ดเพื่อการค้าและการศึกษา
2. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ

2.1. หลัก : นางสาวรพพี ร ทองยิ่ง
2.2. รอง : (ชือ่ ผรู้ ับผดิ ชอบ/แผนกวชิ า/งาน) แผนกวิชาพชื ศาสตร์
3. ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน
 มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา/ประกันคณุ ภาพภายใน

2 ด้านหลกั สตู รและการจัดการเรยี นการสอน
2.2 จัดกระบวนการเรียนร้เู นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั โดยส่งเสริมให้ผ้เู รียนได้พัฒนา

4. หลักการและเหตุผล
เหด็ จัดเปน็ พืชเศรษฐกจิ ทมี่ คี วามสาคญั เนอ่ื งจากเหด็ จัดเป็นอาหารท่ีมีคณุ คา่ ทางโภชนาการสงู โดยเฉพาะ

สารอาหารประเภทโปรตีน วิตามนิ และแรธ่ าตุนอกจากนเ้ี หด็ ยังประกอบด้วยกรดอะมิโนทจ่ี าเป็นตอ่ ร่างกายมากกว่า
20 ชนิดและมีอยู่ 9 ชนิดที่ร่างกายไม่สามารถสร้างได้ การบริโภคเห็ดจึงทาใหร้ ่างกายได้รับสารอาหารท่มี ีประโยชน์
และปราศจากสารพิษ เน่ืองจากเห็ดใชร้ ะยะเวลาในการเพาะปลูกสน้ั วัสดทุ ใี่ ช้เพาะเหด็ ส่วนใหญไ่ ด้มาจากวสั ดุเหลือ
ใช้ทางการเกษตรท่ีเกบ็ เกี่ยวผลผลิตแล้ว เชน่ ฟางขา้ ว ตอซงั ขา้ ว ตอซังข้าวโพด เปลือกถ่ัวชนดิ ตา่ ง ๆ ต้นกล้วยตาก
แห้ง ทลายปาลม์ กากถวั่ ผกั ตบชวาตากแหง้ ฯลฯ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศิลปาชีพบางไทร แผนกวชิ า
พืชศาสตร์ จดั ให้มีการดาเนนิ งานดา้ นการเรียน-การสอนในวิชาการผลิตเห็ด โครงการผลิตเห็ดใหแ้ ก่นักเรียน
นกั ศึกษาและจัดอบรมให้แก่เกษตรกรและประชาชนทีส่ นใจ เพ่ือนาให้นาความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ไปใชเ้ ป็น
แนวทางในการประกอบเปน็ อาชีพดา้ นการเพาะเหด็ ได้
5. วตั ถุประสงค์

5.1 เพอ่ื เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ฝกึ ทกั ษะและประสบการณ์ด้านการผลิตเห็ด
5.2 เพอ่ื เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
5.3 เพือ่ เปน็ แหล่งอาหารท่ีมีคณุ คา่ ทางโภชนาการแก่นักเรียนโครงการเกษตรเพ่ือชีวิตและเพ่ือสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่
สถานศึกษา
6. เป้าหมาย
6.1. เชงิ ปรมิ าณ

6.1.1 ถา่ ยทอดความรู้ ฝึกทักษะและประสบการณด์ า้ นการผลิตเห็ดนกั เรยี น นักศกึ ษา เกษตรกรและ
ประชาชนท่วั ไปท่สี นใจไม่น้อยกวา่ 60 คน/ปี

6.1.2 นักเรยี น นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนทั่วไปท่ไี ด้รับความร้/ู อบรม นาความร้ทู ่ีได้ไปเป็น
แนวทางในการประกอบอาชีพอยา่ งนอ้ ย 1 ราย

6.1.3 เป็นแหล่งอาหารที่มีคุณคา่ ทางโภชนาการแกน่ ักเรยี นโครงการเกษตรเพ่ือชีวติ และเพ่ือสร้างรายได้
ให้แก่สถานศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 60,000 บาท/ปี

112


Click to View FlipBook Version