The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อานนท์ ดิษฐ์จาด, 2022-05-05 00:18:14

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์

เพอ่ื การศกึ ษา
พระนครศรีอยธุ ยา

แผนปฏบิ ัติการ

ประจำปงบประมาณ

2563

Êӹѡ§Ò¹Ê‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃÈ¡Ö Éҹ͡ÃкºáÅСÒÃÈÖ¡ÉÒµÒÁÍѸÂÒÈÑÂ
ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹»Å´Ñ ¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸Ô¡ÒÃ
¡ÃзÃÇ§È¡Ö ÉÒ¸Ô¡ÒÃ

ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนปฏิบัตกิ ารศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | ก

การอนุมตั แิ ผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา

เพอื่ ให้การจดั การศกึ ษาบรรลปุ ระสงค์ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษาได้จดั ทำแผนปฏิบัติการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ทิศทางการดำเนินงาน
ของสถานศึกษา โครงการ จำนวน 12 โครงการ ประกอบด้วยงบจัดกิจกรรมศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
พระนครศรีอยุธยา และงบพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณา
โครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
พระนครศรีอยุธยาแลว้ เหน็ ชอบแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกลา่ ว

ลงชอื่ ผูเ้ ห็นชอบ
(นายธนา คลอ่ งณรงค)์

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา

ลงช่อื ผู้อนุมัติ
(นางชยาภรณ์ อรุณรตั น์)

ผอู้ ำนวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยุธยา

แผนปฏบิ ตั ิการศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | ข

คำนำ

ในปีงบประมาณ 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ในฐานะสถานศึกษา
ข้ึนตรงสำนกั งาน กศน. ไดน้ ำยุทธศาสตร์นโยบายและจดุ เนน้ ของสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ไปส่กู ารปฏิบตั ิอย่างเปน็ รปู ธรรม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการ นักเรียน นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป
ที่สนใจ ซึ่งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยาได้พัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และเปา้ หมายการให้บริการในเชิงรุก ในหลายๆ กิจกรรมและโครงการ

หวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์
พันธกิจ วัตถุประสงค์การตั้งสถานศึกษา นโยบายของรัฐบาล และนโยบายสำนักงาน กศน. อีกทั้งสะท้อน
ให้เห็นถึงความมุ่งมั่นบากบั่นของบุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยาทุกคน
ในการจัดบริการและจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ให้ผู้รับบริการมีความ
พงึ พอใจและสามารถนำไปสู่การพัฒนาสังคมอย่างยงั่ ยนื

(นางชยาภรณ์ อรณุ รตั น์)
ผูอ้ ำนวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาพระนครศรีอยุธยา

แผนปฏิบัตกิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | ค

สารบัญ หนา้

เรอ่ื ง ก

การอนุมัตแิ ผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ค
ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ฉ
คำนำ 1
สารบญั 1
สารบญั ตาราง 2
บทท่ี 1 ข้อมลู สภาพทัว่ ไปของศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา 2
4
ความเป็นมาของ ศว.พระนครศรอี ยธุ ยา 4
ลกั ษณะทีต่ ัง้ และอาณาเขต 4
อาณาเขตตดิ ต่อ 4
LOGO 4
MASCOT 4
ปรัชญา 4
อตั ลกั ษณ์ 5
เอกลกั ษณ์ 6
วิสัยทศั น์ 6
พนั ธกิจ 7
โครงสร้างการบรหิ าร 7
เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั 8
อำนาจและหน้าท่ี 8
ขอ้ มลู สถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่บี รกิ าร 9
ข้อมูลประชากรในเขตพ้ืนทบี่ รกิ าร 11
ทำเนียบผ้บู รหิ าร 11
คณะกรรมการสถานศกึ ษา 11
บุคลากร 11
อาคารสถานที่ 12
ยานพาหนะ 12
ระบบรักษาความปลอดภัย 13
งบประมาณ 14
แหล่งเรียนรู้ 14
ภาคเี ครือขา่ ย 14
การใหบ้ รกิ ารวัน เวลา การเปิดบรกิ าร
การเข้ารบั บรกิ าร
การจดั เกบ็ รายได้สถานศกึ ษา
อตั ราการจดั เก็บเงนิ รายได้ของสถานศึกษา

แผนปฏบิ ัตกิ ารศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | ง

สารบัญ (ตอ่ )

เรอ่ื ง หนา้

บทท่ี 2 ทศิ ทางการดำเนนิ งาน 16

ผลการประเมนิ สถานภาพและการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกของศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษา

พระนครศรอี ยุธยา ในภาพรวม 17

ผลการประเมนิ สถานภาพและการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในของศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษา

พระนครศรีอยุธยาในภาพรวม 17

ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกของศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา 18

ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในของศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 19

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 19

ค่านยิ มรว่ มขององคก์ ร (Share Value) 20

เป้าหมายการให้บริการ 21

กลยทุ ธ์ 22

บทที่ 3 นำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ การบริหารจัดการและติดตามประเมนิ ผล 24

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเป้าหมายของศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื

การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา 25

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของโครงการตามแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2563 30

โครงการค่ายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 35

โครงการพฒั นาการจดั กจิ กรรมการศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 39

โครงการจัดกจิ กรรมบริการวชิ าการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 43

โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่บี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 48

โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 52

โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 56

โครงการสบื สานศาสตร์พระราชาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

60

โครงการวิทย์คิดสร้างสรรค์ดว้ ยโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 64

โครงการ “science for kids” จุดประกายความคิดแบบวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 68

โครงการพฒั นาคณุ ภาพครแู ละบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ้ ม ประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2563 72

โครงการพัฒนาบคุ ลากรเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพการปฏิบตั งิ าน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 76

โครงการพัฒนาศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 82

แผนปฏิบัติการศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | จ

สารบัญ (ต่อ)

เร่ือง หน้า

บทที่ 4 รายละเอยี ดแผนการใชง้ บประมาณ 86
งบประมาณทไ่ี ดร้ บั และการใชจ้ ่าย 86
รายละเอียดการใชจ้ ่ายงบประมาณ 87
ตารางงบจัดกจิ กรรมศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 94
ตารางงบพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 96
97
บทท่ี 5 การกำกบั ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
ภาคผนวก
คณะผูจ้ ัดทำ

แผนปฏิบัติการศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | ฉ

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา้

1-1 เป้าประสงคแ์ ละตัวช้ีวดั 6

1-2 จำนวนประชากรและสถานศกึ ษา ในเขตพ้ืนที่บรกิ ารของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษา

พระนครศรอี ยุธยา จำแนกรายจังหวดั 7

1-3 จำนวนอำเภอและประชากร ในเขตพน้ื ทบ่ี รกิ ารของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา

พระนครศรีอยธุ ยา จำแนกรายจงั หวัด 7

1-4 รายละเอียดบุคลากร 9

1-5 แหล่งเรยี นรู้ 12

1-6 ภาคีเครอื ข่าย 12

2-1 ผลการประเมนิ สถานภาพและการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา

พระนครศรีอยธุ ยาในภาพรวม 17

2-2 ผลการประเมินสถานภาพและการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในของศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา

พระนครศรอี ยุธยาในภาพรวม 17

2-3 ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกของศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา 18

2-4 ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในของศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 19

4-1 งบประมาณทีไ่ ดร้ บั จดั สรรบคุ ลากรภาครัฐ 88

4-2 งบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรรพน้ื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน 88

4-3 งบประมาณที่ไดร้ บั จัดสรรงบจัดกจิ กรรม

ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา 89

4-4 งบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรรงบพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามอธั ยาศยั

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา 90

4-5 งบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรรงบลงทนุ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา 91

4-6 รายละเอยี ดโครงการงบจดั กจิ กรรม

ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยาประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 94

4-7 รายละเอียดโครงการงบพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 96

แผนปฏบิ ตั กิ ารศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 1

บทที่ 1
ข้อมลู สภาพทวั่ ไปของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา

ช่ือสถานศึกษา : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา
การติดต่อ : เลขท่ี 115 หมู่ 6 ถนนโรจนะ ตำบลไผล่ งิ อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา

จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา รหสั ไปรษณยี ์ 13000
โทรศัพท.์ 035-352558 โทรสาร 035-352559
E-mail : [email protected]
Website : http://ay-sci.go.th/
สังกัด : สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ความเปน็ มาของ ศว.พระนครศรอี ยธุ ยา
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เดิมมีเพียงแห่งเดียวซึ่งอยู่ในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2537

คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ขยายเครือข่ายศูนย์วิทยาศาสตร์
เพื่อการศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค โดยการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาแห่งชาติ แห่งที่ 3 ที่รังสิต
และมีโครงการจัดสร้างศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จังหวัดละ 1 แห่ง แต่ในระยะแรกกำหนดสร้าง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาให้ครบทุกเขตการศึกษา 12 เขตก่อน ภายในวงเงิน 470,500,000 บาท
เมื่อดำเนินการครบทุกเขตการศึกษา และเมื่อมีความพร้อมที่จะดำเนินการในจังหวัดอื่นก็ให้ดำเนินการได้
กรมการศึกษานอกโรงเรียน จึงได้มอบหมายให้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่ อการศึกษา ดำเนินการจัดสร้าง
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาแห่งชาติแห่งที่ 3 ที่รังสิต (แห่งที่ 2 อยู่ที่หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์)
และจัดสร้างศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาในเขตการศกึ ษาให้ครบทุกเขตก่อน กรมการศึกษานอกโรงเรียน
จึงไดจ้ ัดสรรงบประมาณให้สรา้ งศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาตรัง นครศรธี รรมราช นครราชสีมา นครสวรรค์
ยะลา กาญจนบุรี สมุทรสาคร ลำปาง พระนครศรีอยุธยา อุบลราชธานี ขอนแก่น และสระแกว้ จึงกล่าวได้วา่
ในขณะน้มี ีศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาครบทกุ เขตการศึกษาแลว้

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา หรือชื่อเดิม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ
การศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ (กรมการศกึ ษานอกโรงเรียนเดิม)
จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2538 เป็นการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนคนไทยได้เข้าถงึ
แหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัยด้านวิทยาศาสตร์ได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง ตามความสนใจและศักยภาพ
ของตนเอง โดยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยาและเครือข่าย มีบทบาทหน้าที่ใน
การให้บริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป็นการสนองตอบ ต่อนโยบายรัฐ
และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2 พุทธศักราช 2545
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ทำพิธีเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่
21 พฤษภาคม 2542 ได้เปดิ ใหบ้ ริการการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ แก่นักเรียน นักศึกษาทั้งในและนอกระบบ
ครู คณาจารย์และประชาชนทั่วไป โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งลักษณะการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั ในหลากหลายกจิ กรรม เชน่ กจิ กรรมการเรยี นรูผ้ ่านนิทรรศการ ค่ายวิทยาศาสตร์
กิจกรรมการศกึ ษา และการบรกิ ารวชิ าการ

แผนปฏิบตั กิ ารศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 2

ลกั ษณะทีต่ งั้ และอาณาเขต
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จัดสร้างขึ้นบนที่ดินของวัดใหญ่ชัยมงคล

อยใู่ นรั้วเดียวกับสำนักงาน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ศนู ย์ กศน.อำเภอพระนครศรีอยธุ ยา และหอ้ งสมุด
ประชาชนจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา มีเนือ้ ท่ปี ระมาณ 6 ไร่เศษ

อาณาเขตตดิ ตอ่ ตดิ ตอ่ กับ ถนนสายสนามกฬี า - วัดพระญาติการาม
ติดต่อกับ ศูนย์ กศน.อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั สำนกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ทศิ ใต้
ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ สนามกฬี าจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ทศิ ตะวันตก

แผนปฏิบตั ิการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 3

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา

สถานศกึ ษา : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา

ทตี่ ั้ง : 115 หมทู่ ี่ 6 ถนนโรจนะ ตำบลไผล่ งิ อำเภอพระนครศรอี ยุธยา

จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 13000

โทรศพั ท์ : 035-352558

โทรสาร : 035-352559

อเี มล์ : [email protected]

เวบ็ ไซต์ : www.ay_sci.go.th

จำนวนเนอ้ื ที่ : ประมาณ 6 ไร่

พ้นื ท่รี บั ผิดชอบ : สิงหบ์ รุ ี ชยั นาท ลพบรุ ี สระบรุ ี อา่ งทอง และพระนครศรอี ยธุ ยา

แผนที่พนื้ ท่รี ับผิดชอบใหบ้ ริการ

แผนปฏบิ ัติการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 4

LOGO

MASCOT

ปรชั ญา
สรา้ งระบบคิด ปลูกจิตวทิ ยาศาสตร์

อตั ลกั ษณ์
ร้คู ิด มจี ติ วิทยาศาสตร์

เอกลักษณ์
วทิ ยาศาสตร์สญั จร นครประวตั ศิ าสตร์

วสิ ยั ทัศน์
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา จัดการศึกษาตลอดชีวิตด้านวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดล้อม เพื่อสรา้ งโอกาสในการเรยี นรใู้ ห้กบั นักเรยี น นักศึกษาทง้ั ในระบบนอกระบบโรงเรยี น
และประชาชน อย่างมคี ณุ ภาพและทว่ั ถึง
พันธกิจ

1) จัดกจิ กรรมการเรียนรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อมแก่นกั เรียน นกั ศกึ ษาท้งั ใน
ระบบ นอกระบบโรงเรียน และประชาชนทว่ั ไป ในเขตพื้นทีบ่ ริการ

2) ศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อและกระบวนการเรียนรู้ด้าน
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ ม

3) เผยแพร่ บริการ หลักสูตร สื่อ และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดล้อม

4) พัฒนาครู และบุคลากรผู้รับผิดชอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสง่ิ แวดลอ้ ม

5) ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้าน
วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

แผนปฏบิ ตั กิ ารศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 5

โครงสรา้ งการบรหิ าร

ผู้อานวยการ

คณะกรรมการ
สถานศึกษา

กลุม่ อานวยการ กลุม่ วิชาการ กลุ่มส่งเสรมิ
และบรกิ าร
งานธุรการและสารบรรณ งานวจิ ัย สาธติ ทดลอง
งานการเงนิ และบัญชี งานนวตั กรรมและเทคโนโลยี งานนิทรรศการ
งานพัสดุ งานประกันคณุ ภาพการศึกษา งานนิทรรศการเคล่อื นท่ี (สญั จรสู่สถานศึกษา
งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ งานหลกั สตู ร สือ่ กระบวนการเรยี นรู้ และมหกรรมวิทยาศาสตร)์
งานบคุ ลากร งานพัฒนารูปแบบกิจกรรม งานการเรยี นรผู้ ่านนิทรรศการ
งานการตลาดและประชาสัมพนั ธ์ งานกจิ กรรมค่าย
งานแผนงานและโครงการ งานกิจกรรมการศึกษา
งานเทคนิคและซอ่ มบารุง งานผลิตและเผยแพร่
งานนเิ ทศและประเมินผล งานสง่ เสรมิ มาตรฐานการศึกษา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนเครอื ข่าย
งานบรกิ ารวชิ าการและ กอบรม

แผนปฏบิ ตั กิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 6

เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชีว้ ดั
ตารางท่ี 1-1 เปา้ ประสงค์และตวั ชีว้ ดั

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็
1 ผรู้ บั บริการดา้ นวทิ ยาศาสตรไ์ ด้รบั การพฒั นาทกั ษะ 1. รอ้ ยละผเู้ ข้ารบั บรกิ ารตามเปา้ หมาย

และเจตคติ ตลอดจนสามารถนำความรไู้ ปใช้ในการ 1. ร้อยละผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ในการบริการในระดบั ดีขึน้ ไป
2 ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในการเขา้ รบั บรกิ ารการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ ม 1. จำนวนส่ือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
3 มสี ื่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ ม
เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ ม
4 มหี นว่ ยงานเครอื ขา่ ยเข้ารว่ มจัดกจิ กรรม 1. รอ้ ยละจำนวนหนว่ ยงานเครอื ข่ายร่วมจัด
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อม กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสงิ่ แวดล้อม
5 มผี ลการวจิ ยั เชงิ พฒั นากระบวนการจัดกจิ กรรมการ
เรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ ม 1. จำนวนบคุ ลากรในองค์กรไดร้ บั การพัฒนา
และสามารถจัดการเรียนรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์
6 การบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพเปน็ ทีย่ อมรบั เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอ้ ม

2. จำนวนรายงานการวจิ ยั เชงิ พฒั นา
กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ดา้ น
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดล้อม

1. องคก์ รได้รบั การพฒั นาและมคี วามพรอ้ ม ใน
การบริการแก่ประชาชนเพิ่มข้นึ

อำนาจและหน้าท่ี

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ข้อ 6 ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60 ลงวันที่

25 มีนาคม 2551 กำหนดให้ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา เรียกโดยยอ่ ว่า ศว.พระนครศรอี ยุธยา
มอี ำนาจและหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) จัดและบริการการเรยี นรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม แกน่ ักเรียนนักศึกษา

ท้ังในและนอกระบบโรงเรยี นและประชาชนในพน้ื ท่ที ่รี บั ผิดชอบ
2) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการเรียนรู้

ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม อาทิ ธรรมชาตวิ ทิ ยาเทคโนโลยี ท่เี หมาะสมดาราศาสตร์

3) เผยแพร่และบริการรูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

4) พัฒนาครู อาจารย์ วทิ ยากร และบุคลากรทางการศกึ ษา ผรู้ บั ผิดชอบการจัดกจิ กรรมการ

เรียนร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ้ ม
5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้าน

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อม

6) ปฏิบัตงิ านอน่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

แผนปฏบิ ตั ิการศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 7

ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา รบั ผดิ ชอบพนื้ ท่ีบริการ 6 จงั หวัด คือ สงิ ห์บุรี
ชัยนาท ลพบรุ ี สระบุรี อา่ งทอง และพระนครศรีอยุธยา

ข้อมลู สถานศึกษาในเขตพ้ืนทบี่ ริการ

ตารางที่ 1-2 จำนวนประชากรและสถานศึกษา ในเขตพ้ืนที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
พระนครศรอี ยธุ ยา จำแนกรายจังหวัด

จงั หวัด ประชากร สังกดั จำนวนสถานศึกษา ( โรง ) รวม
(คน) สพฐ.
สังกดั สังกดั สงั กัด สงั กัด
อาชีว เอกชน กศน. ท้องถ่ิน

พระนครศรีอยุธยา 817,441 389 8 41 202 26 666

อา่ งทอง 280,840 168 3 9 80 11 271

ลพบุรี 758,733 374 7 48 138 16 583

สระบุรี 209,377 292 7 33 125 27 484

สิงหบ์ ุรี 328,263 135 5 16 50 7 213

ชัยนาท 645,024 202 3 10 63 8 286

รวม 3,039,678 1,560 33 157 658 95 2,503

ที่มา : http://www.gis.moe.go.th/Point/School.php ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตรด์ ้านการศกึ ษา (GIS)
ข้อมูล ณ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2562

ข้อมูลประชากรในเขตพืน้ ที่บริการ

ตารางที่ 1-3 จำนวนอำเภอและประชากร ในเขตพื้นที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
พระนครศรอี ยธุ ยา จำแนกรายจังหวดั

จงั หวัด จำนวนอำเภอ ชาย ประชากร ( คน ) รวม
393,570 817,441
พระนครศรีอยุธยา 16 134,592 หญงิ 280,840
อา่ งทอง 7 423,871
ลพบรุ ี 11 381,080 146,248 758,733
สระบุรี 13 99,673 209,377
สิงห์บรุ ี 6 377,653
ชัยนาท 8 157,944 109,704 328,263
รวม 61 318,128 645,024
1,484,987 170,319 3,039,678
326,896
1,554,691

ทม่ี า : http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/ รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน
ประจำปี พ.ศ.2561 สำนักบริหารการทะเบยี น กรมการปกครอง ขอ้ มลู ณ 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2562

แผนปฏิบตั ิการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 8

ทำเนียบผู้บรหิ าร

ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา มผี ูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ดงั น้ี

1) นายสรุ พล อรุณรตั น์ ดำรงตำแหนง่ ปี พ.ศ. 2540 – 2547

2) นายพยงุ ศักดิ์ บำรงุ รฐั ดำรงตำแหนง่ ปี พ.ศ. 2547 – 2548

3) นายชวโรจน์ ทองอำไพ (รกั ษาการฯ) ดำรงตำแหน่งปี พ.ศ. 2548 – 2549

4) นายสงดั ประดษิ ฐสวุ รรณ์ ดำรงตำแหน่งปี พ.ศ. 2549 – 2551

5) นายสชุ าติ มาลากรรณ์ ดำรงตำแหนง่ ปี พ.ศ. 2551 – 2560

6) นางชยาภรณ์ อรุณรัตน์ ดำรงตำแหน่งปี พ.ศ. 2560 – ปัจจุบนั

คณะกรรมการสถานศกึ ษา

ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา มีคณะกรรมการสถานศึกษา ดงั น้ี

1) นายธนา คลอ่ งณรงค์ ตำแหนง่ ประธานกรรมการสถานศกึ ษา

2) นายบรรจง น้อยทอง ตำแหน่ง กรรมการ

3) นายดนัย วรรณโฆสติ ตำแหนง่ กรรมการ

4) นางสาวหทัยรตั น์ เตชะวัฒนวรรณา ตำแหนง่ กรรมการ

5) รอ้ ยตำรวจโทถวิล ตะสารกิ า ตำแหนง่ กรรมการ

6) นางสาวกาญจนา พิศาภาค ตำแหน่ง กรรมการ

7) นางสาวดารานัย รบเมอื ง ตำแหนง่ กรรมการ

8) สิบเอกปรีชา ชโลธร ตำแหนง่ กรรมการ

9) นางชยาภรณ์ อรุณรัตน์ ตำแหน่ง กรรมการและเลขานกุ าร

10) นางอญั ชรา หวงั วรี ะ ตำแหน่ง ผูช้ ว่ ยเลขานุการ

คณะกรรมการสถานศึกษามีอำนาจหนา้ ที่ ดงั น้ี
1) ให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการการศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัย และให้ความเห็นชอบหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
2) ส่งเสริมให้มีการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องค์กรอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ

สถานศึกษา
3) ติดตามและเสนอแนะผลการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศยั ของสถานศกึ ษา

4) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรมการส่งเสริมสนับสนุน และประสานความร่วมมือการศึ กษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกำหนด

แผนปฏิบตั ิการศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 9

บุคลากร

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดสรรอัตรากำลังให้

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จำนวน 10 อัตรา แยกเป็นข้าราชการ จำนวน 5 อัตรา ลูกจ้างประจำ

จำนวน 1 อัตรา และพนักงานราชการ จำนวน 4 อัตรา และปัจจุบันศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

พระนครศรอี ยุธยา มีบุคลากรทัง้ หมด จำนวน 22 อัตรา แยกเป็น ข้าราชการ จำนวน 5 อัตรา ลูกจา้ งประจำ

จำนวน 1 อัตรา พนักงานราชการ จำนวน 4 อตั รา ลูกจา้ งชว่ั คราว จำนวน 12 อตั รา ประกอบดว้ ย

มจี ำนวนบคุ ลากรทง้ั สิ้น 22 คน จำแนกเปน็

ผู้บรหิ าร 1 คน

ขา้ ราชการครู 4 คน

ลกู จา้ งประจำ 1 คน

พนกั งานราชการ 4 คน

ลูกจา้ งชั่วคราว (จา้ งเหมาตามระเบยี บพสั ด)ุ 12 คน

ตารางที่ 1-4 รายละเอียดบุคลากร

ชื่อ-สกลุ ตำแหน่ง วุฒกิ ารศกึ ษา สาขา
1) ผบู้ รหิ าร
นางชยาภรณ์ อรณุ รตั น์ ผูอ้ ำนวยการ การศกึ ษา การศึกษาผู้ใหญ่
สถานศึกษา มหาบณั ฑิต
2) ขา้ ราชการครู
นางอัญชรา หวังวรี ะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ครุศาสตร์ การศกึ ษานอก
มหาบัณฑติ ระบบโรงเรียน
นางสาวขวญั กมล แก้วคง ครชู ำนาญการพเิ ศษ วทิ ยาศาสตรบนั ฑิต/ เกษตรศาสตร/์
ครศุ าสตรบ์ ณั ฑิต วิทยาศาสตรท์ ่วั ไป
นางสาวขวญั อิสรา ทองโคตร ครูผ้ชู ว่ ย
นางเสาวนยี ์ เสระพล ครผู ู้ช่วย วิทยาศาสตรบัณฑติ จลุ ชีววิทยา
3) ลูกจ้างประจำ การศกึ ษามหาบันฑติ การบรหิ ารการศึกษา
นายสมชาย แกว้ เขยี ว
พนักงานนำชม วิทยาศาสตรบัณฑติ / เทคโนโลยกี ่อสรา้ ง
4) พนักงานราชการ
นางสาวศริ วิ รรณ ศิรทิ รัพย์ ระดับ ส.2/หวั หนา้ ป.บัณฑิต

นางประพฒั สร พันธ์ธุ นโสภณ นกั วชิ าการเงินและ บรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ การบญั ชี
นายอานนท์ ดิษฐ์จาด บัญชี
บรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ การจดั การทัว่ ไป
นางสาวกมลชนก ตะสารกิ า นกั วิชาการพสั ดุ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
นกั วิเคราะหน์ โยบาย
และแผน วิทยาศาสตรบัณฑิต ชวี วิทยา

เจ้าพนักงานธรุ การ

แผนปฏิบตั ิการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 10

ตารางที่ 1-4 (ต่อ) รายละเอียดบุคลากร

5) ลูกจ้างชัว่ คราว (จา้ งเหมาตามระเบียบพัสด)ุ

นายอนกุ ลู เมฆสุทศั น์ นักวชิ าการ วทิ ยาศาสตรบัณฑิต/ วทิ ยาศาสตร์การกีฬา
ป.บณั ฑิต สาธารณสขุ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา สาธารสขุ ชมุ ชน
สาธารณสุข
นางสาวพศิ สมัย คล้ายอุบล นกั วชิ าการ ศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ

นางสาวปรางค์แก้ว แหลมสขุ นกั วชิ าการ

วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา

นายเดชา พลู สวสั ดิ์ นักวิชาการ ครศุ าสตรบณั ฑิต วิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา

นางสาวประภัสสร รอดรัตน์ นกั วิชาการ วิทยาศาสตรบัณฑติ คณิตศาสตรป์ ระยกุ ต์

วทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา

นายณัฐวฒุ ิ รอตเกษม นักวชิ าการ วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ

วทิ ยาศาสตร์ศึกษา

นายฐาปนกิ ผาสุกะกลุ นกั วชิ าการ ศึกษาศาสตรบัณฑิต คอมพิวเตอรศ์ ึกษา

วิทยาศาสตร์ศึกษา

นายชนินทร์ ศรีพทิ ักษ์ พนกั งานขับรถยนต์ ประถมศกึ ษา -
ประกาศนยี บตั ร ช่างซ่อมบำรุง
นายบรรพต ผลกรรณ พนกั งานขบั รถยนต์ วิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.)
ประถมศกึ ษา -
นายประสงค์ ประสพเนตร์ คนสวน คหกรรมศาสตร์
นางสาวบษุ รินทร์ ภสู ง่า พนักงานบริการ ประกาศนยี บตั ร
วชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ดนตรไี ทย
นางมณฑา สดุ ลาภา พนกั งานบริการ
ประกาศนยี บัตร
วิชาชีพ (ปวช.)

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ได้จัดให้บุคลากรจำนวน 22 อัตรา
ทั้งข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ และลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งนักวิชาการศึกษา เป็นวิทยากร
ประจำฐานวชิ าการต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกอาคาร

แผนปฏิบตั ิการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 11

อาคารสถานที่

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ประมาณ 6 ไร่เศษ มีอาคารสำหรบั

จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จำนวน 7 อาคาร และอาคารสนับสนนุ จำนวน 7 อาคาร ประกอบด้วย

- อาคารศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 อาคาร

- อาคารบทปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 อาคาร

- อาคารนิทรรศการพลังงานใสสะอาด จำนวน 1 อาคาร

- อาคารนิทรรศการเกษตรธรรมชาติ จำนวน 1 อาคาร

- อาคารนิทรรศการวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 1 อาคาร

- อาคารนทิ รรศการพระบดิ าแห่งเทคโนโลยไี ทย จำนวน 1 อาคาร

- อาคารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3 ช้นั จำนวน 1 อาคาร

- อาคารหอ้ งสมุดวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 อาคาร

- ห้องนำ้ ชาย จำนวน 2 อาคาร

- ห้องนำ้ หญิง จำนวน 1 อาคาร

- โรงเก็บของ จำนวน 1 อาคาร

- โรงเรอื นเพาะชำ จำนวน 1 อาคาร

- โรงจอดรถนทิ รรศการเคลื่อนที่ จำนวน 1 อาคาร

ยานพาหนะ

- รถนิทรรศการเคลอ่ื นที่ “วทิ ยาศาสตรม์ หัศจรรย์” 6 ล้อ จำนวน 1 คนั

- รถตบู้ รกิ ารเคล่ือนที่ “วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ” 4 ลอ้ จำนวน 1 คนั

- รถบรรทกุ 6 ล้อ จำนวน 1 คัน

ระบบรกั ษาความปลอดภยั
ใช้ระบบจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามระเบียบพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร

พสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

งบประมาณ

งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในแต่ละปี ได้รับงบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย คือ
งบดำเนินงานหมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าครุภัณฑ์ท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน และหมวด

รายจ่ายอ่ืน
สำหรับแหล่งเงินทุนในการดำเนินการสว่ นใหญ่ ได้รับจัดสรรงบประมาณจากสำนักงานส่งเสรมิ

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และรายไดส้ ถานศึกษาจากการเก็บค่าบริการจากผรู้ บั บริการ

แผนปฏิบัตกิ ารศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 12

แหล่งเรียนรู้
ตารางท่ี 1-5 แหลง่ เรียนรู้

ชื่อแหล่งเรียนรู้ ทต่ี งั้ /สถานท่ตี ดิ ตอ่ องค์ความรู้
คลอง 5 อ.คลองหลวง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ้ ม
1. พิพธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ จ.ปทมุ ธานี
แห่งชาติ เรยี นรอู้ นรุ กั ษ์ธรรมชาติอยรู่ ่วมกนั อย่างสมดุล
อ. อุทยั
2. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตนั แลนด์ จ.พระนครศรอี ยุธยา ความรเู้ กย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์
ดินแดนแหง่ ความสมดลุ
อ.พระนครศรีอยุธยา ความรู้เกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์
3. อทุ ยานประวตั ิศาสตร์ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
พระนครศรอี ยธุ ยา ความรู้เกยี่ วกับประวตั ิศาสตร์

4. พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ ความรู้เกี่ยวกบั ประวัตศิ าสตร์
เจ้าสามพระยา ความรเู้ ก่ยี วกับประวัติศาสตร์
6. ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์ ความรูเ้ กี่ยวกบั ประวัตศิ าสตร์
พระนครศรอี ยธุ ยา ความรู้เก่ียวกับประวัตศิ าสตร์
ความรเู้ กี่ยวกบั ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ชี ีวติ ไทย
6. วดั หน้าพระเมรุ ดา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. วิหารหลวงพ่อมงคลบพติ ร ความรู้เกยี่ วกบั เรอื ไทยโบราณ
8. วดั ทา่ การ้อง
9. วัดใหญ่ชยั มงคล
10. ตลาดน้ำอโยธยา
11. บา้ นของพ่อ
12. พพิ ิธภัณฑ์เรอื ไทย

ภาคเี ครือข่าย
ตารางท่ี 1-6 ภาคีเครอื ข่าย

ชอ่ื ภาคีเครือขา่ ย ที่ตั้ง / ทีอ่ ยู่

1. บรษิ ัทไทยอนิ ดสั เตรยี ล เอสเตท จำกัด 99 ม.5 ถ.สายเอเชีย-นครสวรรค์ ต.บา้ นหว้า
(นคิ มอุตสาหกรรมไฮเทค) อำเภอบางปะอิน จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
2. สำนกั งานโบราณคดีและพพิ ิธภณั ฑส์ ถาน ถนนอทู่ อง ตำบลประตูชยั อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา
แหง่ ชาติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3. อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบลประตชู ัย
พระนครศรอี ยธุ ยา อำเภอพระนครศรีอยธุ ยา จงั หวดั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
4. พิพธิ ภณั ฑ์สถานแหง่ ชาตเิ จ้าสามพระยา ถนนโรจนะ ตำบลประตชู ัย อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
5. โรงเรยี นประตชู ัย
ถนนอูท่ อง ตำบลท่าวาสกุ รี จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

แผนปฏิบัติการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 13

ตารางที่ 1-6 (ต่อ) ภาคเี ครอื ขา่ ย

ช่ือภาคเี ครือขา่ ย ท่ตี ง้ั / ทอี่ ยู่

6. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ 924 ถนนสขุ มุ วิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
เทคโนโลยี กรงุ เทพฯ

7. องคก์ ารพพิ ธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ เทคโนธานี ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง
จังหวัดปทุมธานี

8. การไฟฟ้า า่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย 53 หมู่2 ถนนจรญั สนิทวงศ์ อำเภอบางกรวย
จงั หวัดนนทบุรี

9. โรงเรยี นอยุธยาวิทยาลัย 56 ถนนป่าโทน หมูท่ ี่2 ตำบลประตูชัย อำเภอ
พระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
10. โรงเรียนจอมสรุ างค์อปุ ถัมภ์
117 หมู่ 5 ถนนอทู่ อง ตำบลหอรัตนไชย
11. มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

12. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 96 ถนนปรีดพี นมยงค์ ตำบลประตูชยั อำเภอ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ พระนครศรอี ยธุ ยา จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
13. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ
ศูนย์หนั ตรา 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร
กรงุ เทพมหานคร
14. วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรอี ยุธยา
60 หมู่ 3 ถ.สายเอเซีย (กรงุ เทพฯ - นครสวรรค์ ) ตำบล
15. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตันแลนด์ ดนิ แดนแห่ง หันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด
ความสมดุล พระนครศรอี ยุธยา
29 ถนนอทู่ อง ตำบลทา่ วาสกุ รี อำเภอเมือง
พระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

111/1 หมู่ 4 ตำบลอทุ ยั อำเภออุทัย
จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 13210

การให้บรกิ ารวนั เวลา การเปิดบริการ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เปิดให้บริการการเรียนรู้ทั้งแบบหมู่คณะ
และรายบคุ คล ต้ังแตเ่ วลา 08.30 – 16.30 น. ทกุ วนั ในวนั ราชการ

แผนปฏบิ ัตกิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 14

การเขา้ รบั บรกิ าร
การเข้ารบั บริการการเรยี นรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดล้อม ของนกั เรยี น นักศึกษา

บคุ ลากรทางการศึกษา และประชาชนท่ัวไป สามารถเข้ารบั บรกิ ารไดห้ ลายวิธี คอื
1) การเข้าชมแบบหมู่คณะ เพอื่ ความสะดวกในการเขา้ ชมและการจัดวทิ ยากรนำชม ควรตดิ ต่อขอจอง
วัน-เวลาลว่ งหน้า ดว้ ยตนเองทางโทรศพั ท์ 035-352558 โทรสาร 035-352559

E – mail : [email protected] หรือ http://ay-sci.go.th
2) การเข้าชมเป็นรายบุคคล หรือกับครอบครวั ตามอัธยาศัย
3) การใหบ้ ริการนอกสถานท่ี ศนู ยว์ ทิ ย์ฯ จะจดั รถนิทรรศการเคล่อื นท่ี พรอ้ มวทิ ยากร ออกให้บริการใน

โอกาสและสถานทต่ี า่ ง ๆ ตามแผนทีไ่ ด้วางไว้ หรอื ตามทีส่ ถานศึกษาแจ้งความประสงคม์ าเป็นรายกรณี
4) การเข้าค่ายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม สถานศึกษาจองวันเวลา และหลักสตู ร จะทำ

ความตกลงกบั ศนู ย์วทิ ย์ฯ ในเร่อื งการส่งนักเรยี น นกั ศกึ ษา มาเข้าคา่ ยท้งั แบบคา่ ยกลางวนั และค่ายพักแรม

5) การสมัครเข้าอบรมเป็นรายหลักสูตร เช่น การอบรมครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ การประกวด/แข่งขัน
ทางวิทยาศาสตร์ รับสมัครทงั้ แบบรายบคุ คล หรอื เป็นหมูค่ ณะ

การจดั เก็บรายไดส้ ถานศกึ ษา

อนุสนธิ ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยเงินรายได้สถานศึกษาของรัฐที่ไมเ่ ป็นนิติบุคคล พ.ศ.
2545 หนงั สอื กระทรวงการคลัง ท่ี กค.0409.3/334 ลงวันที่ 7 มกราคม 2548 เรื่อง การกำหนดสถานศกึ ษาใน
สังกดั สำนักบริการงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น เป็นสถานศึกษาตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยเงนิ รายได้

สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล พ.ศ. 2546 และหนังสือสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
ที่ ศธ 0210.05/2545 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2548 เรื่อง การจัดเก็บรายได้สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตาม
อัธยาศัย จึงกำหนดอัตราการจัดเกบ็ รายไดข้ องศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา ตั้งแต่วนั ที่

1 ตุลาคม 2561 ดังน้ี

อตั ราการจดั เกบ็ เงนิ รายได้ของสถานศกึ ษา

1) ค่าเข้าชมนทิ รรศการ เป็นหมคู่ ณะตั้งแต่ 15 คนขน้ึ ไป คิดอัตรา 30 บาท / คน (เฉพาะนิทรรศการมวี ิทยากรนำชม)

ยกเว้นพระภกิ ษสุ ามเณร ผสู้ งู อายุ ผ้พู ิการ และผอู้ ยใู่ นความดแู ลของสถานสงเคราะหต์ า่ ง ๆ

2) คา่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมคา่ ย (จำนวนนักเรยี น / นกั ศึกษา ต่อ 1 คา่ ย ไมเ่ กนิ 150 คน)

2.1) กจิ กรรมค่ายในศูนย์ ฯ

- หลกั สูตร 1 วนั (ไป – กลบั ) 60 บาท / คน (ไมร่ วมคา่ อาหาร)

- หลกั สตู ร 2 วนั (ไป – กลับ) 120 บาท / คน (ไมร่ วมค่าอาหาร)

- หลกั สตู ร 2 วัน 1 คืน 150 บาท / คน (ไม่รวมค่าอาหาร)

- หลกั สตู ร 3 วัน 2 คนื 250 บาท / คน (ไม่รวมค่าอาหาร)

- หลกั สตู ร 2 วนั 1 คืน 250 บาท / คน (ไม่รวมค่าอาหาร)

(มวี ันหยดุ ราชการ 1 วัน/ 2 วนั )

- หลักสตู ร 3 วัน 2 คนื 300 บาท / คน (ไม่รวมค่าอาหาร)

(มีวนั หยดุ ราชการ 1 วัน/ 2 วัน/ 3 วัน)

แผนปฏบิ ัตกิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 15

2.2) กจิ กรรมคา่ ยนอกศนู ย์ ฯ

- หลกั สตู ร 2 วัน 1 คนื 150 บาท / คน (ไม่รวมค่าอาหาร)

- หลกั สตู ร 3 วัน 2 คืน 200 บาท / คน (ไม่รวมคา่ อาหาร)

การจัดยานพาหนะสำหรับเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมค่ายนอกศูนย์ ฯ

หนว่ ยงาน / สถานศึกษาทีจ่ ัดเป็นผ้รู ับผิดชอบคา่ ใชจ้ ่าย

หมายเหตุ - ค่าเกียรติบตั รสำหรบั คณะครู กจิ กรรมค่ายทกุ หลักสูตร 20 บาท / คน

- ค่าวิทยากร /เบี้ยเลี้ยง/ ค่าใช้จ่ายไปราชการ/ ค่าน้ำมันรถของทางราชการให้ผู้รับบริการ

เบิกจ่ายให้

3) คา่ ฝึกอบรมสัมมนา ตามคา่ ใช้จ่ายจรงิ ในแตล่ ะโครงการ

4) คา่ จำหนา่ ยสนิ คา้ ผลติ ภัณฑ์ ผลติ ผล และคา่ บริการอน่ื ๆ ของสถานศึกษา ตามอตั ราท่สี ถานศึกษากำหนด

5) คา่ บรกิ ารนิทรรศการเคล่ือนที่/ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเ์ คลอื่ นท่ี เกบ็ คา่ บรกิ ารดังน้ี

5.1) ภายในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา วนั ละ 2,500 บาท

5.2) นอกจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา(ในเขตบรกิ าร) วันละ 3,000 บาท

5.3) นอกเขตบริการ ไป-กลบั ไม่เกิน 100 กม.) วันละ 3,500 บาท

5.4) นอกเขตบริการ ไป-กลบั เกนิ 100 กม.) วันละ 4,000 บาท

6) ค่าเชา่ สถานทแ่ี ละอุปกรณ์ของศนู ย์วิทย์ ฯ

6.1) คา่ เชา่ ห้องประชมุ วันละ 3,000 บาท

6.2) ค่าเชา่ เตน็ ท์ ขนาด 1 – 3 คน หลงั ละ 100 บาท/วัน

หมายเหตุ

- ผเู้ ชา่ ตอ้ งรบั ผดิ ชอบการชำรดุ หรือสูญเสียใด ๆ อนั เกดิ จากเตน็ ทท์ ่ีเช่าไปโดยไม่มเี งือ่ นไขใด ๆ ท้ังสิ้น

โดยชดใช้เปน็ เงนิ หรอื จดั หาใหม่ใหม้ คี ณุ ภาพเหมือนเดิม

- เตน็ ทห์ ากฉดี ขาดหรอื เป็นรูอันเนือ่ งจากไฟหรอื บหุ รี่ ของมคี ม ผเู้ ช่าต้องซื้อเปล่ียนให้ใหม่

- ในการมารบั เตน็ ท์ต้องใหข้ า้ ราชการมาเซ็นรบั เตน็ ท์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา

่ายพัสดุจึงจะจ่ายของให้ และนำส่งคืนศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ตามกำหนด

เวลาในใบยมื พัสดุ

7) การยกเว้น การลดอตั ราการเกบ็ ค่าใช้จ่าย ใหอ้ ยู่ในดลุ พินจิ ของผู้อำนวยการสถานศึกษา

แผนปฏบิ ตั ิการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 16

บทที่ 2
ทิศทางการดำเนินงาน

บนพื้นฐานของสถานการณ์สภาวะความเสี่ยงของสังคมไทย และทิศทางการพัฒนาประเทศ
ประเทศไทยต้องเผชญิ กับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกหลายด้าน ซึ่งจะมผี ลกระทบกับการพัฒนาประเทศ
เป็นอย่างยิ่งทั้งด้านการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโน
เทคโนโลยี ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ ดังนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมใหแ้ ก่ คน สังคม และระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสมสามารถพัฒนาประเทศใ ห้ก้าวหน้าต่อไป
เพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาประเทศในระยะ
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และการกำหนดวิสัยทศั น์แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 ยงั คงมีความ
ต่อเนื่องจากวิสยั ทัศน์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ฉบับที่ 11 และกรอบหลักการของ
การวางแผนท่ีนอ้ มนำ และประยุกต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยดึ คนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการพัฒนา
อย่างมสี ว่ นรว่ ม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดลุ ยัง่ ยนื โดยวสิ ัยทศั น์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 ต้อง
ให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้
ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่
การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศและเอื้อต่อการพัฒนาคนอย่างสอดคล้อง
กับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต และยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืนบนฐานความรู้
ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ ด้วยการส่งเสรมิ การลงทุนวิจัยและพัฒนาหรือผลกั ดันให้มีการนำงานวิจัยไป
ต่อยอดถ่ายทอด และประยุกต์ใช้ประโยชน์ทั้งเชิงพาณิชย์และชุมชน อันจะก่อให้เกิดการแพร่กระจายของ
องค์ความรู้และนวัตกรรม และนำไปสู่การสร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อตอบสนอง
แผนยุทธศาสตรร์ ะดับประเทศใหก้ ้าวไปสูค่ วามสำเร็จ จึงเป็นภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการท่ีจะต้องพฒั นา
ศักยภาพคนไทยด้านการศึกษาให้เพิ่มสูงขึ้นและต้องให้ความสำคัญต่อการพัฒนาด้านคุณภาพการศึกษา
และการเรียนรูต้ ่อเนื่องตลอดชวี ิต

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
จึงมีภารกิจสำคัญในการสร้างระบบคดิ แบบวิทยาศาสตร์แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ในรูปแบบของ
แหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สาระทางวทิ ยาศาสตร์
เปน็ แกนกลางของความร้นู ำไปส่แู ขนงวิชาอ่นื ๆ เพอ่ื จะทำให้ความรู้ทั้งหลายผา่ นกระบวนการตรวจสอบอย่าง
เป็นเหตุเปน็ ผลใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ หม้ ากขนึ้

จากเหตุผลดังกล่าว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา ได้เล็งเหน็ ความสำคัญ
ของการพฒั นาคนใหเ้ ปน็ บุคคลแห่งการเรียนร้ตู ามแนวนโยบายการปฏริ ูปการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2560-2564 และจดั ประชมุ บุคคลท่เี กยี่ วข้องทุกส่วน โดยได้ร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นและวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา
เพื่อนำมากำหนดทิศทางในการดำเนินงานของสถานศึกษาให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับนโยบายและจุดเน้น
ของสำนักงาน กศน. ดังนี้

แผนปฏิบตั ิการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 17

ผลการประเมินสถานภาพและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา
พระนครศรีอยุธยา ในภาพรวม
ตารางที่ 2-1 ผลการประเมินสถานภาพและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษาพระนครศรีอยุธยาในภาพรวม

ดา้ นโอกาส ( + ) ดา้ นอุปสรรค ( - )

1. มีนทิ รรศการครบทกุ ดา้ น 1. มีคแู่ ขง่ เพิ่มข้นึ คอื มหาวิทยาลยั สถาบันราชภฏั
พระนครศรีอยธุ ยา ศนู ย์วิทยาศาสตร์ โรงเรยี น
2. การเดนิ ทางสะดวก มัธยมศกึ ษา

3. ครู นกั เรียน และนักศึกษามคี วามสนใจด้าน 2. แผนพัฒนาจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาไม่มี
วิทยาศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ กี่ ลา่ วถงึ ดา้ นการศึกษาวทิ ยาศาสตร์
โดยตรง
4. ผู้ปกครองใหค้ วามสำคญั และให้การสนบั สนนุ
3. ขาดเทคโนโลยีทีเ่ อ้ือต่อการจดั กิจกรรมฐานการ
5. นโยบายของสถานศกึ ษาจดั ให้เปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ เรยี นรู้
ตลอดชีวติ

6. มีภมู ิปญั ญาท้องถิน่ / สถานประกอบการ เช่น
การต่อเรอื พพิ ิธภณั ฑเ์ จ้าสามพระยา บา้ นของพ่อ

ผลการประเมินสถานภาพและการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษา

พระนครศรอี ยุธยาในภาพรวม
ตารางที่ 2-2 ผลการประเมินสถานภาพและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาในภาพรวม

จดุ แขง็ ( + ) จุดอ่อน ( - )

1.สถานที่ตง้ั อยใู่ นแหลง่ ชมุ ชน 1. สถานทมี่ ีพน้ื ที่จำกัด
2.การบรหิ ารดา้ นวชิ าการและการประสานงานทีด่ โี ดย 2. งบประมาณมีจำกดั
3. ขาดอตั รากำลงั ในการปฏิบตั งิ านดา้ น
แตง่ ตง้ั คณะทำงาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ้ ม
3.นิทรรศการมคี ุณภาพ 4. ขาดการพฒั นาด้านเทคนคิ และนิทรรศการใน
4.จดั นิทรรศการเคล่อื นที่
รปู แบบใหม่
5.มีรถนทิ รรศการเคล่อื นที่ จัดโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จร

สู่สถานศึกษา
6.จัดกจิ กรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ

กลุ่มเปา้ หมาย

แผนปฏบิ ตั ิการศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 18

ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา
ตารางที่ 2-3 ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา

ดา้ นโอกาส ( + ) ดา้ นอปุ สรรค ( - )

ปจั จยั ด้านสงั คมและวัฒนธรรม ( S ) ปจั จยั ด้านสังคมและวฒั นธรรม ( S )
1.ชุมชนมแี หลง่ เรยี นรูท้ ส่ี ามารถศกึ ษาค้นควา้ ได้ 1. ประชาชนสว่ นใหญ่ไมเ่ คยชนิ กบั การศึกษาดว้ ย

2.ประชาชนหรือชมุ ชนบางสว่ นให้ความร่วมมือในการจดั ตนเอง
การศกึ ษา 2. ผู้นำชุมชนไม่เหน็ ความสำคญั ของการศกึ ษา

ปัจจยั ดา้ นเทคโนโลยี ( T ) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ( T )
1.ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ำใหศ้ ูนยฯ์ ปรับตวั เข้ากบั 1. ประชาชนสว่ นใหญไ่ มม่ กี ำลงั พอทจ่ี ะซ้อื

สภาพแวดลอ้ มได้ เทคโนโลยี
2.ชุมชนมีแหลง่ เทคโนโลยสี มัยใหมแ่ ละแหล่งค้นคว้า

ปัจจยั ดา้ นการเมืองและกฎหมาย ( P ) ปัจจัยด้านการเมอื งและกฎหมาย ( P )
1.พ.ร.บ.การศึกษา พ.ศ.2542 เปดิ โอกาสใหท้ ้องถิน่ มสี ่วน 2. นโยบายลดอตั รากำลงั ภาครฐั ทำใหส้ ถานศึกษา

ร่วมในการจดั การศกึ ษามากข้นึ มบี ุคลากรไมเ่ พยี งพอ
3. ไดร้ ับงบประมาณไม่เพยี งพอกับโครงการ
2.นโยบายกระจายอำนาจทำใหส้ ถานศึกษามคี วามคล่องตัว
4. แผนพฒั นาจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยาไม่มี
ในการทำงาน ยุทธศาสตรท์ ่กี ลา่ วถงึ ดา้ นการศึกษา

วทิ ยาศาสตรโ์ ดยตรง

ปัจจยั ดา้ นเศรษฐกจิ ( E ) ปจั จยั ด้านเศรษฐกจิ ( E )
1.ประชาชนบางสว่ นมรี ายไดเ้ พียงพอที่จะสนับสนนุ 1. วิกฤตทิ างเศรษฐกจิ ทำใหเ้ กิดข้อจำกดั ของ

การศึกษา งบประมาณในการพฒั นาและขยายการ

2.มีแหลง่ เงินทนุ นอกงบประมาณเพอื่ ขอรับการสนบั สนุนได้ ดำเนินงานการศกึ ษา

2. ประชาชนมรี ายไดล้ ดลง จึงไมส่ ามารถสนบั สนุน
สถานศกึ ษาไดเ้ ต็มที่

แผนปฏิบัตกิ ารศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 19

ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในของศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา
ตารางที่ 2-4 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา

ด้าน ประเดน็ สำคญั จุดแข็ง ( + )
โครงสรา้ ง จดุ ออ่ น ( - )
นโยบายของ กำหนดโครงสร้างภายในสถานศกึ ษาและมีคำส่งั รองรับที่ชดั เจน
สถานศกึ ษา สถานทต่ี ั้งอยูใ่ นแหลง่ ชุมชน +
การเดนิ ทางสะดวก +
ผลผลติ และ ปัญหาการการดำเนินงานภายในของ กศน. ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ศูนยว์ ิทย์ฯ +
การบริการ สถานทจี่ ัดกิจกรรมคบั แคบ +
นโยบายของสถานศกึ ษาจัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชวี ติ -
บุคลากร +
มีคแู่ ขง่ ในดา้ นดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ที่สถาบนั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
การเงิน ครแู ละนกั เรยี นมีความสนใจดา้ นวทิ ยาศาสตร์ -
ผ้ปู กครองเหน็ ความสำคัญและให้การสนบั สนนุ +
วสั ดุ-อปุ กรณ์ จัดนทิ รรศการครบทุกด้าน +
จัดนทิ รรศการเคลื่อนท่ีส่ชู มุ ชน +
การบรหิ าร นิทรรศการมคี ณุ ภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้ +
จดั การ มีรถนทิ รรศการเคลื่อนท่ี จดั โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศกึ ษา +
จดั กิจกรรมการเรยี นทางอินเตอร์เน็ต +
+
อัตรากำลงั ไม่เพียงพอ
ขาดบคุ ลากรทีม่ คี วามร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์โดยตรง -
มีภูมิปญั ญาท้องถ่ินและแหล่งการเรียนรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ -
+
มแี ผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณที่ชดั เจน และสามารถใชจ้ ่ายได้ตรงกับความตอ้ งการ
ผูบ้ รหิ ารมีความคล่องตวั ในการบรหิ ารการเงิน จึงสามารถดำเนนิ การตามแผนได้ +
การตลาดยงั ไม่เขม้ แขง็ ไมม่ งี บประมาณเลย้ี งตวั เองได้ +
-
ครภุ ณั ฑ์สำนักงานมไี มเ่ พยี งพอ
ครุภณั ฑด์ ้านวิทยาศาสตร์มีไม่เพียงพอ -
ยานพาหนะมไี ม่เพียงพอในการให้บริการนิทรรศการเคล่ือนทแ่ี ละใชใ้ นสำนักงาน -
อาคารจัดกจิ กรรมค่ายไม่เพียงพอ -
-
มกี ารตดิ ต่อประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ระดับจงั หวดั อำเภออยา่ งสมำ่ เสมอ
มแี ผนงานเป็นเครื่องมือในการบรหิ ารงาน +
+

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ผรู้ บั บรกิ าร
พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา การให้บรกิ าร
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาภาคีเครอื ข่ายการจัดการศกึ ษา
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 2
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาระบบการบริหารการศึกษา
พฒั นาองค์กรการศึกษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5

แผนปฏบิ ัตกิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 20

ค่านยิ มรว่ มขององคก์ ร (Share Value)
TEAMWINS

T = Teamwork การทำงานเป็นทีม หมายถึง บุคลากรมีความสามัคคี ประสานงานกันทำงาน
เพ่อื องค์กร มีการระดมความคดิ ในการแก้ปญั หารว่ มกัน พัฒนางานรว่ มกนั มีลกั ษณะเปน็ หนึง่ เดียวในด้านการ
บรหิ ารจัดการ การปฏบิ ัตงิ าน และดา้ นกฎหมายมีทมี งานทีส่ ามารถนำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใชพ้ ฒั นาการทำงาน
ขององค์กร ชักชวนให้คนในองคก์ รช่วยกันขับเคลื่อนให้เกิดการปฏบิ ัตจิ รงิ เพือ่ การทำงานทนี่ ำไปสเู่ ปา้ ประสงค์
ขององคก์ ร

E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทำงาน หมายถงึ ผ้บู ริหารให้ความสำคัญในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน โดยให้ความเสมอภาคและความเป็นธรรม สร้างขวัญกำลังใจที่ดีให้กับ
ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน

A = Accountability ความรับผิดชอบ หมายถึง บุคลากรมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รบั
มอบหมายและงานท่ีต้องมสี ่วนร่วมต่าง ๆ ปฏิบัติด้วยความตัง้ ใจอย่างเต็มความสามารถ บรรลุผลสำเร็จตาม
เป้าหมาย ตระหนักในความรับผิดชอบ พร้อมที่จะให้ตรวจสอบ สามารถอธิบายถึงพฤติกรรมการกระทำของ
ตนเองหรือหน่วยงานได้ รวมถึงความรับผิดชอบในผลการปฏิบัตงิ านใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายได้

M = Morality and Integrity การมศี ีลธรรมและมีความซอื่ สัตย์ หมายถึง บคุ ลากรปฏบิ ัติหนา้ ท่ี
ด้วยความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ และถกู ตอ้ งเพอ่ื นำพาองคก์ รใหเ้ ปน็ ทนี่ ่าเช่ือถอื และก้าวไปขา้ งหนา้ อย่างภาคภมู ิ

W = Willingness ความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานอย่างเตม็ ศกั ยภาพ หมายถึง บุคลากรปฏิบัตหิ นา้ ท่ี
ด้วยความเต็มใจ เต็มความรู้ เตม็ ความสามารถ และเต็มเวลา เพ่ือมงุ่ สูค่ วามสำเรจ็ ขององค์กร

I = Improvement การพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื งสมำ่ เสมอ หมายถงึ บคุ ลากรมุง่ มั่น แสวงหา
ความรู้เพอ่ื พัฒนาตนเองอยู่เสมอ พร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง และพฒั นางานในหน้าท่ีใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

N = Network and Communication การเปน็ เครือข่ายทม่ี ีปฏิสัมพนั ธท์ ่ีดตี อ่ กัน หมายถงึ
บุคลากรยิ้มแยม้ ตอ่ กนั และกัน กลา่ วคำทกั ทายซงึ่ กันและกันเมอ่ื พบหนา้ กันทกุ คร้ัง มนี ้ำใจเออื้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่ บคุ ลากร
ให้ความรว่ มมือแกค่ นในองคก์ รท่มี าติดต่อเป็นอย่างดี รวมทัง้ การนำขา่ วสารใหม่ ๆ ดี ๆ มาเผยแพร่ เลา่ สู่กนั ฟัง มี
การจดั ให้มกี ารพบปะสังสรรค์ระหว่างบุคลากรในองคก์ ร ตลอดท้งั ย้ิมแยม้ แจ่มใสตอ่ ผูม้ าใชบ้ ริการ

S = Service Mind การมีจิตมุ่งบริการ หมายถึง บุคลากรให้บริการแก่ทุกคนที่มาติดต่อด้วย
ความเต็มใจ ย้มิ แย้มแจม่ ใส มีใจในการใหบ้ ริการดว้ ยกลั ยาณมิตร มกี ารประสานสัมพันธ์กนั ในองค์กร พรอ้ มใจ
บริการเพือ่ ความพึงพอใจผใู้ ช้บรกิ าร

แผนปฏบิ ตั ิการศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 21

เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร

แผนงบประมาณ พื้นฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน

ผลผลิตท่ี 5 ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

กจิ กรรม จดั การศึกษาตามอัธยาศยั มี 2 ดา้ น ดังน้ี

1. ด้านการให้บรกิ ารตามพนั ธกิจ จำนวน 69,850 คน

แบง่ เป็น 4 ผลผลิต คอื จำนวน 25,000 คน
จำนวน 2,250 คน
1.1 นทิ รรศการวิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา จำนวน 17,600 คน
จำนวน 25,000 คน
1.2 ค่ายวทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษา

1.3 กจิ กรรมการศกึ ษา

1.4 บริการวชิ าการทางวิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา

ตัวช้วี ัดด้านการใหบ้ รกิ ารตามพันธกจิ

เชิงปรมิ าณ
1) จำนวนการใหบ้ รกิ าร แตล่ ะประเภท (ครั้ง)
2) จำนวนผรู้ ับบริการ แต่ละประเภท (คน)

เชงิ คณุ ภาพ
1) ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รบั บริการ

2. ด้านการพฒั นาคุณภาพ จำนวน 8 โครงการ

2.1 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

2.2 โครงการส่งเสรมิ การเรียนรวู้ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาชุมชน

2.3 โครงการสบื สานศาสตร์พระราชาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.4 โครงการวิทยค์ ดิ สร้างสรรคด์ ว้ ยโครงงานวิทยาศาสตร์

2.5 โครงการ “science for kids” จุดประกายความคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์

2.6 โครงการพัฒนาคุณภาพครแู ละบุคลากร ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม

2.7 โครงการพัฒนาบคุ ลากรเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ าน

2.8 โครงการพัฒนาศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา

ตวั ชวี้ ดั ด้านการพฒั นาคุณภาพ

เชิงปรมิ าณ
1) จำนวนผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีได้รบั การสนบั สนนุ และพฒั นา
ศักยภาพ (คน)

2) จำนวนระบบบริหารจัดการท่ีได้รบั การพัฒนา (ระบบ)
3) จำนวนบคุ ลากรทไ่ี ดร้ ับการพัฒนา (คน)
4) จำนวนระบบนิเทศภายในทีไ่ ดร้ ับการพฒั นา (ระบบ)

5) จำนวนมาตรฐานการประกนั คณุ ภาพท่ีผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน (มาตรฐาน)

แผนปฏบิ ตั กิ ารศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 22

เชงิ คุณภาพ
1) ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏบิ ัติงานไดต้ ามมาตรฐาน
2) สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการและระบบนิเทศภายในที่ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้
3) สถานศึกษาผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายใน

กลยทุ ธ์
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การบริการจดั การท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
วิธกี าร รว่ มมอื กบั สถานศึกษา หน่วยงาน และองคก์ รเอกชนจัดกจิ กรรมนิทรรศการเคล่อื นที่
มาตรการ/ แนวทางการดำเนินงาน

1.1 พฒั นาระบบบรกิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าลอย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 พัฒนาระบบการใหบ้ ริการท่ีทนั สมัย
1.3 พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีขดี สมรรถนะทสี่ ามารถปฏิบตั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพ
1.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
1.5 พัฒนาระบบนเิ ทศภายใน
1.6 จดั ทำระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
1.7 เสรมิ สร้างภาพลกั ษณ์สกู่ ารยอมรบั ของสงั คม

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร
วธิ กี าร พัฒนากระบวนการเรียนรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อม ใหห้ ลากหลายและ สอดคลอ้ ง
กับความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
มาตรการ/ แนวทางการดำเนนิ งาน

2.1 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาหลกั สตู ร/โปรแกรมการเรยี นรอู้ ยา่ งหลากหลาย
2.2 ส่งเสริมและสนบั สนุนการพฒั นาคณุ ภาพครูบคุ ลากรทางการศึกษาด้านวทิ ยาศาสตร์
2.3 ส่งเสริมและสนบั สนุนใหม้ กี ารพฒั นาสือ่ นวัตกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
2.4 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั และให้บริการการเรียนรูด้ ้านวิทยาศาสตรอ์ ย่างหลากหลาย

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พฒั นาภาคเี ครอื ข่ายการจัดการศึกษา
วธิ ีการ รว่ มมอื กบั เครอื ขา่ ยทง้ั ภาครฐั และเอกชนเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สง่ิ แวดล้อม
มาตรการ/ แนวทางการดำเนินงาน

3.1 สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยในการจัดการศึกษาดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
ส่ิงแวดลอ้ ม
3.2 สร้างสมั พันธ์และขยายภาคเี ครอื ข่าย ทกุ ระดับ ทุกภาคสว่ น

แผนปฏิบตั กิ ารศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน้า | 23

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาระบบการบรหิ ารองค์กรใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
วิธกี าร จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรส์ ชู่ มุ ชนผ่านทางสื่อต่าง ๆ
มาตรการ/ แนวทางการดำเนนิ งาน

4.1 เสริมสร้างระบบการบริหารองคก์ รแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ (ตามจดุ มุ่งหมาย เป้าหมายขององคก์ ร)
4.2 นำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
4.3 พัฒนาบุคลากรใหม้ ีศกั ยภาพตามบทบาทหนา้ ท่ี
4.4 พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การความเส่ียงในองคก์ ร
4.5 พฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
4.6 เสริมสร้างภาพลกั ษณ์ (อตั ลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์) ขององค์กร

ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 พฒั นาองค์กรสถานศกึ ษาเพือ่ เข้าสมู่ าตรฐาน
วธิ กี าร ปรบั ระบบบรหิ ารจัดการทีม่ คี ุณภาพ
มาตรการ/ แนวทางการดำเนินงาน

5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาองคก์ รดา้ นต่าง ๆ เพื่อเข้าสู่มาตรฐาน (เช่น ด้านความปลอดภัย
ด้านประหยัดพลังงาน ด้านอารยะสถาปัตย์ ด้านการให้บริการ ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ด้านการ
ทอ่ งเทยี่ ว ฯลฯ) พัฒนาบุคลากรให้มขี ดี สมรรถนะทส่ี ามารถปฏิบัตงิ านอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

คา่ นิยมในการปฏิบัติงาน
1. ทำงานเปน็ ทมี อยา่ งสามัคคี
2. ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเต็มความสามารถ
3. รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์กลา้ เสย่ี ง
4. ปรบั ตวั เพอื่ การเปลยี่ นแปลง
5. เชอื่ ใจกนั ทำงานใหเ้ ป็นทน่ี ับถอื

แผนปฏบิ ตั กิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนา้ | 24

บทท่ี 3
นำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ การบริหารจัดการและตดิ ตามประเมนิ ผล

งบประมาณประจำปี 2563 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ได้รับจดั สรรจาก

สำนักงาน กศน. ได้นำมาจัดสรรเพือ่ การบริหารหน่วยงานและจัดกจิ กรรม โดยแบ่งออกเปน็ โครงการ จำนวน 12
โครงการใหญ่ ดังนี้

แผนงาน พ้นื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน
ผลผลิตท่ี 5 ผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั
รหสั งบประมาณ 2000239005000000
กิจกรรม จดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั มี 2 ลกั ษณะ ดังน้ี

1. ด้านการให้บริการตามพันธกิจ
1.1 โครงการคา่ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม
1.2 โครงพัฒนาการจดั กิจกรรม
1.3 โครงการจดั กิจกรรมบริการวชิ าการ
1.4 โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทบี่ ริการ

2. ด้านการพัฒนาคณุ ภาพ
2.1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
2.2 โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาชมุ ชน
2.3 โครงการสบื สานศาสตรพ์ ระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.4 โครงการวิทย์คดิ สรา้ งสรรค์ดว้ ยโครงงานวิทยาศาสตร์
2.5 โครงการ “science for kids” จดุ ประกายความคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์
2.6 โครงการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม
2.7 โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพือ่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัตงิ าน
2.8 โครงการพฒั นาศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา

โดยได้จดั ทำตารางการวิเคราะห์ความสอดคล้องของโครงการกับมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ปีงบประมาณ 2563 และตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์
พันธกิจและเป้าหมายของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา กับ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท)ี่ พ.ศ. 2545 และนโยบาย สำนกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2563

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกิจแ
กับ พรบ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ 2545

รายละเอยี ดทก่ี ำหนด พรบ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ทีแ่ กไ้ ข
เพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545

1. ปรชั ญา หมวด 4 มาตรา 23 การจดั การศึกษา 3 ระบบ มาต

“สรา้ งระบบคิด และการบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ ตาม

ปลกู จิตวิทยาศาสตร์” ระดับการศกึ ษา ในเรอื่ งเกยี่ วกบั ตนเอง ความร้แู ละ ทักษ

ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ศาสนา สาร

ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการประกอบอาชีพ การ

2. วสิ ยั ทัศน์ หมวด 4 มาตรา 23 (2) การใหค้ วามรู้และทกั ษะ มาต

“ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือ ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทงั้ ความรู้ เข้าถ

การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา จดั ความเข้าใจและประสบการณ์เรอื่ งการจัดการ การ และ

การศกึ ษาตลอดชวี ิต ดา้ น บำรุงรักษาและการใชป้ ระโยชน์จาก พฒั

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดลุ และ

สิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ สร้างโอกาสใน ยงั่ ยืน ประ

การเรยี นรู้ให้กับนกั เรียน มาตรา 25 การส่งเสริมให้ดำเนินการและจัดตง้ั

นกั ศกึ ษาท้ังในระบบ นอกระบบ แหลง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทกุ รปู แบบ

โรงเรียน และประชาชน อยา่ งมี

คณุ ภาพและท่ัวถึง”

แผนปฏิบัติการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

และเปา้ หมายของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
5 พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 และนโยบาย สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2563

พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 นโยบาย สำนักงาน กศน.
ปงี บประมาณ 2563
ตรา 8 การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการศกึ ษา
มอัธยาศัยโดยให้ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรู้และ ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน
ษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ
ระทส่ี อดคล้องกบั ความสนใจและจำเปน็ ใน พ.ศ. 2563
รยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ
ตรา 6 (2) การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในการ ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน
ถึงแหลง่ เรยี นรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกับความสนใจ สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ
ะวิถชี วี ติ ของผเู้ รียนทกุ กลุ่มเป้าหมาย การ พ.ศ. 2563
ฒนาแหล่งการเรียนรใู้ หม้ ีความหลากหลาย
ะการจดั กรอบแนวทางการเรียนร้ทู เ่ี ป็น
ะโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน

3 หน้า | 25

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พันธกิจแ
กับ พรบ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ 2545

รายละเอียดท่ีกำหนด พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่ มาต
แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดร้
3. พันธกิจ
1) จัดกิจกรรมการเรียนรดู้ า้ น หมวด 4 มาตรา 23 การจัดการศกึ ษา 3 ระบบ ใหส้
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ และการบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ มาต
สิง่ แวดล้อมแกน่ กั เรยี น ของ
นักศึกษา ทง้ั ในระบบ นอก ระดบั การศึกษา ในเรอ่ื งเกย่ี วกับตนเอง ความรู้
ระบบโรงเรียน และประชาชน และทกั ษะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ดำเน
ทว่ั ไป ในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการประกอบอาชพี การ
2) ศึกษา คน้ คว้า วิจยั และ มาต
พฒั นารปู แบบกจิ กรรม หมวด 1 หลักการ มาตรา9 (5) การระดม
หลกั สูตร ส่ือและกระบวนการ ทรัพยากรจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ในการจดั การศึกษา กศน
เรียนร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์ มาตรา 57 การระดมทรัพยากรในการร่วมจดั ดำเน
เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ ม พัฒ
3) เผยแพร่ บริการ หลกั สตู ร การศกึ ษา
สอ่ื และรูปแบบการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอ้ ม

แผนปฏิบัตกิ ารศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

และเปา้ หมายของศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา
5 พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 และนโยบาย สำนกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2563

พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 นโยบาย สำนกั งาน กศน.
ปีงบประมาณ 2563

ตรา 6 ความเสมอภาคในการเข้าถึงและ 1. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ

รับการศกึ ษาอย่างกว้างขวางและทั่วถึง โดย การศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีคณุ ภาพ เพือ่

สอดคล้องกบั วิถชี ีวิตของกลมุ่ เป้าหมาย ยกระดบั การศกึ ษา พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้

ตรา 11 การให้สว่ นราชการและหนว่ ยงาน ของประชาชนทกุ กลมุ่ เป้าหมายให้เหมาะสม

งรฐั ทเี่ ก่ียวขอ้ งร่วมมอื กับภาคเี ครอื ขา่ ยเพ่อื ทกุ ช่วงวยั และพรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลง

นนิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและ บริบททางสงั คมและสรา้ งสงั คมแหง่ การ

รศกึ ษาตามอัธยาศยั เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต

ตรา 14 การให้บทบาทหนา้ ท่ีของสำนกั งาน 2. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานการมสี ว่ น

น. ในการสง่ เสรมิ และสนับสนุนและ ร่วมของภาคีเครอื ข่ายและชุมชน ในการจดั

นินการพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ การวจิ ยั การ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม

ฒนาหลกั สูตรและนวตั กรรมทางการศกึ ษา อัธยาศยั และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชวี ิต

ของชุมชน รวมท้งั การดำเนนิ กจิ กรรมของ

ศูนยก์ ารเรียน และแหล่งการเรยี นรู้ในรูปแบบ

ต่าง ๆ

3. สง่ เสรมิ และพัฒนาการนำเทคโนโลยี

ทางการศกึ ษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศและ

การสอื่ สารมาใชใ้ หเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพในการ

จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม

อธั ยาศัยใหก้ บั ประชาชน

อยา่ งทั่วถงึ

3 หนา้ | 26

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งปรัชญา วิสัยทัศน์ พนั ธกิจแ
กับ พรบ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ 2545

รายละเอยี ดทก่ี ำหนด พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่
แก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

4) พฒั นาครู และบุคลากร หมวด 1 มาตรา 8 หลกั การจัดการศกึ ษา มาต
ของ
ผู้รบั ผดิ ชอบการจัดกจิ กรรมการ การสง่ เสรมิ ใหส้ งั คมทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ ม ดำเน
การ
เรยี นรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในการจดั การศกึ ษา
มาต
และสงิ่ แวดลอ้ ม เข้าถ
สนใ
5) สง่ เสรมิ สนบั สนุนและ มาต
เพ่ือ
ประสานงานรว่ มกับภาคีเครือขา่ ยใน ควา
ดา้ น
การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้าน และ
ประ
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละ

ส่ิงแวดล้อม

4. เป้าประสงค์ หมวด 1 หลักการจดั การศกึ ษา เป็นการศึกษา

1) ผู้รับบรกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน

ได้รับการพฒั นาทกั ษะ และเจตคติ มาตรา 25 สง่ เสรมิ การดำเนินงานและจัดตงั้

ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปใช้ ใน แหล่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิตทกุ รปู แบบ

การพฒั นาคุณภาพชวี ิต

2) ผรู้ ับบริการมคี วามพงึ พอใจในการ

เข้ารบั บรกิ ารการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม

3) ได้สื่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ

ส่ิงแวดลอ้ ม

แผนปฏบิ ัติการศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

และเปา้ หมายของศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
5 พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 และนโยบาย สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2563

พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 นโยบาย สำนกั งาน กศน.
ปงี บประมาณ 2563
ตรา 11 การให้สว่ นราชการและหนว่ ยงาน
งรัฐทเ่ี ก่ยี วขอ้ งร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่ายเพ่ือ 4. พัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กจิ กรรม
นินการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การเรยี นรเู้ ทคโนโลยสี ือ่ และนวัตกรรม การ
รศกึ ษาตามอัธยาศยั
วดั และประเมินผลในทกุ รปู แบบใหส้ อดคลอ้ ง
กับบริบทในปจั จบุ ัน
5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ าร

จัดการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือมงุ่ จัดการศกึ ษา
ทม่ี ีคุณภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลและการ
มสี ว่ นรว่ ม

ตรา 6 (2) การศกึ ษาตามอธั ยาศยั การ 1. ประชาชนผดู้ อ้ ย พลาดและขาดโอกาสทาง
ถึงแหลง่ การเรียนร้ทู สี่ อดคลอ้ งกบั ความ การศึกษา รวมทัง้ ประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย

ใจและวิถีชวี ติ ของผ้เู รยี นทกุ กลุ่มเป้าหมาย พิเศษได้รับโอกาสทางการศกึ ษาในรูปแบบ
ตรา 7 (1) ประชาชนได้รับการศึกษาตอ่ เนอื่ ง การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั
อพฒั นาศกั ยภาพกำลงั คนและสังคมที่ใช้ พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนือ่ งและการศึกษาตาม

ามรู้ และภมู ิปัญญาเปน็ ฐานในการพฒั นา ทั้ง อธั ยาศัยท่ีมีคุณภาพ อย่างเท่าเทยี มและทว่ั ถึง
น เศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม ความม่ันคง เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หาและความต้องการ
ะคุณภาพชีวติ ทัง้ น้ีตามแนวทางการพฒั นา ของแต่ละกลมุ่

ะเทศ

3 หน้า | 27

ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องระหว่างปรัชญา วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ แ
กับ พรบ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ 2545

รายละเอียดทก่ี ำหนด พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ท่ี
แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545
4) มหี นว่ ยงานเครอื ขา่ ยเข้ารว่ มจดั
กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม
5) มผี ลการวิจยั เชงิ พฒั นา
กระบวนการ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ
ส่งิ แวดลอ้ ม
6) การบริหารจดั การมี
ประสทิ ธภิ าพเปน็ ท่ียอมรับ

แผนปฏบิ ัติการศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

และเปา้ หมายของศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
5 พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 และนโยบาย สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2563

พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 นโยบาย สำนกั งาน กศน.
ปีงบประมาณ 2563
3
2. ประชาชนได้รบั การสง่ เสรมิ กระบวนการ
เรียนรเู้ พอ่ื แกป้ ัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชุมชน โดย
มีกศน. ตำบล ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน และแหลง่
การเรยี นรอู้ ่ืนในชมุ ชนเป็นกลไกในการจัดการ
เรยี นร้เู พื่อพัฒนาไปสคู่ วามมน่ั คงและยง่ั ยืน
ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม
3. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเปน็ ภาคี
เครือขา่ ยในการจดั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการ
ดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทัง้ มีสว่ นรว่ มใน
การขบั เคลื่อนกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องชมุ ชน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ
ปรชั ญาคิดเป็น
4. ประชาชนไดร้ ับโอกาสในการเรียนรูแ้ ละมี
เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่
เหมาะสมสามารถคิดวเิ คราะห์และ
ประยกุ ตใ์ ช้ในการแก้ปญั หา และพัฒนา
คุณภาพชีวิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

หน้า | 28

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจแ
กบั พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ 2545

รายละเอียดท่กี ำหนด พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่
แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545

แผนปฏบิ ตั กิ ารศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

และเปา้ หมายของศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
5 พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 และนโยบาย สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2563

พรบ. กศน. พ.ศ. 2551 นโยบาย สำนักงาน กศน.
ปงี บประมาณ 2563

5. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาและนำ
ส่ือ เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยี

สารสนเทศและการสอ่ื สารมาใช้ในการเพม่ิ
โอกาสและยกระดบั คุณภาพในการจัดการ
เรียนรู้

6. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษา
ได้รบั การพฒั นาเพ่อื เพ่มิ สมรรถนะในการ
ปฏิบัตงิ านการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศยั อย่างท่วั ถงึ
7. หน่วยงานและสถานศกึ ษามีระบบการ
บรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล

3 หน้า | 29

ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของโครงกา
กับปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และเปา้ ประสงค์ของ

โครงการตามแผนปฏิบตั กิ าร ปรชั ญา วิสัยทัศน์
ปีงบประมาณ 2563

1. โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ สรา้ งระบบคดิ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา ข

เทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อม ปลกู จิต พระนครศรีอยธุ ยา จดั การศกึ ษาตลอด ว

วทิ ยาศาสตร์ ชีวิตดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ น

ส่งิ แวดลอ้ ม เพือ่ สรา้ งโอกาส ในการ โร

เรยี นรูใ้ ห้กบั นกั เรียน นักศกึ ษาทง้ั ใน บ

ระบบ นอกระบบโรงเรียน และ

ประชาชน อยา่ งมีคุณภาพและท่วั ถึง

2. โครงการพฒั นาการจดั ข

กิจกรรมการศึกษาศนู ย์ เท

วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษา น

พระนครศรีอยุธยา ป











เท

แผนปฏิบตั กิ ารศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ารตามแผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2563
งศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา

พันธกจิ เป้าประสงค์

ขอ้ 1. จัดกิจกรรมการเรยี นร้ดู า้ น ขอ้ 1 ผู้รับบริการดา้ นวิทยาศาสตรไ์ ด้รบั การ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ มแก่ พัฒนาทกั ษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
นักเรยี น นกั ศกึ ษาทง้ั ในระบบ นอกระบบ ความรูไ้ ปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
รงเรยี น และประชาชนท่ัวไป ในเขตพืน้ ที่ ข้อ 2 ผรู้ ับบริการมคี วามพงึ พอใจในการเขา้
บรกิ าร รบั บริการการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสงิ่ แวดลอ้ ม

ขอ้ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ขอ้ 1 ผรู้ บั บรกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตรไ์ ด้รบั การ

ทคโนโลยแี ละสิง่ แวดลอ้ มแก่นักเรยี น พัฒนาทักษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ

นกั ศกึ ษา ท้งั ในระบบ นอกระบบโรงเรยี น และ ความร้ไู ปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ

ประชาชนทว่ั ไป ในเขตพื้นทบี่ ริการ ข้อ 2. ผู้รบั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในการเขา้

ขอ้ 3. เผยแพร่ บริการ หลักสตู ร ส่อื และ รบั บรกิ ารการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดา้ น และสงิ่ แวดลอ้ ม

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ข้อ 4. พฒั นาครู และบคุ ลากรผรู้ บั ผิดชอบ

การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์

ทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ้ ม

3 หนา้ | 30

ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของโครงกา
กบั ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ พันธกิจและเปา้ ประสงคข์ อง

โครงการตามแผนปฏบิ ัติการ ปรัชญา วสิ ัยทศั น์
ปีงบประมาณ 2563

3. โครงการจัดกจิ กรรมบรกิ าร เท
วิชาการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื น
การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ป








4. โครงการวทิ ยาศาสตร์ ข
สญั จรสเู่ ขตพืน้ ทบ่ี รกิ าร เท
(นิทรรศการเคลอ่ื นท่ี) ศูนย์ น

วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา ข
พระนครศรอี ยุธยา ร
เร


แผนปฏิบตั กิ ารศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ารตามแผนปฏบิ ัติการ ปงี บประมาณ 2563
งศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา

พันธกิจ เป้าประสงค์

ขอ้ 1. จัดกจิ กรรมการเรียนรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ 1 ผรู้ บั บรกิ ารดา้ นวิทยาศาสตร์ได้รบั การ
ทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ้ มแก่นกั เรียน
นักศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบโรงเรียน และ พฒั นาทกั ษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
ประชาชนทว่ั ไป ในเขตพ้นื ทบี่ รกิ าร
ข้อ 2. ศกึ ษา คน้ ควา้ วิจัยและพฒั นารปู แบบ ความร้ไู ปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
กิจกรรม หลักสูตร ส่อื และกระบวนการเรยี นรู้ ข้อ 2. ผ้รู ับบริการมคี วามพงึ พอใจในการเขา้
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ้ ม รับบรกิ ารการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ขอ้ 3. เผยแพร่ บรกิ าร หลักสูตร สื่อ และ
รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดา้ น และส่ิงแวดลอ้ ม
ขอ้ 3. ได้สือ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม

ขอ้ 4. มหี นว่ ยงานเครอื ข่ายเขา้ ร่วมจดั กิจกรรม
การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ

สงิ่ แวดลอ้ ม

ขอ้ 1. จดั กจิ กรรมการเรยี นรูด้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ข้อ 1 ผู้รับบรกิ ารด้านวทิ ยาศาสตร์ได้รับการ
ทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ้ มแกน่ กั เรยี น
พัฒนาทกั ษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
นกั ศกึ ษาทงั้ ในระบบ นอกระบบโรงเรยี น และ ความรไู้ ปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
ประชาชนทวั่ ไป ในเขตพนื้ ทบ่ี รกิ าร
ขอ้ 5. ส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานงาน ข้อ 2. ผูร้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในการเขา้ รบั
รว่ มกบั ภาคเี ครอื ข่ายในการจดั กจิ กรรมการ บริการการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ
รยี นรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละ ส่งิ แวดลอ้ ม
สง่ิ แวดลอ้ ม
ขอ้ 4. มหี น่วยงานเครือข่ายเข้าร่วมจัดกจิ กรรม
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม

3 หน้า | 31

ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของโครงกา
กบั ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและเปา้ ประสงคข์ อง

โครงการตามแผนปฏิบตั กิ าร ปรัชญา วิสัยทศั น์
ปีงบประมาณ 2563

5. โครงการสง่ เสริมและพฒั นา เท
ระบบประกันคุณภาพภายใน น
สถานศึกษา ป

6. โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้ เท
วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาชมุ ชน น

7. โครงการสืบสานศาสตร์
พระราชาตามหลกั ปรัชญาของ ข
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ก
เร








เร


แผนปฏิบัตกิ ารศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ารตามแผนปฏบิ ัตกิ าร ปงี บประมาณ 2563
งศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา

พันธกิจ เป้าประสงค์

ขอ้ 1. จัดกจิ กรรมการเรยี นรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ข้อ 1 ผู้รับบรกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตร์ไดร้ ับการ
ทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ้ มแกน่ กั เรยี น
พฒั นาทกั ษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
นักศึกษาทง้ั ในระบบ นอกระบบโรงเรยี น และ ความร้ไู ปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ประชาชนทั่วไป ในเขตพน้ื ทบี่ รกิ าร

ข้อ 1 จดั กิจกรรมการเรยี นรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ข้อ 1 ผรู้ บั บรกิ ารด้านวทิ ยาศาสตรไ์ ด้รบั การ
ทคโนโลยีและส่ิงแวดลอ้ มแก่นักเรียน
นักศึกษา ท้ังในระบบ นอกระบบโรงเรียน พัฒนาทกั ษะ และเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
และประชาชนทวั่ ไป ในเขตพนื้ ท่ีบรกิ าร ความรูไ้ ปใช้ ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ข้อ 2 ศกึ ษา คน้ คว้า วจิ ัยและพัฒนารปู แบบ ข้อ 1 ผูร้ บั บริการด้านวิทยาศาสตร์ได้รบั การ

กจิ กรรม หลกั สูตร สอื่ และกระบวนการ พฒั นาทกั ษะ และเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ

รียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ ความรไู้ ปใช้ ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

สงิ่ แวดล้อม

ขอ้ 3 เผยแพร่ บรกิ าร หลักสตู ร สอื่ และ

รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดา้ น

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม
ข้อ 5 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานงาน
รว่ มกับภาคเี ครือข่ายในการจดั กิจกรรมการ
รียนรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและ
สงิ่ แวดล้อม

3 หนา้ | 32

ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของโครงกา
กบั ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พันธกิจและเปา้ ประสงคข์ อง

โครงการตามแผนปฏิบตั กิ าร ปรชั ญา วิสยั ทัศน์
ปีงบประมาณ 2563

8. โครงการวิทย์คดิ สร้างสรรค์ เท
ดว้ ยโครงงานวิทยาศาสตร์ น

9. โครงการ
“science for kids” ข
จดุ ประกายความคดิ เท
แบบวทิ ยาศาสตร์ น



เร


แผนปฏิบัติการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาพระนครศรอี ยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ารตามแผนปฏบิ ตั ิการ ปีงบประมาณ 2563
งศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา

พนั ธกจิ เป้าประสงค์

ข้อ 1. จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ขอ้ 1 ผูร้ บั บริการด้านวิทยาศาสตรไ์ ด้รับการ
ทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ มแกน่ กั เรยี น พัฒนาทักษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
นักศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบโรงเรียน และ
ประชาชนทั่วไป ในเขตพ้นื ทบ่ี รกิ าร ความรู้ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ

ข้อ 1. จัดกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ 1 ผ้รู ับบรกิ ารด้านวทิ ยาศาสตร์ได้รบั การ
ทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ้ มแก่นกั เรยี น
พฒั นาทกั ษะและเจตคติ ตลอดจนสามารถนำ
นักศึกษาทงั้ ในระบบ นอกระบบโรงเรียน และ ความรู้ไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
ประชาชนทว่ั ไป ในเขตพนื้ ทบ่ี รกิ าร
ข้อ 2. ผู้รบั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในการเขา้ รับ
ข้อ 5. สง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานงาน บรกิ ารการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในการจดั กจิ กรรมการ สิ่งแวดลอ้ ม
รยี นรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละ
ขอ้ 4. มีหน่วยงานเครอื ขา่ ยเข้ารว่ มจัดกจิ กรรม
สง่ิ แวดลอ้ ม
การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ้ ม

3 หน้า | 33


Click to View FlipBook Version