The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาแพลตฟอร์ม และสื่อการเรียนรู้อาชีวศึกษา ด้วย ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การพัฒนาแพลตฟอร์ม และสื่อการเรียนรู้อาชีวศึกษา ด้วย ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

การพัฒนาแพลตฟอร์ม และสื่อการเรียนรู้อาชีวศึกษา ด้วย ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

2 การพัฒนาแพลตฟอรม และสื่อการเรียนรูอาชีวศึกษา ดวยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล : RDC แพลตฟอรม (Anywhere Anytime) ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลตำรวจเอก เพิ่มพูน ชิตชอบ) ไตมอบนโยบายการศึกษา "เรียนดี มีความสุข" เมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๖ ณ หองประขุมราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ภายใตแนวคิดในการจัดการศึกษา คือ การศึกษาเพื่อความเปนเลิศ และการศึกษาความ มั่นคงของชีวิต โดยมีนโยบายที่เนนหนักในการทำงานคือ ลดภาระครูและบุคลากรทางการศึกษา และนโยบายที่ ตองเรงดำเนินการคือ ลดภาระนักเรียนและผูปกครอง ซึ่งจะขับเคลื่อนการดำเนินงานดวยแนวทาง "จับมือไว แลว ไปดวยกัน" พรอมทั้งไดมีนโยบายการพัฒนาอาชีวศึกษา โดยขับเคลื่อนการดำเนินงานผาน ๘ วาระงานพัฒนา อาชีวะ (8 Agenda) ดังนี้ วาระงานพัฒนาที่ ๑ สงเสริมการเรียนรูอาชีวศึกษาทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime) ๑.๑ พัฒนาแพลตฟอรมและสื่อการเรียนรูอาชีวศึกษา ๑.๒ ขยายโอกาสในการเขาถึงการศึกษาอาชีวศึกษา (Vocational for All) วาระงานพัฒนาที่ ๒ พัฒนาทักษะวิชาชีพเพื่อลดภาระของผูเรียนและผูปกครอง (Skill Certificate) ๒.๓ พัฒนาทักษะและสมรรถนะวิชาชีพ (Up-Skill, Re-Skill) ๒.๒ พัฒนาระบบวัตผลรับรองมาตรฐานวิชาชีพ ๒.๓ พัฒนาหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะ (ปวพ.) ๒.๔ สงเสริมการมีรายใตระหวางเรียน จบแลวมีงานทำ (Learn to Earn) วาระงานพัฒนาที่ ๓ ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง ๓.๑ ขยายและยกระตับอาชีวศึกษาระบบทริภาคี (DVE for All) ๓.๒ ยกระดับการขับเคลื่อนความรวมมือกับภาคเอกชน (Active MOU/MOA) ๓.๓ พัฒนาคุณภาพและทักษะชีวิตผูเรียนอาชีวศึกษาในทุกมิติ ๓.๔ สงเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ๓.๕ สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม การวิจัย และสิ่งประดิษฐ วาระงานพัฒนาที่ ๔ พัฒนาระบบการเทียบระตับการศึกษาและคลังหนวยกิตอาชีวศึกษา (Credit Bank) ๔.๑ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ปวช./ปวส./ป.ตรี ๔.๒ พัฒนาระบบการวัดผล เทียบระดับการศึกษาและประเมินผลการศึกษา ๔.๓ พัฒนาระบบคลังหนวยกิตอาชีวศึกษา ๔.๔ ตั้งศูนยเทียบโอนผลการเรียนในระดับจังหวัด (๗๗ ศูนย) ๔.๕ สงเสริมการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทวิศึกษา วาระงานพัฒนาที่ ๕ พัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการศึกษาและทำงาน (Language Skills) ๕.๑ พัฒนาทักษะตานภาษาใหกับผูเรียน ๕.๒ สงเสริมทักษะดานภาษาเพื่อการทำงานใหกับประชาชน ๕.๓ พัฒนาหลักสูตร ๒ ภาษา (อังกฤษ/จีน)


3 วาระงานพัฒนาที่ ๖ สรางชางชุมชน เพื่อใหประชาชนมีอาชีพเสริม (๑ วิทยาลัย ๑ ศูนยชางชุมชน) ๖.๓ สรางศูนยชางชุมชน ๔๓๓ แหง ๖.๒ พัฒนาทักษะอาชีพชางและสรางอาชีพเสริม (หลักสูตรชางชุมชน) ๖.๓ พัฒนา Application ชางชุมขน วาระงานพัฒนาที่ ๗ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลและการบริหารจัดการ ๗.๑ แกไขปญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา ๗.๒ แกไขปญหาความขาตแคลนครูผูสอนอาชีวศึกษา (จัดหาครูอัตราจาง) ๗.๓ สงเสริมใหครูปฏิบัติงานในภูมิสำเนาของตนเองตามแนวทางของ ก.ค.ศ. ๗.๔ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง ๗.๕ สงเสริมขาราชการครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีวิทยฐานะและตำแหนงทางวิชาการ ที่สูงขึ้น ๗.๖ ขับเคลื่อนและบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ๗.๗ ปองกันและปราบปรามการทุจริตคอรรัปชั่นอยางมีประสิทธิภาพ ๗.๘ นำระบบเทศโนโลยีดิจิทัลเขามาใชในการบริหารจัดการ ๗.๙ ปรับปรุงกฎ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง วาระงานพัฒนาที่ ๘ เสริมสรางภาพลักษณอาชีวศึกษายุคใหม ๘.๓ เสริมสรางสถานศึกษาอาชีวศึกษาแหงความสุขและปลอดภัย ๘.๒ ยกระดับการประชาสัมพันธและการสื่อสารองคกร ๘.๓ เชิดจูเกียรติศิษยเกาตีเดน / สรางตนแบบรุนพี่อาชีวะ (Senior Idol) ๘.๔ สงเสริม Soft Pover อาชีวศึกษา (๓ วิทยาลัย 1 Soft Power/อัตลักษณ) เพื่อใหการพัฒนาอาชีวศึกษาและการปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ เปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ บังเกิดผลสัมฤทธิ์เชิงบทบาท ภารกิจที่เปนรูปธรรม และสอดคลองกับนโยบายการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการรวมถึงสอดคลองและ สนับสนุนตอนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนระดับชาติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กลุมที่ 18 จึงมีแนวคิดสำหรับการพัฒนาแพลตฟอรม และสื่อการเรียนรูอาชีวศึกษา ดวย ระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล ตามวาระงานพัฒนาที่ ๑ สงเสริมการเรียนรูอาชีวศึกษาทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ การพัฒนาดานยุคดิจิทัลซึ่งยุคดิจิทัลมีความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ไมสามารถหยุดยั้งการศึกษาตองมี การปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวยุคดิจิทัลเปนยุคกระแสหลักของโลกนับจาก ทศวรรษนี้ การไมเปลี่ยนแปลงหรือยึดติดกับอะไรเดิม ๆ อาจจะทำใหองคกรลาหลัง ดอยพัฒนาสุดทายองคกร เหลานั้นก็ยอมลมสลายลงได การศึกษาไทยจึงตองมีการปรับเปลี่ยนโดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารและ การจัดการเรียนการสอนอยางหลีกเลี่ยงไมได สถานศึกษาจึงตองนำเทคโนโลยีดิจิทัลเขามามีบทบาทในการ จัดการเรียนการสอนและการมีสวนรวมของการเรียนแบบทวีภาคี รวมไปถึงการมีคลังสื่อดิจิทัล เพื่อใหนักศึกษา


4 และบุคคลทั่วไป รวมถึงสถานประกอบการและชุมชน สามารถเขา มาใชบริการเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางเต็ม ศักยภาพทุกที่ทุกเวลา ตามกรอบนโยบายการศึกษา “เรียนดี มีความสุข” โดยมีวิสัยทัศนการบริหารดังนี้ 1.วิสัยทัศนในการพัฒนาสถานศึกษา "มุงมั่นจัดการอาชีวศึกษา ผลิตและพัฒนากำลังคนสูความเปนเลิศ ในยุคดิจิทัล" การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สงเสริมการยกระดับคุณภาพอาชีวศึกษาระดับทวิภาคี (ตามนโยบาย 8 Agenda) และขับเคลื่อน การเรียนการสอนในสาขาวิชาที่มีความพรอมเพื่อเปนตนแบบใหกับสาขาวิชาอื่น และสถานศึกษาตางๆ ในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมไปถึงสถานประกอบโดยการวิเคราะหประเภทวิชา และสาขาวิชา ที่จัดการศึกษารวมอบรมพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพ (Skill Certificate) เพื่อใหสอดคลองกับความตองการ ของสถานประกอบการในยุคปจจุบัน จัดระบบ (Credit Bank System) เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาและ บุคคลทั่วไปไดเรียนและทำงานไปในเวลาเดียวกัน สามารถรวบรวมผลการเรียนรูสำหรับใชเทียบโอนหนวยกิตเพื่อ ขอใบประกอบวิชาชีพหรือเทียบคุณวุฒิในการทำงานทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาได จัดระบบ การแนะแนวการเรียน (Coaching) และเปาหมายชีวิตเพื่อใหตรงกับความถนัดและความตองการของผูเรียน ตรงตาม ความตองการของตลาดแรงงานที่ปรับเปลี่ยนในปจจุบันนี้ กรอบแนวคิดรูปแบบการพัฒนา


5 ศูนยการพัฒนาทักษะและอบรม (การเปลี่ยนวิชาเรียนเปนอาชีพ) ● จัดศูนยการอบรมตางๆ และศูนยทดสอบคุณวุฒิวิชาชีพ มี LAB ในการเรียนเมื่อเรียนจบตาม หลักสูตร และสอบผานแลวไดใบรับรองมาตรฐานอาชีพจากสถาบันตามคุณวุฒิวิชาชีพตามวิชาชีพนั้นๆทั้งครู นักศึกษา และสถานประกอบการ มาใชอบรมพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพ ที่ตองการ Up Skill ,Re Skill, New Skill พัฒนาศูนยกลางในดานระบบและกลไก การจัดการเรียนการสอนออนไลนเพื่อสงเสริมใหผูเรียนหรือ ผูสนใจเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการพัฒนาระบบการจัดการสอนออนไลนเปดชองทางการเรียนรูไดทุกที ทุกเวลา ไมมีขอจำกัดอายุหรือวุฒิการศึกษาเมื่อผูเรียนศึกษาผานเกณฑรายวิชา จะไดรับ Skill Certificate ในระบบออนไลน มีระบบ E-Testing เปดโอกาสใหวัดผลการเรียนรูของตนเองอยางมีมาตรฐานตอยอด ผลการเรียนรูใหเกิดประโยชนตอตนเอง สถานศึกษาดิจิทัล พัฒนาโครงขายขั้นพื้นฐานใหเชื่อมโยงทุกดาน ทุกมิติ มีการสื่อสารที่เปนระบบ สามารถเขาถึงระบบ สารสนเทศในดานตาง ๆ พรอมตอการปรับเปลี่ยนโครงสรางที่มียืดหยุนเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา มีคลังสื่อดิจิทัล แหลงเรียนรู (Education And Human Resource Development) พัฒนาระบบ E-Profile เพื่อทำการจัดเก็บขอมูล การจัดระบบธนาคารหนวยกิตดิจิทัล (Digital Credit Bank Platform) ผลการเรียนรู ของผูเรียนไดตลอดชีวิต และสามารถนำไปในการสมัครเรียนหรือสมัครงานได เรียนไดทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) เรียนฟรี มีงานทำ สอดคลองกับนโยบาย “เรียนดี มีความสุข ”


6 2. แนวคิดในการนำวิสัยทัศนไปสูการปฏิบัติ วิสัยทัศนการพัฒนาสถานศึกษาทางดานดิจิทัลมาใชในการขับเคลื่อนศูนยการพัฒนาทักษะ เพื่อความ เปนเลิศทางการอาชีวศึกษา (Smart Excellent Center) โดยสนับสนุนทางดานอุปกรณ ครุภัณฑ บุคลากรที่มีความชำนาญตรงตามสายงาน อาคารสถานที่ ใชเทคโนโลยีดิจิทัล ผูบริหารมีความรู ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษาและขับเคลื่อนการ จัดตั้งศูนยอบรมในสาขาวิชาชีพตางๆ เพื่อเปนศูนย อบรมพัฒนาครูผูสอนในสถานศึกษา ขาพเจาจึงนำ Model VETIAMAT มาใชเปนแนวทางในการบริหาร สถานศึกษาในยุคดิจิทัล โดยมีรายละเอียดการบริหารสถานศึกษา ดังนี้ กำหนดวิสัยทัศน (Vision) การพัฒนาโดยมีการกำหนดเปาหมายที่เชื่อมโยงกับภารกิจ และคานิยม เขาดวยกัน แลวมุงสู เปาหมายที่ตองการ เปาหมายดังกลาวตองชัดเจน ทาทาย และมีความเปนไปได โดยการประยุกตใช เทคโนโลยีดิจิทัลกับการศึกษา เชน Cloud Base Technology, Social Media, MOOCs, Tablet, Laptop, Big Data Analytics, IOT (Internet of things) หรือแมแต E- Learning ที่ใชเปน สื่อกลางใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime) แบบเปดเสรีสำหรับทุกคนในโลก สามารถสมัครเขาเรียนไดโดยไมจำกัดจำนวน เนนในระดับการศึกษาขั้นสูงในระบบการศึกษาแบบเดิม ซึ่งมีขอจำกัด อยูแตเฉพาะในหองเรียน และรองรับผูเรียนไดในขีดจำกัด การมีสวนรวมของบุคลากร (Employee Engagement) ขาพเจาจะนำการพัฒนาโดยการใหแนวคิด การมีสวนรวมของคนในสถานศึกษารวมกันตัดสินใจ มีสวนรวมในการวางแผนระบบงาน การมีสวนในกิจกรรม ทั้งภายในองคกรและนอกองคกร มีสวนรวมในการจัดอบรมและสัมมนาตางๆ ตลอดจนทำใหเกิดความรวมมือ กับสถานศึกษาในทุกๆดาน มีความผูกพันตอสถานศึกษาและความรูสึกเปนสวนหนึ่งขององคกรเพื่อนำไปสูความ ภูมิใจ ความสามัคคี ความรักตอสถานศึกษา การพัฒนาบุคลากร (Training) ขาพเจาจะนำการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในดานทักษะความ ชำนาญในการทำงานตลอดจนปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทุกระดับใหเปนไปในทิศทางเดียวกันการเพิ่ม ประสิทธิภาพบุคลากรสามารถทำไดดวยวิธีการสงเสริมใหบุคคลากรเขารับฝกอบรมสัมมานาตางๆ ลงมือ ปฏิบัติงานจริงทำงานรวมกับสถานประกอบการ


7 พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (Digital Infrastructure) ขาพเจาจะพัฒนาโครงสรางหลักของสถานศึกษาให สามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีมีใหสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพไดแก Hardware ,Software ,Network ของสถานศึกษาใหครูอาจารยบุคลากรและนักศึกษาทุกคนสามารถใชและ เขาถึงไดอยางรวดเร็ว สะดวกตอการใชงาน การเขาถึงเทคโนโลยี (Access to technology) ขาพเจาจะพัฒนาการใหบริการระบบเครือที่ได มาตรฐาน สามารถรองรับการเรียนการสอน การทำงานแบบทุกที่ทุกเวลา ผานอุปกรณเคลื่อนที่ ที่มีความหลากหลาย การติดตามและประเมินผล (Monitoring) ขาพเจาจะพัฒนาการจัดใหมีระบบการกำกับติดตามและการให คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช ICT ของสถานศึกษาทั้งครูอาจารยบุคลากรทุกคนและนักเรียนวาสามารถใชไดอยางมี ประสิทธิภาพเปนไปตามนโยบายอยางถูกตองเหมาะสม การวิเคราะหปญหา (Analysis) ขาพเจาจะพัฒนา กระบวนการแกปญหาอยางมีขั้นตอนโดยใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือทางสารสนเทศเพื่อให การปฏิบัติงานสะดวกรวดเร็วถูกตองและแมนยำโดยการนำกระบวนการสารสนเทศเขาชวยมาแกปญหา เปาหมายการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล (Target) ขาพเจาจะพัฒนาเปาหมายการบริหารสถานศึกษาใน ยุคดิจิทัลโดยมุงเนนเปาหมายในการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลใชเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพตอสถานศึกษา พันธกิจ 1. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและ มาตรฐานสากล 2. ผลิตกำลังคนดานอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพรวมกับสถานประกอบการ ตรงตามความตองการของ ตลาดแรงงานและมาตรฐานสากล 3. พัฒนาผูเรียนระบบทวิภาคี ใหมีสมรรถนะดานเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค สามารถนำความรูไปประยุกตใชในการทำงานและการดำเนินชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาใหมีสมรรถนะในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี พัฒนาสถานศึกษาและสรางความรวมมือกับสถานประกอบการใหเปนพื้นที่การเรียนรูรวมกันอยางมีคุณภาพ เปาหมาย ผูเรียนมีสมรรถนะ ดานอาชีพ คุณลักษณะอันพึงประสงค เทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรม ตรงตามความตองการ ของตลาดแรงงานและมาตรฐานสากล ครูและบุคลากรทางการศึกษา 1. มีทักษะในกับการใชเทคโนโลยีและเครื่องมือสารสนเทศเห็นถึงความสำคัญในการเรียนรู 2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหปญหาและนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการแกปญหา 3. มีทักษะความเปนภาวะผูนำทางดิจิทัลมีความรูเกี่ยวกับแพลตฟอรม มีกลยุทธในการตัดสินใจ สงผลใหเกิดผลลัพธไดรับหลังจากใช Model of VETIAMAT ดังนี้


8 4. มีคลังขอมูลในรูปแบบดิจิทัลที่สามารถเก็บและเขาถึงไปทุกทีทุกเวลา สามารถนำขอมูลไปบูรณาการ ใหเกิดนวัตกรรมใหม ประกอบดวยองคความรูใหม สิ่งประดิษฐใหมการใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและ สถานศึกษา นักศึกษา 1. นักศึกษามีทักษะการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสม สืบคนขอมูลสารสนเทศจากการใช สารสนเทศบนเว็บไซต หรือสื่อเทคโนโลยีตางๆ 2. มีทักษะการความรูการหารายไดระหวางเรียน จบแลวมีงานทำ (Learn to Earn) 3. มีทักษะที่หลากหลายมีกระบวนการคิดและเทคนิคที่จำเปนในการคนหาทำความเขาใจประเมินการสรางสื่ อและนวัตกรรมทางสารสารสนเทศ 4. มีความสามารถทางสังคม อารมณ และการรับรู ที่จะทำใหสามารถเผชิญกับความทาทายของชีวิตใน ยุคดิจิทัล และสามารถปรับตัวใหเขากับชีวิตดิจิทัลได มีความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมทั้งความรู ทักษะ ทัศนคติ DQ (Digital Intelligence Quotient) ชุมชน 1. ชุมชนมีสถานบันการศึกษาที่มีแหลงเรียนรู อบรมการประกอบอาชีพเสริม เพื่อเปนการเสริมทักษะใหม (New skill) เพิ่มสมรรถนะ (Up Skill) หรือทบทวนทักษะ (Reskill) ใหแกนักศึกษาและบุคคลที่มีความสนใจ งานอาชีพ 2. ชุมชนสามารถจัดทำองคความรูเพื่อพัฒนาชุมชน จัดเก็บขอมูลของชุมชนอยางเปนระบบ (KM) และ สามารถถายทอดการเรียนรู วิถีของชุมชน วัฒนธรรมชุมชน ความรูของปราชญชาวบานสมัยโบราณจนถึง ปจจุบัน 3. ชุมชนสามารถคนควาขอมูล ที่เปนนวัตกรรมใหม คนคิดวิธีการใหม สามารถเผยแพรและสรางอาชีพ สรางรายได พัฒนาทองถิ่น ใหเปนชุนชนที่มีความเปนอยูที่ดีขึ้น สถานประกอบการ 1. มีศูนยการพัฒนาทักษะการเรียนรู ศูนยทดสอบคุณวุฒิวิชาชีพ (การเปลี่ยนวิชาเรียนเปนอาชีพ) 2. มีสถานศึกษาที่มีความพรอมรวมระหวางสถานประกอบการ รวมมือกันลงทุน รวมมือกันพัฒนา หลักสูตรรวมมือกันพัฒนาบุคลากรซึ่งจะสงผลตอการพัฒนานักศึกษาตรงความตองการของสถานประกอบการที่ รวมกันสรางองคความรูใหมโดยปรับวิธีสอนและเรียนรูปฏิบัติครูฝกในสถานประกอบการเพื่อใหไดแรงงานที่มี คุณภาพตรงตามความตองการของสถานประกอบการ


9 สถานศึกษา 1. มีแฟตฟอรม (Data Platform) ของการทำงานของสถานศึกษาทุกฝาย ทุกงานรวมถึงการใชการเรียน การสอนออนไลนเชื่อมโยงกันทั้งระบบ เปนการลดขั้นตอนสะดวกรวดเร็วและลดการใชกระดาษ ประหยัด งบประมาณ 2. มีศูนยคลังขอมูลดิจิทัล (Data Center) ศูนยในการสืบคนขอมูลที่สามารถเขาถึงไดทุกทีทุกเวลา 3. มีระบบ Smart Security เปนระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา การตอบสนองนโยบาย 8 Agenda


10


Click to View FlipBook Version