The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by samadchaya1310, 2019-09-09 04:48:09

ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์

มนษุ ย์ ใช้ภาษาในการส่ือสารมาตงั้ แต่สมยั โบราณ การใช้ภาษาเป็นเรื่องที่มนษุ ย์พยายาม
ถ่ายทอดความคดิ และความรู้สกึ ตา่ ง ๆ เพ่ือการโต้ตอบและส่ือความหมาย ภาษาที่มนษุ ย์ใช้
ตดิ ตอ่ สื่อสารในชีวิตประจาวนั เช่น ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ หรือภาษาจีน ต่างเรียกว่า
“ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language) เพราะมีการศกึ ษา ได้ยิน ได้ฟัง กนั มาตงั้ แต่
เกิดการใช้งานคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนกิ ส์ให้ทางานตามที่ต้องการ
จาเป็นต้องมีการกาหนดภาษา สาหรับใช้ติดต่อสงั่ งานกบั คอมพวิ เตอร์ ภาษาคอมพวิ เตอร์จะ
เป็น ”ภาษาประดิษฐ์” (Artificial Language) ท่ีมนษุ ย์คิดสร้างมาเอง เป็นภาษาท่ีมี
จดุ มงุ่ หมายเฉพาะ มีกฎเกณฑ์ท่ีตายตวั และจากดั คืออยใู่ นกรอบให้ใช้คาและไวยากรณ์ท่ี
กาหนดและมีการตีความหมายที่ชดั เจน จงึ จดั ภาษาคอมพวิ เตอร์เป็นภาษาที่มีรูปแบบเป็น
ทางการ (Formal Language) ตา่ งกบั ภาษาธรรมชาตทิ ่ีมีขอบเขตกว้างมาก ไม่มี
รูปแบบตายตวั ที่แน่นอน กฎเกณฑ์ของภาษาจะขนึ ้ กบั หลกั ไวยากรณ์และการยอมรับของกลมุ่
ผ้ใู ช้นนั้ ๆ ภาษา คอมพวิ เตอร์อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดบั คือ ภาษาเครื่อง (Machine
Language) ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language) และภาษาระดบั สงู (High
Level Language)

1 ภาษาเคร่ือง (Machine Language)

การ เขียนโปรแกรมเพอ่ื ส่งั ใหค้ อมพิวเตอร์ทางานในยคุ แรก ๆ จะตอ้ งเขียนดว้ ยภาษาซ่ึงเป็น
ท่ียอมรับของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกวา่ “ภาษาเครื่อง” ภาษาน้ีประกอบดว้ ยตวั เลขลว้ น ทาให้
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานไดท้ นั ที ผทู้ ี่จะเขียนโปรแกรมภาษาเคร่ืองได้ ตอ้ งสามารถจา
รหสั แทนคาสง่ั ต่าง ๆ

2 ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language)

เนื่อง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาท่ีมีความย่งุ ยากในการเขียนดงั ได้กล่าวมาแล้ว จงึ ไมม่ ีผู้
นิยมและมีการใช้น้อย ดงั นนั้ ได้มีการพฒั นาภาษาคอมพวิ เตอร์ขนึ ้ อีกระดบั หนงึ่ โดยการใช้
ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็ นรหสั แทนการทางาน การใช้และการตงั้ ชื่อตวั แปรแทนตาแหน่งท่ีใช้
เก็บจานวนตา่ ง ๆ ซง่ึ เป็นคา่ ของตวั แปรนนั้ ๆ การใช้สญั ลกั ษณ์ชว่ ยให้การเขียนโปรแกรมนี ้
เรียกวา่ “ภาษาระดบั ต่า”ภาษาระดบั ตา่ เป็นภาษาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกบั ภาษาเครื่อง
มากบางครัง้ จงึ เรียกภาษานีว้ ่า “ภาษาองิ เครื่อง” (Machine – Oriented
Language) ตวั อย่างของภาษาระดบั ต่า ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คาใน
อกั ษรภาษาองั กฤษเป็ นคาสง่ั ให้เคร่ืองทางาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ
เป็ นต้ น

3 ภาษาระดบั สูง (High Level Language)

ภาษา ระดบั สงู เป็นภาษาที่สร้างขนึ ้ เพ่อื ชว่ ยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
กล่าวคือลกั ษณะของคาสงั่ จะประกอบด้วยคาตา่ ง ๆ ในภาษาองั กฤษ ซง่ึ ผ้อู ่านสามารถเข้าใจ
ความหมายได้ทนั ที ผ้เู ขียนโปรแกรมจงึ เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดบั สงู ได้งา่ ยกวา่ เขียนด้วย
ภาษาแอ สเซมบลีหรือภาษาเคร่ือง ภาษาระดบั สงู มีมากมายหลายภาษา อาทเิ ช่น ภาษาฟอร์
แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก
(BASIC) ภาษาวชิ วลเบสกิ (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java)
เป็นต้น โปรแกรมท่ีเขียนด้วยภาษาระดบั สงู แต่ละภาษาจะต้องมีโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล
ภาษาระดบั สงู ให้เป็นภาษาเคร่ือง เชน่ โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็ นภาษาเคร่ือง

4. ภาษาระดบั สูงมาก

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 4 ซงึ่ เป็นภาษาระดบั สงู มาก จดั เป็นภาษาไร้กระบวนคาสงั่
หมายความวา่ ผ้ใู ช้ เพยี งบอกแตว่ า่ ให้คอมพวิ เตอร์ทาอะไร โดยไมต่ ้องบอกคอมพวิ เตอร์ว่าส่ิง
นนั้ ทาอย่างไร เรียกว่าเป็ นภาษาเชิงผลลพั ธ์ คือเน้นวา่ ทาอะไร ไมใ่ ช่ทาอยา่ งไร ดงั นนั้ จงึ เป็น
ภาษาโปรแกรมที่เขียนง่าย

5. ภาษาธรรมชาติ

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซง่ึ คล้ายกบั ภาษาพดู ตามธรรมชาตขิ องคน การเขียนโปรแกรม
ง่ายท่ีสดุ คือการเขียนคาพดู ของเราเองวา่ เราต้องการอะไร ไมต่ ้องใช้คาสงั่ งานใดๆ เลยดงั นี ้
Fortran : ภาษาระดบั สงู ภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้งานด้านวทิ ยาศาสตร์
วศิ วกรรมศาสตร์ และด้านคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์เทนจะประกอบด้วยข้อความ คาสง่ั ทีละ
บรรทดั

Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธุรกิจ ที่มีลกั ษณะคล้ายกบั ภาษาองั กฤษ และท่ีสาคญั คือ
เป็นภาษาโปรแกรมท่ีอสิ ระจากเครื่อง หมายความว่า โปรแกรมที่เขียนขนึ ้ ใช้งานบน
คอมพวิ เตอร์ชนิดหนงึ่ เพียงแคป่ รับปรุงเล็กน้อย ก็สามารถรันได้บนคอมพวิ เตอร์อีกชนดิ หนง่ึ

Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผ้เู ริ่มต้น เป็นภาษาโปรแกรมท่ีเรียนรู้งา่ ย ไม่ซบั ซ้อน เหมาะ
สาหรับใช้ในวงการศกึ ษา


Click to View FlipBook Version