The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by user, 2023-08-27 05:05:28

เล่มที่ 7 ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น

ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น

หน ั งสื อส ่ งเสร ิ มการอ ่ าน ชุดปัตตานีบ้านเรา กล ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ุ ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เล ่ มท ี่ 7 เรื่องปั ตตาน ี ม ี ภม ู ิปั ญญาท ้ องถ ิ่น นางสุภัทรา บรรจโรจน์ ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาล ๔ วัดนพวงศาราม สังกัดส านักกองการศึกษา เทศบาลเมืองปัตตานี


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 1 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด ปัตตานีบ้านเรา กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้จัดท าขึ้นโดยก าหนดตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาและประเมินผลการเรียน ได้ด้วยตนเอง ตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้โดยมีแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน กิจกรรมเสริมการเรียนรู้พร้อมทั้งมีการเฉลยค าตอบ โดยก าหนดเนื้อหา ออกเป็น 10 เรื่อง แยกเป็น 10 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่1 เรื่อง ปัตตานีน่าอยู่ เล่มที่2 เรื่อง ประวัติเมืองปัตตานี เล่มที่3 เรื่อง ปัตตานีมีสถานที่ส าคัญ เล่มที่4 เรื่อง ท่องเที่ยวเมืองปัตตานี เล่มที่5 เรื่อง ปัตตานีมีอาหารหลากหลาย เล่มที่6 เรื่อง วัฒนธรรม ประเพณีของปัตตานี เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น เล่มที่8 เรื่อง ของดีเมืองปัตตานี เล่มที่9 เรื่อง การละเล่นพื้นบ้านปัตตานี เล่มที่10เรื่อง วิถีชีวิตคนปัตตานี ค าชี้แจง


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 2 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น หนังสือส่งเสริมการอ่าน สร้างขึ้นส าหรับให้นักเรียนได้เรียนรู้ ด้วยตนเอง นักเรียนจะได้ประโยชน์ถ้าท าตามค าแนะน าอย่าง เคร่งครัดต่อไปนี้ 1. อ่านสาระส าคัญ ม าต รฐานก ารเรียน รู้ตัวชี้วัด และ จุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนลงมือศึกษาหนังสือส่งเสริมการอ่าน 2. ห้ามขีดเขียนเครื่องหมายหรือข้อความใดๆ ลงในหนังสือ ส่งเสริมการอ่าน 3. ท าแบบทดสอบก่อนเรียนในกระดาษค าตอบที่เตรียมให้ พร้อมตรวจค าตอบเพื่อเป็นการทดสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน 4. ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาให้เข้าใจตามล าดับโดยไม่ต้อง รีบร้อน 5. นักเรียนจะต้องตั้งใจใฝ่เรียนรู้ซื่อสัตย์และมีวินัย ไม่เปิด เฉลยค าตอบ เพื่อจะตอบค าถาม เพราะจะไม่ช่วยให้ได้รับความรู้และ ความเข้าใจ 6. เมื่อศึกษาจบแล้ว ให้ท าแบบทดสอบหลังเรียนวัดความรู้ ความเข้าใจที่ได้รับลงในกระดาษค าตอบ พ ร้อมตรวจค าตอบ เปรียบเทียบกับแบบทดสอบก่อนเรียน ให้ทราบความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ 7. ส่งหนังสือส่งเสริมการอ่านตามเวลาที่ก าหนด และให้อยู่ใน สภาพเรียบร้อย ขั้นตอนการอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่าน


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 3 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัย ท างป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ส าม า ร ถใช้ วิ ธี ก า รท าง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็น ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่องตระหนักถึงความส าคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้ าใจค วามเป็นม าของช าติไท ย วัฒ น ธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารง ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป 5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1/5/1) ป 5/2 รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบค าถาม ทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล (ส 4.1/ป5/2) ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 4 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของ จังหวัดปัตตานี 2. นักเรียนสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดปัตตานีได้ 3. นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดปัตตานี ได้ 4. นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้จากหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. นักเรียนมีจิตอาสา ใฝ่รู้ใฝ่เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 5 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ทับข้อ ก ข ค และ ง ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. กริช เปรียบได้กับอาวุธชนิดใด ก. มีด ข. ดาบ ค. หอก ง. ขวาน 2. ข้อใดกล่าวถึงกริชไม่ถูกต้อง ก. เป็นเครื่องประดับบ้าน ข. เป็นเครื่องบ่งบอกฐานะทางเศรษฐกิจ ค. เป็นเครื่องรางของขลัง ง. เป็นอาวุธในการต่อสู้ป้องกันตัว 3. ภูมิปัญญาเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประชากรในเรื่องใด ก. ศิลปวัฒนธรรม ข. การจัดการศึกษา ค. วัฒนธรรมประเพณี ง. อาชีพและความเป็นอยู่ แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 6 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ท าอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าอนุรักษ์ภูมิปัญญา ก. ถ่ายทอดความรู้ให้ลูกหลาน ข. ช่วยซื้อสินค้า ค. สะสมสินค้า ง. แนะน าให้นักท่องเที่ยวรู้จัก 5. กอและ หมายถึงอะไร ก. โคลงเคลง ข. คลื่นทะเล ค. สายน้ า ง. ท้องฟ้า 6. เอกลักษณ์ของเรือกอและ คืออะไร ก. ขนาดของล าเรือ ข. ลวดลายของล าเรือ ค. โครงสร้างของล าเรือ ง. ลักษณะการใช้งานของเรือ 7. สิ่งใดไม่ใช่ภูมิปัญญาของจังหวัดปัตตานี ก. การท าเรือกอแระ ข. การท ากริช ค. การท ากรงนกเขา ง. การท าบั้งไฟ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 7 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. ถ้าอยากเรียนรู้วิธีท าเรือกอและ จะต้องไปที่ไหน อ. อ าเภอสายบุรี ข. อ าเภอมายอ ค. อ าเภอโคกโพธิ์ ง. อ าเภอยะรัง 9. สิ่งใดไม่ใช่ภูมิปัญญาในการถนอมอาหาร ก. การท าน้ าบูดู ข. การท าข้าวเกรียบ ค. การท ากะปิ ง. การท าข้าวย า 10.ภูมิปัญญาให้อะไรแก่เรา ก. ความภูมิใจ ข. ความรัก ค. ความสามัคคี ง. ความสนุกสนาน


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 8 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 สรุปการประเมิน ให้นักเรียนกรอกคะแนนก่อนและหลังเรียน ลงในช่องผลการประเมินตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ ผลการประเมิน คะแนนก่อนเรียน................. คะแนน คะแนนหลังเรียน ................. คะแนน ชื่อ – นามสกุล .............................................................................. ชั้น............................................... เลขที่................ กระดาษค าตอบ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 9 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น นาวี นาวี อยู่ไหม อ้าว! อดุลย์ไปไหนมา มีอะไร หรือเพื่อนรัก ฉันดีใจมากที่เธอ มา เพราะก าลังจะไปหาอยู่พอดี ก็คิดถึงนะซิปิดเทอมแล้ว ไม่ค่อยได้เจอกัน เลยอยากมาหา ปัตตานี มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ขึ้นบ้านก่อนซิปิดเทอมเธอ ได้ไปเที่ยวที่ไหนบ้าง


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 10 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ไมได้ไปเที่ยวไหนหรอก เพราะ พ่อไม่ว่าง มีคนสั่งให้พ่อท ากริช ฉันเลยต้องช่วยพ่อ และได้ เรียนรู้วิธีท ากริชจากพ่อด้วย ฉันภูมิใจมากที่ได้ช่วยพ่อท างาน เธอนี้เป็นคนใฝ่รู้ใฝ่เรียน ตลอดเวลา ฉันดีใจที่มีเธอ เป็นเพื่อน เธอก็ชมฉันมากเกินไป อดุลย์ฉันอยากไปเที่ยวบ้านเธอ แล้วซิจะได้คุยกับพ่อของเธอเรื่อง กริช เพราะเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้าน ของเราอย่างหนึ่ง


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 11 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น นาวีเราก็ไปบ้านฉันดีกว่า ก่อนมาฉันเห็นพ่อก าลังท ากริช อยู่ เธออยากรู้อะไรถามพ่อฉัน ได้เลยนะ พ่อครับ นาวีอยากจะมาดูพ่อ ท ากริช เพราะผมบอกนาวีว่า พ่อก าลังท ากริชตามที่ลูกค้าสั่ง อ้าว! สองคนไปไหนมาลูก เข้ามา ในบ้านเลย ข้างนอกอากาศร้อน เดี๋ยวจะไม่สบาย พ่อเป็นห่วง ได้เลยนาวีพ่อเต็มใจ อยากรู้อะไร ถามพ่อได้เลย ถ้าอยากหัดท า พ่อจะสอนให้จะได้เป็นความรู้ สืบทอดต่อไป


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 12 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น พ่อครับ กริชเป็นอาวุธ ป้องกันตัวของคนสมัยก่อน และเป็นเครื่องประดับ ที่เรียกว่า “ศัสตราภรณ์” ใช่ไหมครับ ใช่แล้วนาวีกริชนี่แหละเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความเป็นลูกผู้ชาย ฐานะทางเศรษฐกิจและยศถาบรรดาศักดิ์ของ ผู้เป็นเจ้าของ ถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์กริชมีความส าคัญ งานแต่งงานสมัยก่อน ถ้าเจ้าบ่าวไม่สามารถเดินทางมาร่วมพิธีได้ก็จะส่งกริชมาเป็น ตัวแทนในการเข้าพิธีแต่งงานได้ ในสมัยก่อนครอบครัวหนึ่งจะมีกริช 3-4 เล่ม กริชบางเล่มเชื่อว่าเหน็บ แล้ว ท ามาค้าขายดีถ้าท าไร่ท านา ด้วยก็ต้องหากริชอีกเล่มมาไว้ที่บ้าน เพื่อจะให้ข้าวกล้าที่ดีสัตว์เลี้ยง สมบูรณ์ดีตกลูกมากมาย ไม่เป็นโรค ระบาด ค้าคายร่ ารวย คุ้มภัยหรือ บอกเหตุถ้าต้องท าสงครามก็ต้องมี อีกเล่ม การพกกริชเป็นความเชื่อ ที่มีมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ใช่ว่าใครๆ ก็พกได้นะ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 13 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ตัวกริช มีลักษณะตรงโคนกว้าง ส่วนปลายเรียวแหลม มีคมทั้งสอง ด้าน ตัวกริชมีลักษณะคดไปคดมา หัวกริช หรือด้ามกริช ส าหรับจับนิยมท าเป็นรูปหัวคน หัวสัตว์ ต่อมาเปลี่ยนเป็นรูปทรงเรขาคณิต ที่ไม่ผิดตามหลักศาสนาอิสลาม หัวกริชจะแกะจากวัสดุต่าง ๆ เช่นไม้เนื้อแข็ง งาช้าง เขาสัตว์หรือ หล่อด้วยโลหะ ปลอกสวมกั่น เป็นส่วนที่ติดกับหัวกริช นิยมท าด้วยโลหะ ทองเหลือง เงิน หรือทองค า และมีการแกะสลักลวดลายที่ประณีต ฝักกริช เป็นที่เก็บคมกริชเพื่อความสะดวกในการพกพา มักจะท า ด้วยโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่ท าปลอกสวมกั่น และแกะสลักด้วย ความประณีตสวยงาม กริช ส่วนส าคัญของกริช


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 14 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น พ่อครับ ผมเห็นกริชแต่ละเล่มมี ลักษณะคดไปคดมา เพราะอะไร ครับ กริชจึงมีลักษณะอย่างนี้ เอ! แล้วท าไมกริชจึงต้องคด ท าไมไม่ท าตรงๆ เหมือนมีด หรือดาบ โครงสร้างของใบกริชจะพิสดารมาก คือจะคดไปคดมาทุกเล่ม คดของกริชนี้ เรียกชื่อว่า “เลาะ” กริชจะมีกี่เลาะนั้น ตามต านานแต่สมัยโบราณแล้วแต่ผู้สั่ง ท า ไม่ว่าจะ หนึ่ง เลาะ หรือ สาม ห้า เจ็ด เก้ า ก ริช ทุ ก เล่ ม จ ะมี รูป ท ร ง ไม่เหมือนกับมีด หรือ ดาบ เพราะกริช จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ ความคด หรือเลาะ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 15 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น กริช มีอานุภาพตรงไปตรงที่คดไป คดมานี่แหละ เมื่อกริชแทงคู่ต่อสู้ แล้วปลายเล็กและแหลมก็จะแทง ผ่านกระดูกและกล้ามเนื้อได้อย่าง ง่ายดาย กว่าจะดึงกริชออกจาก ร่างได้ก็เจ็บปวดทรมานมาก สมัยนี้คนไม่พกอาวุธไปไหนมาไหน ห รอก เข าต้อ งพ กพ าปัญ ญ า ความรู้พกความดีเอาไว้กับตัว มีอะไรเกิดขึ้นก็สามารถใช้ปัญญา ความรู้แก้ปัญหาต่างๆ ได้ เป็นอาวุธที่น่ากลัวเหลือเกินนะ พ่อ ผมคงไม่กล้าพกไปไหนมา ไหนหรอก อันตรายมาก


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 16 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น พ่อยินดีที่จะสอนลูกทั้งสอง และคนอื่นๆ ที่สนใจ เพื่อจะ เป็นภูมิปัญญาสืบทอดให้กับ คนรุ่นหลังต่อไป วันนี้ผมได้รับความรู้เกี่ยวกับกริช จากพ่อมาก ขอบคุณมากครับ ผม จะมาเรียนวิธีท ากริชกับพ่อนะครับ คุณตาเจะเฮง และเซ็ง ชาวต าบล กะลาพอ อ าเภอสายบุรีเป็นช่าง กริชอาวุโสที่มีฝีมือเป็นเลิศท ากริช ด้วยชีวิตจิตใจ เราจึงนับถือว่า คุณตาเป็นภูมิปัญญาส าคัญอย่าง หนึ่งของจังหวัดปัตตานี พ่อครับ การท ากริชเป็น ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ในจังหวัดปัตตานีของเราใช่ ไหมครับ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 17 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนๆ ครับ ผมขอแนะน า พี่สุไลมานผู้เชี่ยวชาญเรื่อง เรือกอและนะครับ กอและเป็นภาษายาวีหมายถึง โคลงเคลง เพราะเมื่อเรืออยู่ในทะเล จะอยู่ไม่นิ่ง เนื่องจากกระแสคลื่นทะเล จึงท าให้เรือโคลงเคลงไปมา จึงเรียกว่า เรือกอและ หรือหมายถึง เรือโคลงเคลง เปิดภาคเรียนใหม่ เด็กๆ ดีใจมาก เพ ราะไม่ได้พบกันเกือบ 2 สัปดาห์ ต่างพูดคุย หยอกล้อกันอย่างสนุกสนาน เล่าเรื่องราวต่างๆที่ได้ไปท ามาในช่วง ปิดภาคเรียน วัน ต่อ ม าคุณ ค รูพ านั ก เรีย น ออกไปเยี่ยมชมแหล่งผลิตเรือกอและ ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดปัตตานีซุลกิฟลี อาสาเป็นมัคคุเทศก์พาเพื่อนๆ เยี่ยมชม การท าเรือกอและ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 18 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น เรือกอและ เป็นเรือประมง ขนาดเล็ก มีความคล่องตัวสูง โต้คลื่นได้ดีและคว่ ายาก เพราะท้องเรือมีลักษณะกลม เป็นรูปทรงที่รับกันกับลักษณะ ของคลื่นในทะเล จึงสามารถที่ จะแล่นในทะเลได้อย่างมั่นคง ไม้ส าหรับท าเรือกอและจะใช้ไม้ล าต้นใหญ่ๆ มาขุดและเปิด ให้กว้าง จากนั้นในตัวล าเรือ จะมีการวาดดอกเป็นศิลปะต่าง ๆ ทั้งลายไทย ลายชวา ลายหนุมานเหินเวหา ลายหัวพญานาค ลาย หัวนกในวรรณคดี เช่น บุหรง ซีงอ หรือสิงห์ ลายกนกต่างๆ อย่าง สวยงาม เพื่อแสดงถึงความยิ่งใหญ่ และความมีฐานะของเจ้าของ เรือด้วย นอกจากวาดโดยลงสีแล้วยังมีการแกะฉลุในบางส่วน


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 19 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น จาปิ้ง คื อ ส่ ว น ข อ งหั ว เรื อ ซึ่งสมัยก่อนถือว่าเป็นที่ สิงสถิตของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ให้ ค ว าม คุ้ ม ค ร อ ง ลู ก เรื อ เรื อ ก อ แ ล ะ มีเอกลักษณ์ที่โดเด่น ทั้ ง รู ป ร่ า ง ลั ก ษ ณ ะ ล ว ด ล า ย ต่ า งๆ บ น ตัวเรือ กอมา เป็นส่วนล่ างขอ งป า แปทูวอ ซึ่งท ารายแซะ เนื้ อไม้ แ ล ะเจ าะ รูไม้ ส าหรับผูกสิ่งของ เช่น เชือกเสาตะเกียง เชือก ของใบเรือ และโอ่งใส่ น้ า ส่วนประกอบของเรือกอและ ปาแปทูวอ คือขอบเรือที่นูนออกมาข้างนอก เป็นลักษณะกันชน ยาวตลอดล าเรือ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 20 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีตที่ต าบลปะเสยาวอ อ าเภ อส ายบุ รีจั งห วัดปัตต านี มีช่ างต่อเรือก อแล ะเป็นที่ รู้จัก ในวงการเรือกอและ ชื่อนายตาเยะ บูละ หรือเวาะเยาะ บูละ ปั จจุบัน ฝีมือต่อเรือขอ ง นายตาเยะ บูละ ได้ตกทอดมาถึง บุ ต รห ล าน ที่ ส าม า รถ ท าเรื อ กอและได้ทั้งชนิดออกทะเลและ เรือกอและจ าลอง เพื่ออวดฝีมือ แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญ า ข อ ง บรรพบุรุษได้สืบทอดตลอดไป


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 21 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ค าชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพเรือกอและหรือกริช ระบายสีให้สวยงาม พร้อมบอกส่วนประกอบส าคัญให้ถูกต้อง กิจกรรมเสริม 1.ชื่อ....................................................................................................... 2.ส่วนประกอบส าคัญ............................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 22 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ค าศัพท์ ความหมาย กริช น. อาวุธชนิดหนึ่งคล้ายมีด ปลายแหลม ใบมีดตรงก็มีคดก็มี เป็นของชาวมลายู คด ว. ลักษณะไม่ตรงตลอด โคลง ก. เอียงไปเอียงมาหรือท าให้เอียง ผู้เชี่ยวชาญ น. ผู้มีความรู้ ฉูดฉาด ว. จ้ากว่าปกติอาจท าให้รู้สึก บาดตา ฐานะ น. ต าแหน่งหน้าที่ ล าดับความ เป็นอยู่ของสังคม ท้องถิ่น น. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพาะ พิสดาร ว. แปลก มัคคุเทศก์ น. ผู้น าเที่ยว เรือกอและ น. เรือประมงชายฝั่งทะเลทาง ภาคใต้รูปร่างยาวเพรียว หัว และท้ายเรือแหลมสูง เขียนสวด ลายสีสันต่างๆ ไว้อย่างสวยงาม อธิบายศัพท์


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 23 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ค าศัพท์ ความหมาย ทะนุบ ารุง น . ซ่ อมแซม รักษ า อุดหนุน ให้เจริญ ภูมิปัญญา น. พื้นความรู้ความสามารถ ลวดลาย น . ล า ย ต่ า ง ๆ ที่ เขี ย น ห รื อ แกะสลัก โลหะ น. ธาตุที่ถลุงจากแร่แล้ว เช่น เหล็ก ทองแดง ศักดิ์สิทธิ์ ว. ขลัง สร้างสรรค์ ก. ท าให้มีให้เป็นขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ เอกลักษณ์ น. ลักษณ ะที่เหมือนกันหรือมี ร่วมกัน อานุภาพ น. อ านาจ ฤทธิ์เดช อันตราย น. เหตุที่อาจท าให้ถึงแก่ความ ตายหรือพินาศ


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 24 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ทับข้อ ก ข ค และ ง ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สิ่งใดไม่ใช่ภูมิปัญญาของจังหวัดปัตตานี ก. การท ากริช ข. การท าบั้งไฟ ค. การท าเรือกอแระ ง. การท ากรงนกเขา 2. ภูมิปัญญาให้อะไรแก่เรา ก. ความรัก ข. ความภูมิใจ ค. ความสามัคคี ง. ความสนุกสนาน 3. ภูมิปัญญาเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประชากรในเรื่องใด ก. ศิลปวัฒนธรรม ข. การจัดการศึกษา ค. วัฒนธรรมประเพณี ง. อาชีพและความเป็นอยู่ แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 7 เรื่อง ปัตตานีมีภูมิปัญญาท้องถิ่น


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 25 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. สิ่งใดไม่ใช่ภูมิปัญญาในการถนอมอาหาร ก. การท ากะปิ ข. การท าข้าวย า ค. การท าน้ าบูดู ง. การท าข้าวเกรียบ 5. กอและ หมายถึงอะไร ก. ท้องฟ้า ข. สายน้ า ค. คลื่นทะเล ง. โคลงเคลง 6. เอกลักษณ์ของเรือกอและ คืออะไร ก. ลักษณะการใช้งานของเรือ ข. โครงสร้างของล าเรือ ค. ลวดลายของล าเรือ ง. ขนาดของล าเรือ 7. ถ้าอยากเรียนรู้วิธีท าเรือกอและ จะต้องไปที่ไหน อ. อ าเภอยะรัง ข. อ าเภอมายอ ค. อ าเภอสายบุรี ง. อ าเภอโคกโพธิ์


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 26 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. กริช เปรียบได้กับอาวุธชนิดใด ก. มีด ข. ดาบ ค. หอก ง. ขวาน 9. ข้อใดกล่าวถึงกริชไม่ถูกต้อง ก. เป็นเครื่องรางของขลัง ข. เป็นเครื่องประดับบ้าน ค. เป็นอาวุธในการต่อสู้ป้องกันตัว ง. เป็นเครื่องบ่งบอกฐานะทางเศรษฐกิจ 10.ท าอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าอนุรักษ์ภูมิปัญญา ก. สะสมสินค้า ข. ช่วยซื้อสินค้า ค. แนะน าให้นักท่องเที่ยวรู้จัก ง. ถ่ายทอดความรู้ให้ลูกหลาน


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 27 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อ – นามสกุล .............................................................................. ชั้น............................................... เลขที่................ ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 สรุปการประเมิน ให้นักเรียนกรอกคะแนนก่อนและหลังเรียน ลงในช่องผลการประเมินตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ ผลการประเมิน คะแนนก่อนเรียน................. คะแนน คะแนนหลังเรียน ................. คะแนน เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียน


หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ปัตตานีบ้านเรา 28 เล่มที่7 เรื่อง ปัตตานีที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น นราวดี โลหะจินดา. (2553). สายใยชุมชนสืบสานภูมิปัญญาอ่าว ปัตตานี. สงขลา : ดุนยาครีเอชั่น ประพนธ์ เรืองณรงค์. (2554). บุหงาปัตตานี คติชนไทยมุสลิมชายแดน ภาคใต้. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสถาพรบุ๊คส์ จ ากัด ปรัศนี หมัดหมาน. (2558). แสงแรกแสงลับฟ้าที่ปัตตานี. สงขลา : ไอคิวมีเดีย พรทิพย์ พันธ์โกวิท. (2557). หนังสือน่าชมโบราณสถานที่ส าคัญในเขต พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล). สงขลา : กรมศิลปากร มุสลิมโพสต์. ประวัติของกริชปัตตานี และกริชเมืองรามันห์ อาวุธคู่กาย เจ้าเมืองมลายู. ค้นจาก http://news.muslimthaipost.com/news/30217 ส านักงานจังหวัดปัตตานี. (2558). ปัตตานีวันนี้. ปัตตานี : ไอดีโฟร์ ส านักงานจังหวัดปัตตานี. (2559). สวัสดีปัตตานี. ปัตตานี : ไอคิวมีเดีย อเนก นาวิกมูล. (2557). สมบัติปัตตานี. ปัตตานี : บริษัทพิมพ์ดีจ ากัด อับดุลรอนิง ลาเต๊ะ. (2560). ปัตตานีบ้านฉัน “เรือกอและ” มรดกใต้ จิตรศิลป์พหุวัฒนธรรม.ค้นจาก https://yala-pataninaratiwat. blogspot.com/2017/01/blog-post_69.html หนังสืออ้างอิง


Click to View FlipBook Version