1
ก2
คำนำ
วิธีหรือแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่องการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดลเพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ กศน.ตำบล
ไม้ดัด นี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา ให้สอดคล้องกับผู้เรียน และสามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้
ในการเขียนรายงานครั้งนี้ ผู้จัดทำหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน และการจัดการเรียนการ
สอน และเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนเรยี นร้จู ากแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ในครง้ั ต่อไปเพื่อผู้เรยี นจะได้รับ
ประโยชน์ยิ่งขึ้นจึงหวังว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ และการ
พัฒนาการเรียนการสอนเป็นอย่างดี หากท่านใดมีข้อเสนอแนะใดๆ ผู้วิจัยยินดีน้อมรับด้วยความขอบคุณยิ่ง
เพื่อทจ่ี ะไดน้ ำไปปรบั ปรุงในโอกาสต่อไป
รงั สรรค์ บญุ มาแคน
ข3
สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ค
ความสำคญั /ความเปน็ มาและกรอบแนวคิดในการพัฒนา......................................................... 1
วตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายในการดำเนนิ งาน............................................................................. 2
2
วัตถุประสงค์................................................................................................................. 2
เปา้ หมาย...................................................................................................................... 3
กระบวนการ/ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน......................................................................................... 3
การออกแบบผลงาน/นวตั กรรม................................................................................... 3
การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม......................................................................................... 5
ลำดบั ข้ันตอนการดำเนินกิจกรรมยดึ หลกั การทำงานตามศาสตรพ์ ระราชา (KING)…..
ลำดบั ขั้นตอนการดำเนินกจิ กรรมพฒั นา Flow Chart ของวธิ ีหรือแนวทางปฏบิ ตั ิที่ 6
เป็นเลศิ ........................................................................................................................
แนวทางการพฒั นาศูนยเ์ รียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ 7
เพ่ือเปน็ แหลง่ สนับสนนุ การเรียนร.ู้ .............................................................................. 13
การใชท้ รพั ยากร........................................................................................................... 13
ผลลพั ธ์ที่เกิดจากการดำเนนิ งาน................................................................................................ 14
ปจั จยั ความสำเรจ็ ...................................................................................................................... 14
บทเรียนทีไ่ ดร้ ับ.......................................................................................................................... 15
การเผยแพรแ่ นวทางการปฏิบัติท่ดี .ี ........................................................................................... 16
บรรณานกุ รม...................................................................................................................... ....... 17
ภาคผนวก............................................................................................................................. ..... 18
ภาพกจิ กรรม................................................................................................................ 33
คณะผ้จู ดั ทำ...............................................................................................................................
1
แนวปฏบิ ัตงิ านท่ดี ี (Best Practice)
การพฒั นาศนู ย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ โคก หนอง นา โมเดล
เพ่ือเปน็ แหล่งสนับสนนุ การเรียนรู้ กศน.ตำบลไม้ดัด
1. ความสำคญั /ความเปน็ มาและกรอบแนวคิดการพัฒนา
ตามทร่ี ัฐบาลไดน้ ้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมาเป็นแนว
ทางการบริหารประเทศ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงและ
ยั่งยืนนั้นเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำ
ตำบลในทุกตำบล จำนวน 7,424 แห่ง เพื่อให้ชุมชนใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้เรื่องหลักการทรงงานของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลักการเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยใช้ กศน.ตำบล ซึ่งกระจาย
อยู่ทว่ั ประเทศเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ของประชาชน พร้อมท้งั จดั สรรครู กศน.ตำบล เพื่อทำหน้าทีส่ ่งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ใหก้ ับประชาชนอยู่แลว้ โดยเน้นหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ให้มากข้ึนสำหรับ
การดำเนินงานเรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ผ่านมา มีหลายหน่วยงานที่ร่วม
ดำเนินการ อาทิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหลักในการดำเนินงานในพื้นที่ และมี
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.)
เปน็ หน่วยประสานและจัดกระบวนการเรยี นรูร้ ่วมกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ในพ้ืนท่ี
ศูนย์นี้จะมีบทบาทในการให้ความรู้กับประชาชน ในการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร
ทฤษฎีใหม่ มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริง เช่น การจัดปลูกพืชชนิดใด ต้องใช้เหตุผลคำนึงถึงความเหมาะสม
กับสภาพพื้นที่และตรงกับการสง่ เสริมพ้ืนที่เพาะปลูกของรัฐบาล โดยใช้หลกั ของความพอประมาณเพื่อได้ผลผลิต
ที่เหมาะสม นอกจากนี้ในการหาเลี้ยงชีพ ควรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในการปลูกพืชอย่างผสมผสาน หรือการเลี้ยง
สัตวค์ วบคูก่ นั ไปในพ้นื ท่เี พิ่มเตมิ เพื่อใหม้ รี ายได้ทดแทนกนั และสามารถหาความรู้เพิม่ เตมิ จากการประกอบอาชีพ
ได้จากแหลง่ ขอ้ มูลหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง เชน่ ด้านเทคโนโลยกี ารเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 9 (2) กำหนดว่า
“ผู้จัดการเรียนรู้สำหรับการศึกษานอกระบบ และผู้จดั การเรยี นรู้สำหรับการศึกษาตามอัธยาศยั มี การดำเนนิ การ
ที่หลากหลายตามศักยภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน โดยบูรณาการความรู้ ปลูกฝัง คุณธรรมและ
ค่านิยมที่ดีงาม” และจุดเน้นสำนักงาน กศน.การดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564 ข้อ 1. น้อมนำพระบรม
ราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ (ข้อ 1.1 ) สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและ
เรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม
แดด รวมถึงพืชพันธต์ ่าง ๆ และสง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และภารกจิ ต่อเนือ่ ง ดา้ นการ
จัดการศกึ ษาและการศึกษาเรยี นรู้ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ข้อ ๕. จัดให้มกี จิ กรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร
2
อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา
การบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้ง
ชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์อื่นๆ นอกหลักสูตรมาใช้เพิ่มชั่วโมง
กิจกรรมให้ผเู้ รียนจบตามหลักสตู รได้
ดงั ที่กล่าวข้างตน้ กศน.ตำบลไม้ดดั ไดเ้ ลง็ เห็นถึงความสำคญั ของการเรียนรู้ในรูปแบบท่หี ลากหลายจึงได้
มีการพัฒนาหลักสตู รระยะสั้นรว่ มกับวทิ ยากรและชุมชน เพอ่ื พฒั นาการเรยี นร้ตู ามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ได้แก่ การเรยี นรตู้ ามศาสตรพ์ ระราชา สาธติ และเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” การเล้ยี งไสเ้ ดือนเพ่ือ
การเกษตรการทำบัญชีครัวเรือน การทำปุ๋ยหมักธรรมชาติ การเพาะเห็ดฟาง การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นต้น ทำให้ผู้รับบริการของ กศน.ได้นำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีความ
ตระหนกั ถงึ การใช้จา่ ยอย่างพอประมาณ มเี หตผุ ลในการใช้จา่ ย มภี มู คิ ้มุ กนั เป็นบุคคลท่มี คี ุณธรรม จริยธรรม มี
ความสามัคคีในครอบครัว ชมุ ชน สามารถสร้างเปน็ อาชพี ได้ มรี ายได้ ลดรายจ่าย มคี วามเปน็ อยดู่ ีขึ้น และอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
2. วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายในการดำเนนิ งาน
กศน.ตำบลไม้ดัด มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะทักษะด้านการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต ครูผู้สอนจึงออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนให้สามารถคิดวิเคราะห์ มีทักษะการทำงาน รู้จัก
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ทั้งนี้ ได้ดำเนินการแนว
ทางการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนที่แสดงไว้ในแผนผัง (Flow Chart)ของการจัดการเรียนรู้ และมีวัตถุประสงค์
และเป้าหมายในการดำเนินงาน ดังน้ี
2.1 วัตถุประสงค์
2.1.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงจากฐานการเรียนรู้จากภูมิปัญญาภายใต้
ศักยภาพของชุมชนโดยการนำทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ให้เกิด
ประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ รู้จักการวางแผนชวี ติ การวางแผนการเงิน แผนสุขภาพ และอาชพี
2.1.2 เพื่อให้นักเรียน และประชาชนผู้ที่สนใจทั่วไป มีทักษะด้านการประกอบอาชีพ พึ่งพา
ตนเองไดพ้ ัฒนาต่อยอดอาชพี เดมิ ของนักเรียน และประชาชนผ้ทู ่สี นใจทว่ั ไป ให้มงี านทำและมีรายได้
2.1.3 เพื่อให้เป็นศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแหล่ง
เผยแพร่ความร้ทู ่ีหลากหลาย และแลกเปลยี่ นเรียนรปู้ ระสบการณส์ ร้างอาชีพใหแ้ กค่ นในชุมชน
3
2.2 เปา้ หมาย
2.2.1 ตัวชี้วัดเชิงปรมิ าณ ได้แก่ จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปสนใจเข้าศึกษา
แหล่งเรียนรู้ และมีจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร
ทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา โมเดล”
2.2.2 ตวั ช้วี ดั เชิงคณุ ภาพ
1) พัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมให้มีงานทำและมีรายได้ มีทักษะทางด้านอาชีพ และ
สามารถพงึ่ พาตนเองได้
2) มีศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ “โคก หนอง นา
โมเดล” สามารถถา่ ยทอดองค์ความรูใ้ ห้กบั ผู้ท่สี นใจสามารถปฏบิ ัติตามได้
3. กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดำเนินงาน
3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม
ข้าพเจ้าจึงได้นำปัญหาจากการจัดการเรียนการสอน และจัดโครงการต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการ
พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ฯ ซึ่งจะเป็นแหล่งเรียนรู้ใหก้ ับทั้งนักเรยี น และประชาชนทั่วไป โดยมีการสร้างและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลไม้ดัด อำเภอ
บางระจัน จังหวัดสิงห์บุรีศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลไม้ดัด และยังได้สร้างเครือข่ายกับปราชญ์ชาวบ้านใน
เรื่องต่าง ๆ ให้มาเผยแพร่ความรู้ในศูนย์เรียนรู้ของ กศน. ตำบลไม้ดัด วิธีการดำเนินของศูนย์เรียนรู้ คือให้
นักเรียน และประชาชนที่มีความสนใจ เข้ามาเรียนรู้ที่ศูนย์การเรียนรู้ฯ จนเกิดความชำนาญในเรื่องนั้น ๆ จน
สามารถทำเองได้ที่บ้าน และหลังจากนั้นฝึกให้พวกเขาสามารถถ่ายทอดความรู้ที่เขาเรียนรู้มา พร้อมท้ัง
แลกเปลย่ี นความรู้กบั ผ้ทู ่สี นใจท่วั ไป
3.2 การดำเนนิ งานตามกิจกรรม
แนวทางการพฒั นาศูนย์การเรียนรูป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก
หนอง นา โมเดล” เพ่ือเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ดังนี้
1. ต้องทำศนู ย์เรยี นรูฯ้ ใหเ้ ปน็ วถิ ีชีวิตแบง่ เป็น 2 ขั้น
รอด
1) ทำกิน
2) ทำใช้
3) ทำขาย
4) เร่อื งการลดตน้ ทนุ
รวย
1) คดิ อยา่ งเปน็ ระบบ
2) สรา้ งมลู คา่ ให้กบั สนิ คา้ ตนเอง
3) การตลาด การผลิต การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การขนส่ง
4
2. ยึดหลกั การทำงานตามศาสตร์พระราชา(KING)
1) เผยแพร่และสรา้ งองคค์ วามรู้ (Knowledge)
2) บูรณาการและสร้างความรว่ มมือกับเครอื ขา่ ย (Integration & Collaboration)
3) คดิ สร้างสรรคห์ ลกั สูตรใหม่และพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง (Novelty)
4) ให้ชุมชนมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ขี ้ึน (Good Life)
3. ศึกษาปัญหาและความต้องการของพนื้ ทที่ ่ีรบั ผดิ ชอบ
4. ศกึ ษาข้อมลู จากแหลง่ ต่าง ๆ
1) อินเทอร์เน็ต
2) แหล่งเรียนร/ู้ ศนู ย์เรียนรูต้ ่าง ๆ ที่ไดร้ ับการยอมรับ
3) ปราชญช์ าวบ้าน/ผ้รู ู้
4) แผนพัฒนา/เครือข่าย
5. ประชมุ กบั ผ้มู ีสว่ นเกย่ี วข้อง ในเรอ่ื ง
1) การบรหิ ารจัดการแหล่งเรียนรู้
2) การบรู ณาการและพัฒนาหลักสตู ร
3) จดั หลักสตู รระยะส้ัน
6. จัดทำแผนและโครงการ
7. สรา้ งเครอื ข่ายกับปราชญ์ชาวบา้ นและผรู้ ใู้ นด้านตา่ ง ๆ
8. จดั หาวิทยากร
1) ครู กศน.
2) นกั ศึกษา กศน. ท่เี รยี นจบหลักสตู รแล้วฝกึ ฝนจนเกดิ ความเช่ียวชาญ
3) ผรู้ ู้หรือปราชญ์ชาวบา้ นท่ปี ระสบความสำเร็จในเรอ่ื งน้นั ๆ
4) เกษตร พฒั นาท่ดี ิน หรือผ้เู ช่ยี วชาญทเ่ี กย่ี วข้องในเร่ืองน้ัน ๆ
9. ดำเนินการกจิ กรรม เนน้ การลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ และจัดการเรยี นการสอนโดยใชห้ ลักสูตรท้องถน่ิ
10. ประเมินผลการจดั กจิ กรรม และแลกเปลยี่ นกนั เพ่ือนำมาปรับปรุง
11. มีการนิเทศติดตามผลการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้ที่มาเรียนรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
จริงในชีวิตประจำวัน มีรายได้เสริม ดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้อยา่ งเหมาะสมตามศักยภาพ
ของตนเอง
ยึดหลกั การทำงานตามศาสตรพ์ ระราชา(KING)
“เผยแพร่และสร้างองคค์ วามรู้ โดยบรู ณาการและสร้างความร่วมมือกับเครือข่าย คดิ สร้างสรรคห์ ลักสูตร
ใหมแ่ ละพฒั นาอย่างต่อเน่ือง เพ่อื ใหช้ มุ ชนมีคุณภาพชวี ิตที่ดขี น้ึ ”
K = Knowledge (ใหค้ วามร้)ู
I = Integration & Collaboration (บรู ณาการและความรว่ มมือ)
N = Novelty (สรา้ งสรรค์พัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง)
5
G = Good Life (คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี )ี
ลำดบั ขัน้ ตอนการดำเนนิ กิจกรรมยึดหลกั การทำงานตามศาสตรพ์ ระราชา(KING)
1.ศกึ ษาปญั หาและความต้องการของพื้นทีต่ ำบลไมด้ ัด
นกั ศึกษา กศน. ผู้บรหิ ารและครู กศน. ปราชญช์ าวบา้ น/ชมุ ชน/เครอื ขา่ ย
Knowledge 2. ศึกษาข้อมูลจากแหลง่ ตา่ ง ๆ
อนิ เทอรเ์ นต็ แหลง่ เรยี นรู/้ ศูนย์เรียนรู้ฯ ผ้รู ู้/ปราชญช์ าวบ้าน แผนพัฒนา/เครือขา่ ย
3. ประชมุ กับคณะทำงาน
การบรหิ ารจดั การแหลง่ เรียนรู้ การบรู ณาการและพัฒนาหลักสตู ร การจดั หลกั สตู รระยะส้ัน การจัดหลักสตู รทอ้ งถ่ิน
การบริหารจัดการแหลง่ เรียนรู้ จำนวน 19 หลกั สตู ร ทกั ษะการดำเนนิ ชวี ิตตาม
- หลกั การบริหาร กขคงจ ได้แก่ การจดั การ (สงิ่ ) - การเลยี้ งไสเ้ ดอื นเพือ่ การเกษตร,การทำปยุ๋ หมักจาก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของ คน เงนิ และใจ ผกั ตบชวา, การผลติ วสั ดปุ ลูกไร้ดนิ
- 23 หลกั การทรงงาน พระบาทสมเด็จพระ - เกษตรทฤษฎีใหม่ , การแปรรูปนำ้ มะนาวออร์แกนกิ และเกษตรทฤษฎีใหม่
เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 - การทำสบู,่ แชมพู นำ้ ยาลา้ งจาน จากสมนุ ไพรและ
- หลักทศพิศราชธรรม 10 อื่น ๆ
- ฯลฯ 4. จดั ทำแผนและโครงการ
Integration & 5. สรา้ งเครอื ข่ายกบั ชาวบา้ นและผูร้ ู้ - ครู กศน.
Collaboration 6. จดั หาวิทยากร - นักศกึ ษาที่เรียนจบหลกั สูตรแลว้
- ผรู้ ู/้ ปราชญช์ าวบา้ น
7. ดำเนินการตามโครงการ/จดั การเรียนการสอน - ผ้เู ชยี่ วชาญจากองคก์ รต่าง ๆ
7.1 ขัน้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ 7.5 ข้ันลงมอื ปฏิบตั ิจริง
7.2 ขน้ั แบง่ ฐานการเรยี นรู้ 7.6 ขั้นประเมินผลงานและสรปุ ผล
7.3 ขน้ั การเรยี นร้จู ากสื่อ 7.7 ขนั้ ตอบปญั หา
7.4 ขั้นสาธติ 7.8 ขน้ั ตดิ ตามผล
Novelty 8. ประเมนิ ผลการจดั โครงการ และสรปุ แลกเปลยี่ นกัน
นำมาปรับปรุงในการจัดคร้งั ต่อไป
Good Life “ชมุ ชนน่าอยู่ มีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขึน้ ”
ลำดบั ข้ันตอนการดำเนนิ กจิ กรรมพัฒนา F
INPUT PROCESS
1. ใช้หลกั การบริหาร กขคงจ ดำเนนิ งานตาม
23 หลกั การทรงงาน (ข้อ 1-16)
ก: การบรหิ าร ค: คน ผบู้ รหิ าร
ผู้บริหารจังหวัด 2 คน 1. ศึกษาข0อ้ มูลอย่างเปน็ ระบบ
2. ระเบดิ จากขา้ งใน
-นโยบายของสำนกั งาน กศน. -เรยี นรแู้ ละสรา้ งนวัตกรรม ผอ. กศน.อำเภอ 6 คน 3. แกป้ ญั หาจากจดุ เล็ก ๆ
4. ทำตามลำดับขน้ั
-ยทุ ธศาสตร์จงั หวดั -ให้โอกาสทางการศึกษา ครู กศน. ตำบลไมด้ ัด1 5. ภูมสิ งั คม
6. องคร์ วม
-ตรงจเยีย่ มลงพื้นที่ -เรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ 7. ไม่ตดิ ตำรา
-ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 8. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประ
-ข้อมูลสารสนเทศ -สรา้ งวิทยากรร่วม คน 9. ทำให้งา่ ย
นกั ศกึ ษา กศน. 50คน 10. การมสี ่วนรว่ ม
ข: (สง่ิ )ของ 11. คิดถึงประโยชนส์ ่วนรวม
12. บรกิ ารท่ีจุดเดยี ว
-วัสดุ -จัดคนให้เหงม:าะเงกบัินงาน ปราชญช์ าวบา้ น 25 คน 13. ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
-อปุ กรณ์ 14. อธรรมปราบอธรรม
-เครือ่ งมือ แหลง่ เงนิ อาสาสมัคร กศน.ไมด้ ดั / 15. ปลกู ป่าใจคน
-สอื่ สารสนเทศ -ภายใน จติ อาสา 40 คน 16. ขาดทุนคือกำไร
-ภายนอก
KING MODEL
-จิตอาสา จ: ใจ (ศาสตร์พระราชา)
-จิตสำนกึ ,
เครือข่าย จัดกระบวนการเรยี นรู้
-มีใจทอ่ี ยากจะทำ อบต./วัด/บริษทั มติ รผล/
มหาวิทยาลยั /หน่วยงาน
2. องค์ความรู้
อน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
(คิดทำรอด ก่อน คิดทำรวย)
-เรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ -จัดทำแผนการเรียนรู้
- ศาสตร์พระราชา เน้น 23 หลักการทรงงาน -จัดหาวทิ ยากร
-จดั ทำสือ่
– โคก หนอง นา โมเดล -เรยี นรูจ้ ากการลงมอื ทำจริง
- ประเมินผล/นิเทศตดิ ตามผ
6
Flow Chart ของวิธีหรอื แนวทางปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ
) OUTPUT OUTCOME
บ ผลจากการดำเนินงานตาม มแี หลง่ เรยี นรูเ้ พมิ่ ขนึ้ /ไดร้ บั การ
23 หลกั การทรงงาน (ขอ้ 17-23) พฒั นา ดงั นี้
ะโยชน์สงู สดุ
17. พงึ่ พาตนเองได้ 1. ศ ู นย ์ เ ร ี ย นร ู ้ ป ร ั ช ญ า ข อ ง
18. พออยู่พอกิน เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตร
19. เศรษฐกจิ พอเพียง ทฤษฎีใหม่ ตำบลไม้ดัด
20. ซอ่ื สัตย์ สุจรติ จริงใจต่อกนั 2. ประเสริฐออแกนิกฟารม์
21. ทำงานอยา่ งมีความสุข 3. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ
22. ความเพยี ร พอเพียงตามแนวทางพระราชดำริ
23. รู้ รัก สามคั คี จงั หวดั สิงห์บุรี (12 ไร่)
4. เกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านนาง
กศน.ขนั้ พนื้ ฐาน - นักเรียน/นักศึกษา ประชาชน พรทพิ ย์ ทองหลอ่
กศน.ต่อเน่อื ง ผูท้ สี่ นใจ เขา้ มาศึกษาเรยี นรู้ 5. อชิรญา เกษตรฟารม์
กศน.ตามอัธยาศยั 6. ศ ู นย ์ เ ร ี ย นร ู ้ ป ร ั ช ญ า ข อ ง
- แหล่งเรียนรู้ ได้รับความ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร
ร่วมมือจากเครือข่าย ภาครัฐ ทฤษฎีใหม่ ตำบลไม้ดัด (วัดม่วงชุม)
ภาคเอกชน 7. ศูนย์เรียนรู้บ้านนายประจวบ
ทบั เปีย
- เกิดแหล่งเรียนรู้ปรัชญาของ 8. ศูนย์เรยี นรดู้ อกไมป้ ระดษิ ฐ์บา้ น
เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตร บางววั
ทฤษฎใี หม่ 9. ศูนย์ส่งเสริมการจัดการศึกษา
ตามพระบรมราโชบายบางระจัน
(มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี)
ง
ผล
7
แนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนร้ปู รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่
“โคก หนอง นา โมเดล”
เพอ่ื เป็นแหลง่ สนับสนุนการเรยี นรู้
การพฒั นาศูนยก์ ารเรียนรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ โดยการพัฒนาศูนย์
การเรยี นรใู้ ห้สอดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ิตของชุมชน เนน้ การคดิ ทำรอด “กอ่ น” การคดิ ทำรวย ดังน้ี
1. เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยจัดสรรพ้ืนที่ ตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ แบง่ พ้นื ทเี่ ป็น 4 สว่ น ได้แก่ ข้าว
นำ้ ไมผ้ ล/ผกั /ไมย้ ืนตน้ และท่อี ยู่อาศยั
2. มกี นิ มใี ช้ พออยู่ โดยผลิตของท่ีตนเองบริโภคเป็นหลกั เช่น ปลกู ขา้ ว ปลกู ผกั เลยี้ งปลา ผลิตของ
ใชภ้ ายในครัวเรือน เป็นต้น
3. เพมิ่ มลู ค่า โดยนำสิ่งทเ่ี รามีมาแปรรูป เรยี นรูก้ ารลดต้นทุน การตลาด การผลิต การขนส่ง
4. นวเกษตร โดยคดิ คน้ นวตั กรรมทป่ี ระหยดั เรยี บง่าย (เทคโนโลยชี าวบา้ น) แตไ่ ดป้ ระโยชน์สงู สุด
มาใช้
3.3 ประสิทธภิ าพการดำเนนิ งาน
8
กศน. ตำบลไม้ดัด ได้ดำเนินโครงการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาสังคมชุมตามแนวทางของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และน้อมนำเอาศาสตร์ของพระราชามาประยุกต์ใช้ในการทำงานจนเกิด
หลักการทำงาน KING เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดแกช่ ุมชน
ยึดหลกั การทำงานตามศาสตรพ์ ระราชา (KING)
“เผยแพรแ่ ละสร้างองคค์ วามรู้ โดยบูรณาการและสรา้ งความร่วมมือกบั เครอื ขา่ ย คิดสร้างสรรค์
หลกั สตู รใหมแ่ ละพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง เพ่ือให้ชมุ ชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดขี ึ้น”
K = Knowledge (ใหค้ วามรู้)
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดใ้ ห้ความสำคัญเก่ยี วกบั การจัดการศึกษาสายอาชพี และกลุ่มสนใจ มาตง้ั แต่
ปี พ.ศ.2185 จนถึงปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองให้มีความรู้
และทักษะในดา้ นอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสงั คม และชุมชน
สำนักงาน กศน. มีเป้าหมายในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ให้คนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษา
อย่างทั่วถึง ครอบคลุมและเป็นธรรม โดยให้ผู้เรียนและผู้รับบริการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อนำไปสู่ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
ดังนน้ั กศน.ตำบลไม้ดดั ได้ตระหนกั ถึงความจำเป็นดังกล่าว จงึ ไดจ้ ัดโครงการการศึกษานอก
ระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่องขึ้น โดยได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาอาชีพ และกอ่ นจะจัดโครงการต่าง ๆ ไดม้ ีการศึกษาหาความรู้ และเผยแพรค่ วามรูต้ ่าง ๆ ดงั นี้
1. ศกึ ษาข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็ ได้มกี ารศกึ ษาหาข้อมลู อาชพี และแหลง่ เรยี นร้ทู ี่ประสบ
ความสำเรจ็ ตามเว็บไซต์ หรอื ข่าวสารในสังคมออนไลน์ต่าง ๆ มา
2. เรียนร้โู ดยตรงกบั บุคคลหรือกลุ่มที่ประสบความสำเร็จหรือมีความเชี่ยวชาญในเรอื่ งทตี่ รงกับ
ปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยการเรยี นรู้ตรงสามารถแบง่ ได้เปน็ 2 แบบ ดังนี้
2.1 เรียนรู้โดยตรงกับแหล่งเรยี นรู้/ศูนยเ์ รยี นรู้
2.2 เรยี นรูโ้ ดยตรงกับผรู้ ู้/ปราชญช์ าวบา้ น
3. ศึกษาจากแผนพัฒนา/เครอื ขา่ ย ได้มีการศึกษาข้อมลู ในอดีตจากแผนพฒั นาของตำบลไม้ดดั
และของเครือข่ายที่มีความเกี่ยวขอ้ งกนั ในตำบลไมด้ ดั
4. ทดลองและปฏิบัติจริงหลังจากนั้นข้าพเจ้าได้นำความรู้ที่ศึกษาข้อมูลมาทดลองและลงมือ
ปฏิบัติจริงด้วยตนเองก่อน จนเกิดความชำนาญ ส่วนเรื่องไหนที่บุคคลหรือกลุ่มที่ประสบความสำเร็จจนเห็น
ประจักษ์แล้วก็จะทดลองและอาจจะนำมาปรับหรือประยุกต์เพิ่มเติม และการเลือกศึกษาเรื่องนั้น ๆ ต้อง
สามารถเข้ากับบริบทในพื้นที่ตำบลไม้ดัดได้จริง จึงนำออกไปเผยแพร่ความรู้ และเลือกเรื่องที่ง่ายแต่ได้
ประโยชน์สงู สุด ตาม 23 หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลท่ี 9
9
5. จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้หลักสูตรที่มีผู้สนใจ โดยสังเกตจากการสอบถามหรือสนใจเข้ามา
เรียนรู้ท่ีศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลไม้ดัด อำเภอบางระจัน
จังหวัดสิงห์บุรีหลายครั้ง ก็จัดจำทำสื่อเป็นแผ่นพับประชาสัมพันธ์โดยสามารถสแกนคิวอาร์โค๊ด (QR Code)
อ่านในสมารท์ โฟนได้ และยังเผยแพร่ในสอ่ื สงั คมออนไลน์ เช่น Facebook
I =Integration & Collaboration (บูรณาการและความร่วมมือ)
กศน. ตำบลไม้ดัดได้มีการประชุมร่วมกับผู้นำ ชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน นักเรียน นักศึกษา
และคณะครู กศน.ตำบลไม้ดัด เพื่อสำรวจปัญหาและความต้องการ และวางแผนการดำเนินงาน ได้มีการ
ประชมุ กบั คณะทำงาน ในเรื่องตา่ ง ๆ เพ่อื บูรณาการและทำความร่วมมือกนั ดังนี้
1. การศกึ ษาปัญหาและความต้องการของชมุ ชน
2. การบรหิ ารจดั การแหลง่ เรยี นรู้
3. การบูรณาการและพฒั นาหลักสตู ร
4. จัดหลักสูตรระยะสัน้ จำนวน 19 หลักสตู ร
5. การจดั หลักสตู รท้องถิ่น
หลังจากประชุมวางแผนงานและได้หลักสูตรต่าง ๆ แล้ว ก็ร่วมกับคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติ
ราชการประจำปีงบประมาณและโครงการ รวมไปถึงออกแบบกิจกรรมต่าง ๆ ไว้รองรับผู้ท่ีมาศึกษาดูงานนอก
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี
เมื่อจัดทำแผนเสร็จก็ดำเนินการสร้างเครือข่ายกับชาวบ้านและผู้รู้ เกษตร พัฒนาที่ดิน และ
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และมีการลงพืน้ ทแ่ี ละประชาสาพันธห์ ลกั สูตรผ่านรูปแบบที่หลากหลาย ไดแ้ ก่ สือ่
สังคมออนไลน์ เครอื ขา่ ย ปากต่อปาก ลงหนงั สือ และออกทวี ี ลงหนังสอื ฯลฯ
ส่วนการจัดหาวทิ ยากรน้ัน ๆ ทางศูนย์เรยี นรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจำตำบลไม้ดัด อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ได้จัดหาวิทยากรในทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจาก
หน่วยงาน/องค์กรอ่ืนแบ่งเป็น 4 กล่มุ ดังนี้
1. ครู กศน.
2. นกั ศึกษาท่ีเรยี นจบหลักสูตรแล้วฝึกฝนจนเกิดความเชย่ี วชาญ
3. ผ้รู หู้ รอื ปราชญ์ชาวบา้ นทป่ี ระสบความสำเรจ็ ในเร่ืองนน้ั ๆ
4. เกษตร พัฒนาทดี่ ิน หรือผ้เู ชีย่ วชาญท่ีเกี่ยวข้องในเร่อื งนนั้ ๆ
10
N=Novelty (สร้างสรรค์พัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง)
การดำเนนิ กจิ กรรมของศนู ยเ์ รียนรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำ
ตำบลไม้ดดั อำเภอบางระจนั จงั หวดั สงิ หบ์ ุรีไดม้ ีการดำเนินกจิ กรรม 2 ส่วน คือ
1. การจดั การเรียนการสอนโดยใช้หลกั สตู รทอ้ งถ่ิน
2. การจดั โครงการเพื่อสรา้ งและพัฒนาอาชีพ
โดยการจัดกจิ กรรมท้งั 2 ส่วน มกี ารวางแผนพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ตามปัญหาและบริบทของ
พน้ื ทตี่ ำบลไม้ดัด และนอกจากนใี้ นการวางแผนจดั โครงการ ทางกศน. ตำบลไมด้ ัด ยังวางแผนการเพ่ือการ
พฒั นาแบบยงั่ ยืนโดยโครงการท่จี ดั หากมีการให้ความรแู้ ล้ว คร้ังต่อไปต้องเป็นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ และประยุกตใ์ ช้
ให้เหมาะกบั พื้นทีต่ ามการเปล่ียนแปลงของโลกในปจั จบุ นั โดยมขี ั้นตอนการจดั กิจกรรม ดังนี้
1. จัดกิจกรรมตามแผนการเรียนรู้
2. บรรยายให้ความรแู้ ละสอดแทรกใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรักชาตศิ าสนาพระมหากษัตริย์
3. บรรยายใหค้ วามรู้เก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่
4. แบ่งกลุ่มตามฐานการเรียนรู้ (กรณกี ล่มุ ใหญ่เกนิ 20 คน)
5. สอนการเรยี นรผู้ า่ นสอ่ื ท่สี ร้างขนึ้ ให้ผเู้ รียนดปู ระกอบระหวา่ งการเรียนรู้
6. บรรยายให้ความรู้ในเร่ืองนน้ั โดยเน้นการสาธติ เปน็ หลกั
7. ลงมอื ปฏิบตั ิ
8. วิทยากรวัดผลประเมนิ การเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
9. ครูผูร้ บั ผิดชอบ นเิ ทศ และประเมินผลการจดั กจิ กรรม
10. ครผู ู้รับผดิ ชอบสรปุ ผลการจดั กจิ กรรมรายวชิ า/กลุ่มและข้อเสนอแนะในการพฒั นาปรับปรุง
การจดั กิจกรรมครัง้ ต่อไป
G =Good Life (คุณภาพชีวติ ที่ด)ี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งเน้นที่ความพอเพียง ซึ่งหมายถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ
ความรู้ และวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนนิ การทุกขั้นตอน
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผู้อ่นื
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่าง
รอบคอบ
11
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การเปลี่ยนแปลงด้าน
ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และ
ไกล
ผเู้ รียนร้อยละ 100 มีคณุ ลักษณะของความพอเพียง 4 ด้าน ดังนี้
1. ความพอเพียงดา้ นจติ ใจ ได้แก่ มีจติ สำนกึ ที่ดี มีความเออื้ อาทร นึกถึงประโยชนส์ ่วนรวมเปน็
หลกั และมจี ติ ใจเขม้ แข็ง พึงพาตนเองได้
2. ความพอเพียงดา้ นสังคม ได้แก่ ช่วยเหลอื เกอ้ื กูล รรู้ กั สามัคคี มจี ิตอาสา
3. ความพอเพียงดา้ นเศรษฐกิจ ได้แก่ ลดรายจ่าย เพมิ่ รายได้ คดิ และวางแผนการประกอบ
อาชีพ การใช้จา่ ยอย่างรอบคอบ ระมัดระวังและมีภูมิคุ้มกัน มแี ผนสำรองในการดำเนินชีวิต
4. ความพอเพียงด้านทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ รจู้ ักใช้ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างประหยัดและ
คมุ้ คา่
นอกจากนใ้ี นการจัดกิจกรรมแต่ละโครงการก็มีการประเมินผล หลังจากการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ซ่งึ
ทกุ โครงการสามารถจดั บรรลุได้ตามเป้าหมายและตัวช้ีวดั ดังน้ี
การประเมินผลโครงการ
1. พจิ ารณาจำนวนผู้เรียน
2. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผ้เู รียนตามจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร
3. สำรวจความพึงพอใจของผเู้ รียน
4. ตดิ ตามผเู้ รียน หลังสำเรจ็ การศกึ ษา
5. ประเมินคุณลกั ษณะความพอเพียง
ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
1. มีผูเ้ รยี นร้อยละ 80 ของกล่มุ เปา้ หมาย
2. รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียนผ่านการประเมินตามเกณฑ์ของหลักสตู ร
3. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนมีความพงึ พอใจในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากขึ้นไป
4. รอ้ ยละ 30 ของผ้เู รียนนำความร้ไู ปประกอบอาชีพ สรา้ งรายได้
5. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีคณุ ลักษณะความพอเพยี ง
12
การดำเนินงานตามแผนงานโครงการ/กิจกรรมดังกล่าว ยังมีการดำเนินการตามรูปแบบของ
PDCA ดงั นี้
P:Plan
ได้ดำเนินการประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะหส์ ภาพปัญหาของชุมชนด้านต่าง ๆ เป้าหมาย เช่น
อาชีพ สิ่งแวดล้อม รายได้ เป็นต้น โดยทาง กศน.ตำบลไม้ดัด ร่วมกับผู้นำชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มนักศึกษา
องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ดัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ ผลการดำเนินงานทำให้ได้ประเด็นในการแก้ไข
ปัญหาของชุมชน คือมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย มีการใช้สารเคมีทางเกษตรมากเกินความจำเป็น และยัง
ขาดความรูด้ ้านเกษตรปลอดสารพิษ และต้องการเรยี นรู้อาชีพเสริมเพิ่มรายได้ที่เหมาะสมกับบริบทของตนเอง
และชุมชน เรียนรู้เกีย่ วกับการทำเกษตรปลอดสารพิษใช้ในการเกษตร และมีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ทางกศน.จึงจัดโครงการทีส่ อดคล้องกับปัญหาและความต้องการ
ของชุมชน
D:Do
กศน. ตำบลไมด้ ัด ได้ดำเนินการตามแผนงานโครงการและตามวัตถุประสงค์ของผู้เรียนทรี่ ว่ มกับชุมชน
ในการมาศึกษาเรียนรู้ การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ประจำตำบลไมด้ ดั อำเภอบางระจนั จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี ก็เน้นใหน้ ักศึกษาและประชาชนทัว่ ไปทสี่ นใจ เขา้ มาเรียนรู้
และได้ฝึกปฏิบัติจริง โดยวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ นอกจากนี้ยังสร้างเครือข่ายเน้นความรู้มือกับกลุ่ม
อาชีพในชมุ ชน แลกเปลย่ี นวทิ ยากร รวมท้ังฝึกฝนให้นักศกึ ษาใหส้ ามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความร้ไู ด้
C:Check
การประเมินผลและการติดตาม มีการประเมินผลว่าเป็นไปตามแผนที่ได้ตั้งไว้หรือไม่ โดยการ
ประเมินผลดังกล่าว ทำโดยครู กศน.ผู้รบั ผิดชอบโครงการแผนการดำเนินงานนั้น ๆ และในการจัดกิจกรรมแต่
ละครั้งก็มีการประเมินผลผู้เรียนว่าสามารถทำการปฏิบัตจิ ริง โดยดูจากผลงานที่ได้ลงมอื ทำ สามารถปฏิบัติได้
ตามขั้นตอน กระบวนการทำตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณในการจัดหาวัสดุที่มีอยุ่ใน
ชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาในชุมชนของตนเองมาทดลอง มีการร่วมมือกันเป็นอย่างดี เกิดความสามัคคี สร้าง
ภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มอาชีพและชุมชน และยังมีการนิเทศติดตามผลการนำไปใช้ประโยชน์หลังจากจัดกิจกรรม
เสรจ็ ส้นิ ด้วย
13
A:Act
มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาแผน และการจัดโครงการ/กิจกรรมในครั้งต่อไป การนำผลการ
ประเมนิ และข้อเสนอแนะในการจัดโครงการ มาปรบั ปรงุ หรอื พัฒนา สง่ิ ทด่ี ีอยู่แล้วกพ็ ัฒนาตอ่ ยอดให้ดีย่ิงข้ึนไป
อกี เช่น โครงการการเล้ียงไส้เดือนเพ่ือการเกษตร กม็ กี ารพัฒนาโครงการต่อเป็นการทำปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด เป็น
ต้น และในส่วนของการติดตามผลของผู้เรียนทีม่ าศึกษา หลังจากมาเรียนรู้ผ่านไป 1 เดือน พบว่า สิ่งที่ผู้เรียน
ได้ศึกษาจากศูนย์การเรียนรู้ฯ ผู้เรียนสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กับบริบทของตนเองได้ เช่น สามารถจัดหาวัสดุ
ทดแทนวัสดุที่ได้มาศึกษาที่ศูนย์เรียนรู้ฯ ส่งผลให้ได้ข้อมูลบริบทของพื้นที่เพิ่มเติมว่าควรใช้วัสดุอะไรท่ี
เหมาะสม และไดน้ ำผลจากการติดตามมาเป็นแนวทางในการต่อยอดจดั โครงการหรอื กิจกรรมในครั้งต่อไปด้วย
จากการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา พบว่า ศูนย์การเรียนรู้ฯ ในระยะสองปีหลังที่ผ่านมานอกจากจัดโครงการ/
กิจกรรมของ กศน.ตำบลไม้ดัดแล้ว ยังมีผู้สนใจขอมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมากกว่า 200 แห่ง และจากการ
สังเกตและสอบถามผู้ที่มาศึกษาดูงานพบว่า อยากให้ศูนย์การเรียนรู้ฯ พัฒนารูปแบบเป็นฟาร์มสเตย์ (Farm
Stay) เปน็ แหล่งเรียนรู้และสามารถพักค้างคืนเพอื่ ศึกษาวถิ ีชีวติ เกษตรทฤษฎีใหม่
3.4 การใชท้ รัพยากร
ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลไม้ดัด อำเภอบางระจัน
จังหวัดสิงห์บุรีจัดโครงการ/กิจกรรมตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรรตามแผนปฏิบัติราชการประจำ และบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้ทุกโครงการ/กิจกรรม นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมจะใช้บุคลากรและเครือข่ายที่มี
ความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ ในการร่วมมือกันจัดโครงการ/กิจกรรมแต่ละครั้ง และในการจัดหาวัสดุก็
คำนงึ ถงึ วสั ดทุ ี่สามารถหาไดง้ ่ายและเหมาะสมกับพน้ื ทีเ่ ปน็ หลัก เพ่อื ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ แกช่ ุมชน
4.ผลลัพธ์ทเ่ี กดิ จากการดำเนินงาน
จากผลการประเมินโครงการ/กจิ กรรมทบ่ี รรลุวตั ถปุ ระสงค์และตัวชวี้ ัดทุกโครงการ/กจิ กรรม พอสรุป
ได้ว่า ผู้เรียนมีความรู้และสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวันได้ ได้แก่ การเพิ่มรายได้
และการประหยัด อดออม ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและจากการท่ีครูผ้สู อนไดจ้ ัดกิจกรรม ทำ
ให้ผ้เู รียนมคี ุณลกั ษณะใฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน สามารถแกป้ ัญหา และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถถ่ายทอดสิ่งท่ี
ตนเองเรียนรู้ให้กบั ผู้อน่ื ได้ จากการประเมินตนเอง (SAR) ของ กศน.อำเภอบางระจัน ปีการศกึ ษา 2561 พบว่า
มนี ักศึกษาของกศน.ตำบลไมด้ ดั เป็นตน้ แบบและวทิ ยากรในการถา่ ยทอดองค์ความรตู้ า่ ง ๆ ได้
ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั
1. ผ้เู รยี นมคี วามร้แู ละสามารถนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้จริงในชีวติ ประจำวันได้
2. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ โดย
มุ่งเน้นทค่ี วามพอเพยี ง
14
3. มีศนู ย์เรียนรฯู้ ใหน้ กั ศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไป เขา้ มาศกึ ษาในเร่ืองปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่
4. ชมุ ชนมคี ุณภาพชวี ติ ที่ดีข้ึน สามารถพงึ่ พาตนเองได้
5.ปจั จยั ความสำเร็จ
5.1ฝ่ายผู้บรหิ าร/คณะครูใหค้ วามสำคญั ในการพฒั นาศนู ยเ์ รยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ
เกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลไม้ดัด อำเภอบางระจัน จังหวดั สิงห์บรุ ี
5.2 ไดร้ ับความร่วมมือจากคณะครู นักศึกษา คณะกรรมการดำเนินงาน วิทยากร และเครอื ข่าย ใน
การดำเนนิ งานจัดโครงการ/กิจกรรมท่ีศนู ยเ์ รยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำ
ตำบลไม้ดัด อำเภอบางระจนั จังหวัดสิงห์บุรี
5.3 หลกั สูตร โครงการ กจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกับบรบิ ทในพน้ื ท่ี และเปน็ เรื่องที่ผ้เู รียนสนใจนำไป
ประยุกต์ใช้ได้
5.4 การบรหิ ารงานศูนย์ ทำตามแนวคดิ 23 หลกั ทรงงาน หลกั ทศพิธราชธรรม และการบริหารงาน
โดยวิธี กขคงจ.
5.5 มีกระบวนการติดตามผลที่ดี ได้แก่ การติดตามหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ/กิจกรรม ได้มีการ
นำไปใช้ประโยชนต์ ่อหรือมกี ารประยุกต์ใช้หรือไม่
5.6 เนน้ การลงมือปฏิบตั ิ มีข้ันตอนการทำชัดเจน
5.7 มีสอื่ ที่ดีประกอบกบั การเรยี นรู้
5.8 มกี ารประชาสมั พนั ธ์ผ่านสื่อ และเครือข่ายต่าง ๆ
6. บทเรียนที่ได้รบั
กศน.ตำบลไม้ดัด ได้มกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และมีการพฒั นาปรับปรงุ มาโดยตลอด ดงั นี้
ขอ้ เสนอแนะจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของครูผู้สอน นกั ศึกษาและผู้ทเ่ี กย่ี วข้องในการจดั กิจกรรมผา่ น
ศูนย์การเรียนรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ มีดังน้ี
นายรังสรรค์ บุญมาแคน ครูกศน.ตำบลไม้ดัด จากความพยายามในการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
และเน้นการเรียนรู้โดยลงมือปฏิบัติ (Learning by Doing) คิดหลักสูตรที่ตรงและสอดคล้องกับบริบทของ
ท้องถ่ิน มกี ารทำงานรว่ มกับเครือข่าย และติดตามผูเ้ รยี นอยา่ งสม่ำเสมอ ทำใหก้ ารดำเนินการประสบผลสำเร็จ
15
สามารถจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ และนักศึกษาได้นำเสนอผลงานจากการเรียนรู้ของตนเองด้วยความ
ภาคภูมิใจ นอกจากนำเสนอผลงานใน กศน.แล้ว นักศึกษาหรือผู้เรียน ยังได้มีโอกาสนำเสนอและถ่ายทอด
ความรูแ้ กผ่ ู้ทีม่ าศึกษาดูงานจำนวนหลายคณะอีกดว้ ย
ครู ครูผู้สอนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความภาคภูมิใจ และชื่นชมผลงานที่เกิดจากความสามารถ
ของนักศึกษา ครูมีความสามารถในการบูรณาการกิจกรรมการเรีนรการสอน และทำงานร่วมกับเครือข่ายได้
เปน็ อย่างดี
นักศึกษา ตัวอย่างได้แก่ นายเฉลียว คนขำ นักศึกษา กศน.ตำบลไม้ดัด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ได้เข้าร่วมกิจกรรมเกือบทุกครั้ง เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ และสามารถถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่น ๆ ได้ เป็น
วทิ ยากรรว่ มกับครผู สู้ อน และสามารถนำความรูไ้ ปประกอบอาชีพได้
ผู้ปกครอง มีความเชือ่ มั่นในการจัดการเรียนการสอนของกศน. และภาคภูมิใจในตัวบุตรหลาน ส่งผล
ให้มาสมัครเรียนเพิ่ม
ภาคีเครอื ข่าย มคี วามภาคภมู ใิ จในการมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรม และสง่ เสรมิ สนับสนนุ ปัจจยั ต่าง
ๆ ในการทำกิจกรรมร่วมกัน
7.การเผยแพร่แนวทางการปฏบิ ตั ิที่ดี
6.1 การเผยแพร่
6.1.1 เป็นวิทยากรให้กบั หน่วยงานตา่ ง ๆ
6.1.2 จดั สร้างสอื่ อิเล็กทรอนิกสใ์ นช่องทางออนไลน์ ได้แก่ Facebook, Youtube และ E-book
6.1.3เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู านใหก้ บั ประชาชนทัว่ ไปและหนว่ ยงานทีส่ นใจ
6.2 การไดร้ ับการยอมรบั
6.2.1 มีคณะมาศึกษาดูงานกว่า 300 คณะ
6.2.2 ไดเ้ ป็นทปี่ รึกษาเกษตรทฤษฎใี หม่ของบริษทั มิตรผล (สิงห์บุรี) จำกดั และถ่ายทอด
องค์ความรผู้ ่านหนังสือ “ปลูกเพ (ร)าะสขุ ”
6.2.3 ไดเ้ ป็นท่ปี รกึ ษาและคณะกรรมการดำเนินงาน ของ ศูนย์สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตาม
พระบรมราโชบายบางระจัน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี
6.2.4 ไดร้ บั รางวลั ครูกศน.ตำบลดีเด่น ระดบั จงั หวัด เม่อื วันท่ี 16 มกราคม 2562
6.2.5 ผ่านการประเมนิ เพ่ือคัดเลอื กบุคลากร กศน.อำเภอ ไปอบรมเกษตรธรรมชาติ
ระดับสงู ณ ประเทศญ่ปี ่นุ (ในระดบั พ้นื ท)ี่ เขา้ รับการประเมนิ ระดบั ประเทศ (รอฟังผล)
16
บรรณานกุ รม
กรมการพฒั นาชมุ ชน. (2551). คมู่ ือแผนพัฒนาชมุ ชนปี 2551. กรมการพฒั นาชุมชนกระทรวงมหาดไทย.
คณะกรรมการศึกษาแห่งชาต,ิ สำนักงาน. (2542). พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542. กรง
เทพฯ: พริกพรวานกราฟฟคิ .
จังหวัดสงิ หบ์ ุรี. (2560). แผนพัฒนาจงั หวัด พ.ศ. 2561-2564จงั หวดั สิงห์บรุ ี (ฉบบั ทบทวน ประจำปีงบประมาณ
2562) .สิงห์บรุ ี:สำนกั งานจงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี.
เฉลิมพล จตพุ ร.(2550). แนวทางการพฒั นาท่ีย่ังยนื ของเกษตรและชุมชน กรณีศกึ ษาแนวพระราชดำริ “ทฤษฎี
ใหม”่ และวสิ าหกิจชมุ ชน อำเภอเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั สระบรุ .ี ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรม์ หาบัณฑิต
สาขาวจิ ยั และพฒั นาการเกษตร โครงการสหวทิ ยาการระดับบณั ฑติ ศกึ ษา.
ปญั ญา จันทโคตร. (2557). การพฒั นาตวั แบบศูนยเ์ รียนรชู้ ุมชนสำหรบั ประเทศไทย. วิทยานพิ นธ์ปริญญา
ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าสารสนเทศศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
ภัทราวดี ศรีบุญสม. (2555). การพฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้การเมอื งให้มีลักษณะเป็นศนู ย์เรียนรูท้ พี่ ึงประสงค.์
ปรญิ ญารฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต วิทยาลยั การปกครองท้องถิ่น มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดสิงห์บุรี. (2560). แผนปฏิบตั กิ าร
ประจำปี 2561. สิงหบ์ ุรี: สำนกั งาน กศน.จังหวดั สงิ หบ์ ุร.ี
องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ดัด (2560). แผนพัฒนาสามปี (2561-2564). สงิ ห์บุรี: ผู้แตง่ .
17
ภาคผนวก
18
ภาพกิจกรรม
ศนู ย์การเรียนรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
“โคก หนอง นา โมเดล”
19
ภาพกจิ กรรม
ศนู ย์การเรยี นร้ปู รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ โคก หนอง นา โมเดล
20
ภาพกจิ กรรม
วันท่ี 16 กรกฎาคม 2565 นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางระจนั ได้มอบหมายให้
นายรังสรรค์ บญุ มาแคน ครู กศน.ตำบลไม้ดดั จัดกจิ กรรม โครงการอา่ นจากตำราสคู่ วามพอเพียง ตำบลไม้ดัด
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
คณะผจู้ ัดทำ
ท่ีปรกึ ษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางระจนั
1.นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์
คณะทำงาน ประธานกรรมการ
กรรมการ
1. นายรงั สรรค์ บญุ มาแคน
2.ครู กศน.ตำบล ทุกคน
3.ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลไมด้ ดั
ผรู้ วบรวม เรียบเรยี ง และจัดพิมพ์
1.นายรังสรรค์ บุญมาแคน