The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งรองผู้อำนวยบริหารสถานศึกษา
วิทยฐานะชำนาญการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งรองผู้อำนวยบริหารสถานศึกษา
วิทยฐานะชำนาญการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

PA

เอกสารขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
(Performance Agreement : PA)

สำหรับข้ำรำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ตำแหนง่ รองผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ วิทยฐำนะชำนำญกำร
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๕

จัดทาข้อตกลงโดย
นายวงศ์วัฒน์ พรอนุวงศ์

ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา วิทยฐานะครชู านาญการ

โรงเรยี นบ้านคอลอมดุ อ
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๓

คำนำ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานสำหรับ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕
ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ ได้นำเสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อเป็น
ข้อตกลงแนวทางในการพัฒนาตนเอง และพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู
และสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย ๒ ส่วน ดังน้ี

ส่วนที่ ๑ ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่
๑. ภาระงาน
๒. งานท่ีจะปฏิบตั ติ ามมาตรฐานตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา

ส่วนที่ ๒ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ครู และ
สถานศกึ ษา

ข้าพเจ้าจะนำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) นี้ ไป พัฒนางาน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู
และสถานศึกษา ต่อไปให้บรรลตุ ามเปา้ หมายทีต่ ั้งไว้

นายวงศว์ ฒั น์ พรอนวุ งศ์
รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา

สารบัญ หนา้

รายการ
ข้อมูลท่วั ไป ๒
ประเภทของสถานศกึ ษา ๒
๑๘
สว่ นที่ ๑ ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหน่ง ๑๙
๑. ภาระงาน
๒. งานที่จะปฏบิ ัตมิ าตรฐานตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา

ส่วนที่ ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานท่เี ปน็ ประเดน็ ท้าทาย
- ความเหน็ ของผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

PA ๑/บส

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่งรองผู้อำนวยบริหารสถานศกึ ษา

วิทยฐานะชำนาญการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ระหวา่ งวนั ท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถงึ วันท่ี ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

ผจู้ ดั ทำข้อตกลง
ชอ่ื นายวงศว์ ฒั น์ นามสกุล พรอนุวงศ์ ตำแหนง่ รองผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชำนาญการ
สถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นคอลอมุดอ สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสงขลา เขต ๓
รบั เงินเดือนในอันดบั คศ. ๒ อตั ราเงนิ เดือน ๓๐,๙๖๐ บาท

ประเภทของสถานศกึ ษา
 สถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

 ระดบั ปฐมวัย
 ระดับประถมศึกษา
 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 การจดั การศึกษาพิเศษ (ไม่มีระดับชัน้ )
 สถานศึกษาที่จัดการศกึ ษาอาชีวศึกษา
 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ
 ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสงู
 การฝกึ อบรมวชิ าชีพตามหลักสตู รวชิ าชพี ระยะสนั้
 สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
 การจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
 การจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี
 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งผู้รองผู้บริหารสถานศึกษา
วทิ ยฐานะชำนาญการ ซง่ึ เปน็ ตำแหนง่ และวทิ ยฐานะท่ดี ำรงอยูใ่ นปจั จบุ ันกบั ผู้บงั คบั บญั ชา ไวด้ ังตอ่ ไปนี้

2

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานดา้ นการบริหารวชิ าการและความเปน็ ผูน้ ำทางวชิ าการ ด้านการบริหาร

จัดการสถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย
และดา้ นการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ เปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

 เต็มเวลา
 ไมเ่ ตม็ เวลา เนือ่ งจาก........................................................................................................

โดยภาระงานดา้ นการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวชิ าการ จะมกี ารปฏบิ ัติการสอน
ไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ และรองผู้อำนวยการ
สถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษา
อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอย่าง ดงั นี้

 ปฏิบัตกิ ารสอนประจำวชิ า จำนวน............ช่ัวโมง/สัปดาห์
 ปฏิบตั กิ ารสอนรว่ มกันครูประจำชั้น/ประจำวิชา จำนวน............ชว่ั โมง/สปั ดาห์
 สงั เกตการสอนและสะท้อนผลการสอนรว่ มกบั ครูในกิจกรรมเป็นชัน้ เรยี น

จำนวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
 เป็นผู้นำกจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ นชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของโรงเรยี น

จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
 นเิ ทศการสอนเพ่ือเป็นพ่ีเล้ยี งการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้กับครู

จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
 จดั กิจกรรมเสรมิ การเรียนร้แู ละอบรมบ่มนสิ ัยผเู้ รยี น จำนวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

2. งานทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตำแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา (ให้ระบรุ ายละเอยี ดของงาน
ท่ีจะปฏิบตั ใิ นแตล่ ะดา้ นวา่ จะดำเนนิ การอยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาที่ใชใ้ นการดำเนนิ การดว้ ยกไ็ ด)้

3

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกิดข้ึนกบั ผู้เรียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ให้เกิดขน้ึ ครู

การประเมิน กบั ผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา ที่

(โปรดระบ)ุ สถานศกึ ษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถงึ การ

เปลี่ยนแปลงไปในทางที่

ดีข้ึนหรือ

มกี ารพฒั นามากข้ึน

หรือผลสมั ฤทธิ์สงู ขน้ึ

(โปรดระบุ)

1. ด้านการบริหารวิชาการและ ๑.๑ การวางแผนพฒั นา - โรงเรยี น - ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๑๐๐

ความเป็นผนู้ ำทางวิชาการ มาตรฐานการเรียนรขู้ อง บา้ นคอลอมดุ อ มี ได้รบั การพัฒนาให้เป็น

ผเู้ รียน แผนพฒั นาคุณภาพ คนดี คนเกง่ ตาม

ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาทสี่ ามารถพฒั นา จดุ ม่งุ หมายของ

ครอบคลุมถงึ การวางแผนพัฒนา การศึกษาของโรงเรยี นบ้าน ผ้เู รียนให้เปน็ คนดี คนเก่ง หลกั สูตร

มาตรฐานการเรียนรู้ ของ คอลอมดุ อ ใหส้ อดคล้องกบั ตามจดุ มงุ่ หมายของ - ผเู้ รยี นร้อยละ ๘๐

ผูเ้ รียน การจดั ทำและพัฒนา ยุทธศาสตรช์ าติ นโยบายของ หลกั สตู ร สามารถนำ ผา่ นการประเมินตาม

หลักสตู รสถานศึกษา การพฒั นา กระทรวงศกึ ษาธิการ ความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ น หลักสตู รสถานศึกษา

กระบวนการจัดการเรียนรทู้ ีเ่ น้น สำนักงานคณะกรรมการ ชีวติ ประจำวนั ได้ - ครูรอ้ ยละ ๑๐๐

ผเู้ รียนเป็นสำคญั และการ การศึกษาขั้นพ้นื ฐานและ - ครมู คี วามสามารถในการ จัดการเรียนรทู้ ี่เนน้

ปฏิบัติการสอน การส่งเสรมิ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

สนับสนนุ การพฒั นาหรือการนำ ประถมศกึ ษาสงขลา เขต ๓ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำ - โรงเรียนบ้านคอลอ

สอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยี รวมทงั้ นโยบายและจดุ เน้น สอ่ื นวัตกรรมและ มุดอ มีผลการประเมนิ

ทางการศกึ ษา มาใชใ้ นการจดั การ ของจังหวดั สงขลา โดย เทคโนโลยมี าใช้ในการ ประสทิ ธิภาพและ

เรียนรู้ การนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม คำนงึ ถึงบรบิ ทของ จดั การเรยี นรู้ ประสทิ ธผิ ลจาก

ประเมินผลการจัดการเรยี นรู้ของ สถานศกึ ษา และความ - สถานศึกษามีการบริหาร สำนกั งานเขตพืน้ ท่ี

ครใู นสถานศึกษาและมีการ ต้องการจำเป็นของผู้เรียนและ จดั การงานทัง้ ๔ การศกึ ษาสงขลา

ประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ผ้ทู เี่ กย่ี วขอ้ งโดยใช้หลักการมี งานได้อย่างมี เขต ๓ สูงกวา่ ร้อยละ

สถานศกึ ษา การศกึ ษา วเิ คราะห์ สว่ นร่วม ประสิทธิภาพ ๘๐

หรอื วจิ ัย เพอ่ื แกป้ ญั หาและ - ผเู้ รยี นผ่านการประเมิน

พัฒนา การจัดการเรยี นรู้เพ่ือ

ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของ

สถานศกึ ษา

4

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขน้ึ กับผู้เรียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังใหเ้ กิดขึ้น ครู

การประเมิน กบั ผเู้ รียน ครู และ และสถานศึกษา ท่ี

(โปรดระบุ) สถานศกึ ษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถึงการ

เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ี

ดีขน้ึ หรอื

มกี ารพัฒนามากขนึ้

หรอื ผลสัมฤทธสิ์ งู ขนึ้

(โปรดระบ)ุ

๑.๒ การจดั ทำและพฒั นา - หลักสตู รสถานศึกษาของ - โรงเรียนโรงเรียนบ้าน

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นคอลอมดุ อ มี คอลอมุดอ มหี ลักสตู ร

- ปรับปรงุ พัฒนาหลกั สตู ร ความทนั สมยั สอดคล้อง ทท่ี ันสมยั สอดคลอ้ ง

สถานศกึ ษาของโรงเรยี นให้มี กับความต้องการของ กับความต้องการของ

ความทนั สมัยสอดคลอ้ ง ผู้เรยี นและทอ้ งถิน่ และมี ผู้เรียนและทอ้ งถนิ่

กบั ความต้องการของผเู้ รียน องค์ประกอบถูกต้อง และมีองค์ประกอบ

และท้องถนิ่ โดยมผี ู้บริหาร ครบถ้วน ถูกต้องครบถว้ นมาก

ครู ผปู้ กครอง และชมุ ชน - ผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องมคี วาม ขึ้น

- จดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา พึงพอใจต่อ - รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้มี

(รายวิชาเพิ่มเติม หลกั สูตร หลกั สตู รสถานศกึ ษา ส่วนเกีย่ วข้องมีความ

ท้องถ่ิน) มีองค์ประกอบ ของโรงเรียน พึงพอใจต่อ

ถูกต้องครบถ้วน คือ มี หลักสูตรสถานศกึ ษา

วิสัยทศั นจ์ ุดมุ่งหมาย ของโรงเรยี นบา้ นคอลอ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มุดอ

โครงสร้าง เวลาเรียน - ร้อยละ ๑๐๐

คำอธบิ ายรายวิชาแนว ของผู้เรยี น

ดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ การ ไดพ้ ฒั นาตามความ

วดั ผลประเมินผล ต้องการของตนเอง

การเรยี นรู้ - รอ้ ยละ ๑๐๐

- จัดทำรายงานประเมินผล ของผู้เรียน

การใชห้ ลักสตู รจากผมู้ สี ว่ น ได้พฒั นาความรู้ตาม

เกย่ี วข้อง เพ่ือนำผลมา หลักสูตร

ปรบั ปรุงพัฒนาหลกั สูตรต่อไป

5

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนินการพัฒนา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน
การประเมิน
(โปรดระบ)ุ ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึน้ ครู

๑.๓ การพฒั นากระบวน กบั ผเู้ รยี น ครู และ และสถานศึกษา ที่
การจดั การเรียนรทู้ ่เี น้น
ผู้เรยี นเปน็ สำคญั และ สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
ปฏิบตั ิการสอน
- พัฒนากระบวนการจดั การ เปล่ียนแปลงไปในทางที่
เรยี นร้ทู ่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
โดยเฉพาะการจัดการเรยี นรู้ ดขี นึ้ หรอื
เชงิ รกุ (Active Learning)
- ครูเตรยี มการจดั การเรยี นรู้ มีการพฒั นามากขน้ึ
วเิ คราะห์ผเู้ รียน ออกแบบ
กจิ กรรมการเรียนรู้ เลอื กส่ือ หรือผลสัมฤทธ์ิสงู ขึ้น
และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ
วัดผลประเมนิ ผล สอดคล้อง (โปรดระบ)ุ
กบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
- จัดการเรยี นรูต้ ามที่ - ครูจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ - ร้อยละ ๑๐๐ ของครู
ออกแบบไวแ้ ละนำผลไป
พัฒนาอย่างเป็นระบบโดยใช้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญโดยใช้ มีวจิ ยั ชัน้ เรยี น
การวจิ ยั ชน้ั เรยี น
การจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก - ร้อยละ ๑๐๐ ของ

(Active Learning) ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนา

- ครเู ตรียมการจดั การ เตม็ ตามความศักยภาพ

เรยี นรู้ วเิ คราะห์ผ้เู รียน ของตนเอง

ออกแบบกจิ กรรมการ - รอ้ ยละ ๘๐ ของ

เรียนรู้ เลอื กส่อื และแหลง่ ผเู้ รียนผ่านเกณฑ์การ

เรยี นรู้ เครื่องมือ ประเมนิ ตามท่ี

วัดผลประเมินผล สถานศึกษากำหนด

สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของครู

การเรยี นรู้ จดั การเรียนรู้ทเ่ี น้น

- ครูผู้สอนนำผลการ ผู้เรียนเปน็ สำคญั โดย

เรียนรไู้ ปพัฒนาอยา่ งเปน็ ใชก้ ารจัดการเรียนร้เู ชงิ

ระบบโดยการวิจัยช้นั เรียน รกุ (Active Learning)

- ผเู้ รียนได้รับการพัฒนา - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ

เตม็ ตามความสามารถของ ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นา

ตนเอง เตม็ ตามความสามารถ

- ผู้เรยี นผา่ นเกณฑก์ าร ของตนเอง

ประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษา - ร้อยละ ๑๐๐ ของ

กำหนด ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์การ

- ครจู ดั การเรยี นรู้ท่ีเน้น ประเมินตามท่ี

ผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้ สถานศกึ ษากำหนด

การจัดการเรียนรู้เชงิ รุก

(Active Learning)

- ผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นา

เต็มตามความสามารถของ

ตนเอง

6

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชวี้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกิดข้ึนกับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ขน้ึ ครู
การประเมนิ กับผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา ท่ี
(โปรดระบ)ุ สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
เปล่ียนแปลงไปในทางท่ี
๑.๔ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ - สถานศกึ ษามสี ่ือ ดีขนึ้ หรอื
การพฒั นาหรือการนำสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี มีการพฒั นามากขน้ึ
นวัตกรรมและเทคโนโลยี ท่ีทนั สมัย หรอื ผลสัมฤทธิ์สูงข้ึน
ทางการศึกษา มาใชใ้ นการ เหมาะสมต่อการจดั (โปรดระบุ)
จดั การเรยี นรู้ การเรยี นรู้
- ริเร่ิม พัฒนา สง่ เสริม - ครูและนักเรียนใชส้ ่อื - ส่อื นวตั กรรม และ
สนับสนุนการนำสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยี เทคโนโลยี มีความ
นวตั กรรม และเทคโนโลยี ประกอบ ทนั สมัยเหมาะสมต่อ
ทางการศกึ ษามาใช้ในการ การจดั การเรียนรู้ได้ การจดั การเรียนรู้
จดั การเรยี นรู้ตรงตามท่ี บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ อยู่ในระดบั ดีเลิศ
หลักสตู รกำหนด เช่น อบรม - ร้อยละ ๑๐๐ ของครู
การทำส่ือโดยใช้โปรแกรม ใช้สอ่ื
Canva , Googleforms , นวัตกรรม และ
Liveworksheets เปน็ ต้น เทคโนโลยี
- ครแู ละนกั เรยี น ประกอบการจดั การ
สามารถใช้สือ่ นวตั กรรม และ เรียนรูไ้ ด้
เทคโนโลยที างการศึกษา บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์
บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ - ร้อยละ ๘๐ ของ
- ตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้ นกั เรยี นใช้สื่อ
สอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี นวัตกรรม และ
ทางการศกึ ษา เทคโนโลยี
- รายงานผลและนำไป ประกอบการจัดการ
ปรับปรงุ พัฒนาให้มี เรยี นรู้ไดบ้ รรลตุ าม
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขน้ึ วัตถุประสงค์

7

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกิดข้นึ กับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ให้เกิดขน้ึ ครู
การประเมนิ กบั ผเู้ รยี น ครู และ และสถานศึกษา ที่
(โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่
๑.๕ การนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม - โรงเรียนบ้านคอลอมุดอ ดขี ้ึนหรอื
ประเมินผลการจดั การเรยี นรู้ มีแผนการนเิ ทศทเ่ี ป็น มีการพฒั นามากขึ้น
ของครูในสถานศกึ ษาและมี รปู ธรรมนำสูก่ ารปฏบิ ตั ิ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิสูงข้นึ
การประกนั คุณภาพ จรงิ (โปรดระบุ)
การศึกษาภายในสถานศึกษา - โรงเรยี นโรงเรยี นบา้ น
ดำเนินการนิเทศกำกบั คอลอมดุ อ มีผลการจดั - ร้อยละ ๑๐๐ ของครู
ติดตาม ประเมนิ ผลการ การศกึ ษาที่ไดม้ าตรฐาน ไดร้ บั
จัดการเรยี นรขู้ องครใู น ตามมาตรฐานการศึกษา การนเิ ทศ กำกับ
สถานศึกษา มีการ ท้งั ระดับปฐมวัยและระดับ ตดิ ตาม และ
ประกนั คุณภาพการศึกษา การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ประเมินผลการจดั การ
ภายในสถานศึกษาอย่างเปน็ - ครเู ขา้ ร่วมกระบวนการ เรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ
ระบบและต่อเน่ือง และจัดทำ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทาง และตอ่ เน่ือง
รายงานการประเมนิ ตนเอง วชิ าชพี (PLC) เปน็ ประจำ - ผลการประเมินระบบ
ของสถานศึกษา (SAR) ด้วย ประกันคุณภาพภายใน
การนิเทศ ตามโครงการนเิ ทศ สถานศึกษาอยู่ในระดบั
แบบ ๓๖๐ องศา ซ่งึ ไดจ้ ัดทำ ดีขน้ึ ไปทุกมาตรฐาน
แผนการนเิ ทศ ปฏิทินการ - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของครู
นเิ ทศ มีการมอบหมายการ เข้าร่วมกระบวนการ
นเิ ทศโดยจดั ทำคำสง่ั อย่าง แลกเปลยี่ นเรียนรู้ทาง
ชัดเจน วชิ าชพี (PLC) เป็น
- สง่ เสรมิ กระบวนการ ประจำ
แลกเปล่ยี นเรยี นร้ทู างวชิ าชพี - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ
(PLC) โดยทำหน้าทีเ่ ปน็ ผนู้ ำ ผเู้ รยี นได้รบั การแก้ไข
ในการประชมุ ปัญหาหรือพฒั นาจาก
การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ทางวิชาชีพ (PLC)

8

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึน้ ครู

การประเมนิ กบั ผเู้ รียน ครู และ และสถานศึกษา ท่ี

(โปรดระบ)ุ สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถงึ การ

เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ี

ดีขึ้นหรือ

มีการพฒั นามากขึน้

หรือผลสมั ฤทธส์ิ งู ข้นึ

(โปรดระบ)ุ

๑.๖ การศกึ ษา วเิ คราะห์ - ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและ - ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

หรอื วจิ ัย เพือ่ แก้ปัญหาและ ครจู ดั ทำวิจัยชน้ั เรียนเพ่ือ และครทู ุกคนจัดทำ

พฒั นา การจดั การเรียนรู้เพอ่ื แก้ปัญหาและพฒั นาการ วจิ ัยช้นั เรยี นเพ่ือ

ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา จดั การเรยี นรู้เพ่ือยกระดับ แก้ปัญหาและ

ของสถานศึกษา คุณภาพการศึกษาของ พัฒนาการจดั การ

ศึกษา วเิ คราะห์ เพื่อ สถานศกึ ษา เรยี นรูเ้ พ่ือยกระดบั

แก้ปัญหาและพฒั นา - ผู้เรยี นได้รับการ คณุ ภาพการศึกษาของ

การจัดการเรียนรู้ เพอื่ แก้ปัญหาและพฒั นาการ สถานศกึ ษา

ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา จัดการเรยี นรู้ดว้ ยการทำ - ร้อยละ ๑๐๐ ของ

ของสถานศึกษาและนำผลไป วิจัยชั้นเรียน ผเู้ รยี นได้รับการ

ใชแ้ ก้ปญั หาและพัฒนา แก้ปญั หาและ

พัฒนาการจดั การ

เรียนรู้ดว้ ยการทำวิจัย

ช้ันเรียน

- ผู้เรียนมีผลการเรยี นรู้

และ

คณุ ลักษณะอันพงึ

ประสงค์เพ่ิมขึน้

9

ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกดิ ขึน้ ครู
2. ดา้ นการบรหิ ารจัดการ การประเมิน กับผูเ้ รยี น ครู และ และสถานศึกษา ท่ี
สถานศึกษา (โปรดระบ)ุ สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
เปล่ียนแปลงไปในทางที่
การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ๒.๑ การบรหิ ารจัดการ - โรงเรยี นบา้ นคอลอมุดอ ดขี ้ึนหรอื
ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ สถานศกึ ษาให้เป็นไปตาม มคี มู่ ือการบริหารจัดการ มกี ารพฒั นามากข้นึ
ข้อบงั คับ นโยบาย และตามหลกั กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั งานท้งั ๔ งาน ไดแ้ ก่ คู่มือ หรือผลสัมฤทธส์ิ งู ขนึ้
บริหารกิจการบ้านเมอื งทีด่ ี การ นโยบาย และตามหลัก การบริหารงานวชิ าการ (โปรดระบ)ุ
บริหารกจิ การผู้เรยี นและการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ค่มู อื การบรหิ ารบคุ คล
สง่ เสริมพฒั นาผู้เรยี น บรหิ ารจดั การสถานศึกษา คู่มอื การบริหาร - โรงเรียนบา้ นคอลอ
การจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ครอบคลุมงาน ท้งั ๔ งาน คือ งบประมาณ และคู่มือการ มุดอ มีผลการประเมิน
ผเู้ รียน งานบริหารวิชากาบรหิ ารงาน บริหารงานท่วั ไป ประสิทธิภาพและ
บุคคล บริหารงางบประมาณ - โรงเรียนบา้ นคอลอมดุ อ) ประสิทธผิ ลการบริหาร
และบริหารงานทว่ั ไป ตาม มคี ำสั่งมอบหมายงาน จดั การสถานศึกษาอยู่
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั ครอบคลุมงานทง้ั ๔ งาน ในระดับยอดเยยี่ ม
นโยบาย และตามหลักบรหิ าร ตามกฎหมาย ระเบียบ - ร้อยละ ๘๐ ของผมู้ ี
กิจการบ้านเมอื งทดี่ ี ขอ้ บงั คบั นโยบาย และ ส่วนเกี่ยวข้องมีความ
ตามหลักบรหิ ารกิจการ พงึ พอใจต่อการบริหาร
บา้ นเมอื งทดี่ ี โดยใชห้ ลัก จดั การสถานศึกษา
ธรรมาภบิ าล คือ หลักนติ ิ ในระดบั มากข้ึนไป
ธรรม หลกั คุณธรรมหลกั - ร้อยละ ๘๐ ของ
ความโปร่งใส หลกั การมี ผเู้ รยี นผ่านการ
สว่ นรว่ ม หลกั สำนึก ประเมินตามมาตรฐาน
รับผดิ ชอบและหลักความ การศกึ ษาทุกตวั ชีว้ ดั
คุ้มคา่

10

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจี่ ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีจะเกิดข้ึนกับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ ครู
การประเมนิ กบั ผู้เรยี น ครู และ และสถานศึกษา ท่ี
(โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถึงการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่
๒.๒ การบรหิ ารกจิ การ - ผู้เรยี นได้รับการพัฒนา ดขี ึน้ หรือ
ผู้เรียนและการสง่ เสรมิ เต็มตามศักยภาพโดยมี มีการพัฒนามากขึน้
พัฒนาผเู้ รียน สภานกั เรยี นเปน็ แกนนำ หรอื ผลสัมฤทธิส์ งู ขน้ึ
ดำเนนิ การส่งเสริมพฒั นา ในการดำเนินการ และมี (โปรดระบุ)
ผู้เรียนโดยจัดตง้ั สภานักเรยี น เครอื ข่ายผ้ปู กครองให้การ
และสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง สนับสนนุ ดแู ลช่วยเหลอื - ร้อยละ ๑๐๐ ของ
รว่ มกนั โดยดำเนินการจัดทำ ไดแ้ ก่ ตั้งสภานกั เรียน ผเู้ รียน
ค่มู อื ดำเนนิ งานสภานักเรียน ได้รบั การพัฒนาตาม
เพ่อื ปลูกฝงั วิถปี ระชาธิปไตย ศักยภาพ
ในโรงเรียน สว่ นเครือขา่ ย - รอ้ ยละ ๘๐ ของ
ผ้ปู กครองจะดำเนินการจัดตง้ั ผ้เู รยี นผา่ นการ
เครอื ข่ายผ้ปู กครองตาม ประเมนิ คุณลักษณะ
ระดับชน้ั เรยี นจดั กจิ กรรม อนั พงึ ประสงค์
พัฒนา และชว่ ยเหลือดูแล
นักเรียน

11

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังใหเ้ กิดข้นึ ครู
การประเมนิ กบั ผเู้ รียน ครู และ และสถานศึกษา ที่
(โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
เปล่ียนแปลงไปในทางที่
๒.๓ การจัดระบบดแู ล - ผ้เู รียนได้รบั การดูแล ดีขึ้นหรือ
มกี ารพัฒนามากขึน้
ชว่ ยเหลอื ผู้เรียน ช่วยเหลือนักเรยี นตาม หรือผลสัมฤทธิ์สูงขน้ึ
(โปรดระบ)ุ
ตำเนินงานระบบดูแล ระบบ ๕ ขน้ั ตอน
- ผเู้ รียนร้อยละ ๑๐๐
ชว่ ยเหลอื นักเรียน ครอบคลุม ได้รับการดูแล
ชว่ ยเหลอื นักเรยี นตาม
ท้ัง ๕ ข้นั ตอนได้แก่ การรูจ้ ัก ระบบ ๕ ขนั้ ตอน
- ผู้เรียนมคี ุณภาพชีวิต
นกั เรียนรายบุคคลดว้ ยการ ดขี ึน้
- สถานศกึ ษาเป็น
เย่ียมบา้ นนักเรยี น ร้อยละ โรงเรยี นต้นแบบระบบ
ดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
๑๐๐ ประเมินโดยใช้ - สถานศึกษาผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ตาม
โปรแกรม SDQ การ ตวั ชวี้ ัด

คดั กรองนกั เรียนออกเปน็ ๓

กลุม่ ได้แก่ กลมุ่ เสีย่ ง

กลมุ่ ปกติ และกลมุ่ ปัญหา

การส่งเสริมพฒั นา ดำเนินการ

แก้ปัญหา หรอื พัฒนาให้ความ

ชว่ ยเหลอื ด้วยการจัดหาทนุ

ทุนปจั จัยพนื้ ฐาน สร้างรายได้

ระหว่างเรียน ผา่ นการทำ

กจิ กรรมชมุ นุม ตามโครงการ

เศรษฐกจิ พอเพียง การ

ชว่ ยเหลอื ดา้ นสขุ ภาพ

นักเรยี นมอี าหารกลางวัน

รบั ประทานอย่างพอเพียง

และได้รับสารอาหารครบท้งั

๕ หมู่ ตามโครงการอาหาร

กลางวัน นกั เรียนปลอดจาก

ยาเสพตดิ สือ่ ลามก อนาจาร

การทะเลาะววิ าท และ

อบายมุข ตามโครงการ

12

ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ท่ีจะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรยี น
3. ด้านการบรหิ ารการ
เปลี่ยนแปลง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังใหเ้ กิดขึน้ ครู
เชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม
การประเมนิ กับผเู้ รยี น ครู และ และสถานศึกษา ที่
การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์
การใชเ้ ครอื่ งมือหรอื นวัตกรรม (โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถึงการ
ทางการบรหิ าร
และการนำไปปฏบิ ตั ิ การบริหาร เปล่ียนแปลงไปในทางท่ี
การเปลย่ี นแปลงและนวตั กรรม
ในสถานศึกษา เพ่ือพฒั นา ดีข้ึนหรอื
สถานศกึ ษา
มกี ารพัฒนามากขนึ้

หรือผลสัมฤทธ์สิ ูงข้นึ

(โปรดระบ)ุ

สถานศึกษาสีขาวปลอดยา

เสพติดและอบายมุข

โครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ

สขุ ภาพ การช่วยเหลือด้าน

สติปัญญา ตามโครงการ

พฒั นาระบบวัดผลประเมนิ ผล

เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ

ทางการเรยี น และการสง่ ต่อ

ภายใน เช่น นกั เรยี นมีปญั หา

ด้านพฤติกรรมส่งให้ครู

ผู้ปกครอง หรือครูส่งต่อ

ภายนอก เช่น โรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

วงั โอะ๊ โรงพยาบาลสะบ้ายอ้ ย

สถานตี ำรวจสะบ้ายอ้ ย

๓.๑ การกำหนดนโยบาย - สถานศึกษามแี ผนพฒั นา - สถานศกึ ษามผี ลการ

กลยทุ ธ์ การใชเ้ ครอื่ งมือ คุณภาพการศึกษาและ ประเมินประสทิ ธผิ ล

หรอื นวตั กรรมทางการ แผนปฏิบัตกิ ารสอดคล้อง และประสทิ ธภิ าพ อยู่

บรหิ าร กับมาตรฐาน ในระดับยอดเย่ยี ม

- จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ และภาระงาน - ร้อยละ ๑๐๐ ของครู

การศกึ ษาและแผนปฏิบตั ิการ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตามมาตรฐานตำแหนง่

และภาระงานตามนโยบาย - ร้อยละ ๘๐ ของ

และกลยุทธท์ ี่กำหนด ผเู้ รยี นได้รับการ

ประเมนิ ตามมาตรฐาน

การศึกษาทุกตวั ช้ีวัด

13

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชวี้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจี่ ะเกิดข้ึนกับผู้เรยี น

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังให้เกดิ ข้นึ ครู

การประเมนิ กับผูเ้ รียน ครู และ และสถานศึกษา ท่ี

(โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ

เปลี่ยนแปลงไปในทางที่

ดีข้ึนหรอื

มีการพัฒนามากข้นึ

หรือผลสมั ฤทธ์สิ งู ขึน้

(โปรดระบุ)

๓.๒ การบริหารการ - โรงเรียนบ้านคอลอมุดอ - สถานศกึ ษาได้รบั การ

เปลี่ยนแปลงและนวตั กรรม มนี วัตกรรมการพัฒนาการ ยอมรบั เพิ่มขน้ึ

ในสถานศึกษาเพื่อพฒั นา จัดการเรยี นรู้ และ - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของครู

สถานศกึ ษา เผยแพร่ให้แก่สถานศึกษา จัดการเรียนรู้ทีเ่ น้น

- ริเริ่ม พฒั นา สร้างหรือนำ ในเครือขา่ ย หรอื ผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้ส่ือ

นวัตกรรม เทคโนโลยดี ิจทิ ัล สำนกั งานเขตพื้นท่ี การเรยี นรู้ท่มี ีความ

มาใช้ในการพัฒนา การศึกษาประถมศึกษา. หลากหลาย

สถานศกึ ษาและผู้เรียน สงขลา เขต ๓ รวมทง้ั - ร้อยละ ๘๐ ของ

- สง่ เสริม สนบั สนุน สร้างการ ผ้สู นใจนำไปประยุกตใ์ ช้ ผูเ้ รยี น มผี ลสัมฤทธ์ิ

มีส่วนรว่ มในการบรหิ ารการ ทางวิชาการและ

เปล่ียนแปลงและนวัตกรรมใน คณุ ลกั ษณะอันพงึ

สถานศึกษาให้เกิดการพัฒนา ประสงค์เพิ่มขึ้น

สถานศึกษาอยา่ งย่ังยนื โดยนำ

สอื่ เทคโนโลยมี าใชใ้ นการ

จดั การเรียนการสอนรูปแบบ

On – line , On – Demand

และใชร้ ะบบ E- Officeในการ

จัดเกบ็ ข้อมลู ต่างๆ รวมท้ัง

เน้นการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม

จากทุกภาคสว่ น

14

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดข้นึ กบั ผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดข้ึน ครู
4. ด้านการบรหิ ารงานชมุ ชน การประเมิน กับผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา ที่
และเครอื ขา่ ย (โปรดระบ)ุ สถานศกึ ษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่
การสร้างและพัฒนาเครือข่าย ๔.๑ การสรา้ งและพฒั นา - สถานศกึ ษามีเครือข่าย ดขี ้นึ หรอื
เพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ การ เครือขา่ ยเพ่อื พัฒนา เพื่อพฒั นาการเรยี นรแู้ ละ มีการพฒั นามากขน้ึ
จัดระบบ การใหบ้ ริการใน การเรยี นรู้ คุณภาพของผู้เรียน หรอื ผลสมั ฤทธส์ิ งู ข้นึ
สถานศึกษา สร้างความร่วมมืออยา่ ง - สถานศกึ ษาและชุมชนมี (โปรดระบ)ุ
สร้างสรรค์กับผูเ้ รยี น ครู ความสัมพันธ์อนั ดีต่อกนั
คณะกรรมการสถานศึกษา - ผู้เรยี นไดร้ บั การดแู ล โรงเรียนบ้านคอลอ
ผปู้ กครองผู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง ชุมชน ชว่ ยเหลือด้านการเรียนรู้ มดุ อ มีการประชุม
และเครือขา่ ย เพอ่ื พัฒนาการ คุณธรรมจรยิ ธรรม และ ผู้ปกครองและประชมุ
เรียนรเู้ สริมสร้างคุณธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ กรรมการสถานศกึ ษา
จรยิ ธรรม ชว่ ยเหลอื และ จากสถานศึกษาและ ขนั้ พื้นฐาน อย่างนอ้ ย
พฒั นาคณุ ลักษณะอันพึง เครือข่าย ๑ ครงั้ / ภาคเรยี น
ประสงค์ของผู้เรียน โดยการ - โรงเรียนบ้านคอลอ
สร้างความสัมพนั ธ์อันดตี ่อกนั มุดอ ไดร้ ับการ
ผ่านทางการประชมุ การเยย่ี ม สนบั สนุนจากชมุ ชน
บ้านนักเรยี น การ เพิม่ ขึ้น
ประชาสมั พนั ธ์ การส่ือสาร - ร้อยละ ๑๐๐ ของ
ทางสอ่ื สังคมออนไลน์ เฟสบกุ๊ ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์การ
รวมทั้งการให้บริการและ ประเมินคุณธรรม
ความร่วมมอื ดา้ นตา่ ง ๆ แก่ จริยธรรมและ
ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ น คุณลักษณะ
ทอ้ งถ่นิ โดยเฉพาะการใชแ้ หลง่ อนั พึงประสงค์
เรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอก
โรงเรยี น

15

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกิดขึน้ กับผู้เรียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังใหเ้ กิดขึ้น ครู
การประเมนิ กับผู้เรียน ครู และ และสถานศึกษา ที่
(โปรดระบุ) สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถึงการ
เปล่ียนแปลงไปในทางท่ี
๔.๒ การจดั ระบบการ - สถานศกึ ษากบั ชมุ ชนมี ดีข้ึนหรือ
มีการพัฒนามากขึน้
ให้บริการในสถานศกึ ษา ความสัมพันธ์อนั ดตี อ่ กัน หรือผลสมั ฤทธ์ิสูงขน้ึ
(โปรดระบุ)
จดั ระบบการให้บริการใน - สถานศึกษาได้รับความ
- ผูเ้ รยี นได้รับการ
สถานศึกษาโดยรเิ ริ่ม พฒั นา รว่ มมือจากชุมชนเพม่ิ ข้ึน พัฒนาศักยภาพเพม่ิ ขนึ้
- สถานศกึ ษามี
ประสานความรว่ มมือกับ ศักยภาพในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ชมุ ชนและเครอื ขา่ ยในการ เพม่ิ ข้นึ
- คณุ ภาพการศกึ ษา
ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา ของสถานศกึ ษาสงู ขนึ้
- สถานศกึ ษาได้รบั การ
ให้บริการด้านวิชาการแก่ ยอมรับจากชุมชน
หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง
ชุมชน และงานจติ อาสา เพม่ิ ขน้ึ

เพอื่ สร้างเครือข่ายในการ

พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

ให้แก่ผู้เรยี น สถานศึกษา และ

ชุมชน และเสริมสร้าง

วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินโดย เป็น

สถานฝกึ ประสบการณ์แก่

นักศกึ ษาฝึกวิชาชีพครู เป็น

สถานท่ีฝกึ อบรมผู้บรหิ าร ครู

ท้งั ในสงั กดั และนอกสังกัดใน

หลักสูตรต่าง ๆ การนำ

นักเรยี นไปศึกษายงั แหล่ง

เรียนรูน้ อกสถานศกึ ษา การ

สบื สานภูมิปัญญาท้องถิน่ เช่น

การฝกึ อาชีพแกน่ ักเรียน

และผปู้ กครองนักเรยี นรวมทง้ั

ผ้สู นใจ เป็นตน้

16

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนนิ การพฒั นา
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขนึ้ กับผู้เรยี น
5. ด้านการพัฒนาตนเองและ การประเมิน
วชิ าชพี (โปรดระบุ) ที่คาดหวังใหเ้ กดิ ขึ้น ครู

การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ๕.๑ การพัฒนาตนเองและ กับผ้เู รียน ครู และ และสถานศึกษา ที่
การนำความรู้ ทักษะ ทีไ่ ด้จาก วิชาชพี
การพฒั นาตนเองและวิชาชีพ มีการพฒั นาตนเองและ สถานศึกษา (โปรดระบุ) แสดงให้เหน็ ถงึ การ
มาใช้ในการพัฒนาการบรหิ าร วชิ าชีพอย่างเปน็ ระบบ
จัดการสถานศึกษา ท่สี ง่ ผลตอ่ และตอ่ เนื่องเพื่อให้มีความรู้ เปล่ียนแปลงไปในทางท่ี
คุณภาพผ้เู รยี น ครู และ ความสามารถ ทักษะ
สถานศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการใช้ ดีขน้ึ หรือ
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เพ่อื การส่ือสาร และการใช้ มกี ารพฒั นามากข้ึน
เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่
การศึกษาสมรรถนะทาง หรอื ผลสัมฤทธสิ์ งู ข้ึน
วชิ าชีพผบู้ ริหารสถานศึกษา
และรอบรใู้ นการบรหิ ารงาน (โปรดระบุ)
มากยิ่งข้ึน ด้วยการศึกษา
ค้นคว้าดว้ ยตนเอง ประชมุ - ผู้บรหิ ารสถานศึกษา - ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ศึกษาดู
งาน โรงเรียนบา้ นคอลอมดุ อ โรงเรยี นบา้ นคอลอ
- มสี ่วนร่วมและเปน็ ผนู้ ำ
ในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทาง ได้รบั การพฒั นาตนเอง มดุ อ ได้รบั การพฒั นา
วิชาชพี ทั้งในและนอกสถาน
ศึกษา ตนเองและวิชาชพี อยา่ ง ตนเองตนเองและ

เป็นระบบและตอ่ เนื่อง วิชาชีพอย่างเปน็ ระบบ

- มคี วามรู้ ความสามารถ และตอ่ เนื่อง อย่างน้อย

ทักษะการใช้ภาษาไทย ๒๐ ชวั่ โมง / ปี

และภาษาอังกฤษ - มีความรู้

เพ่ือการส่อื สาร และการใช้ ความสามารถ ทักษะ

เทคโนโลยีดิจทิ ลั การใชภ้ าษาไทยและ

ภาษาองั กฤษเพื่อการ

สอื่ สาร และการใช้

เทคโนโลยดี ิจทิ ัล

เพิม่ ขน้ึ

17

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชวี้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดข้นึ กับผู้เรยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่ีคาดหวังใหเ้ กดิ ขนึ้ ครู
การประเมิน กบั ผเู้ รียน ครู และ และสถานศึกษา ที่
(โปรดระบ)ุ สถานศกึ ษา (โปรดระบุ) แสดงให้เห็นถงึ การ
เปล่ียนแปลงไปในทางที่
๕.๒ การนำความรู้ ทักษะ - การบรหิ ารจัดการ ดีข้นึ หรือ
ทไี่ ด้จากการพัฒนาตนเอง สถานศกึ ษามี มกี ารพัฒนามากขน้ึ
และวิชาชพี มาใชใ้ นการ ประสิทธิภาพมากขึน้ หรอื ผลสมั ฤทธ์สิ ูงขนึ้
พฒั นาการบรหิ ารจัดการ - ครมู ีคณุ ภาพมากข้ึน (โปรดระบุ)
สถานศึกษา ท่ีสง่ ผลตอ่ - นกั เรียนมคี ณุ ภาพมาก
คณุ ภาพผเู้ รยี น ครู และ ขน้ึ - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ
สถานศกึ ษา ครจู ดั การเรยี นรไู้ ด้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
มากข้นึ
- ร้อยละ ๘๐ ของ
ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพทัง้
ด้านผลสมั ฤทธ์ิทาง
วิชาการ คุณลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์ และ
สมรรถนะท่ีสำคัญ
เพม่ิ ขน้ึ

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา งาน ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท

และสภาพการบริหารสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา
และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาผู้จดั ทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยจะต้อง
สะท้อนให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงสามารถประเมนิ ไดต้ ามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ของงานตามข้อตกลง
คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม
และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน
ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในบริบทของแต่ละสถานศึกษา
และผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้น
การประเมินจากเอกสาร

18

สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ของผู้จัดทำข้อตกลง

ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะชำนาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
ของวิทยฐานะชำนาญการ คือการแก้ปัญหา การบริหารจัดการสถานศึกษา และคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดง
ให้เหน็ ถงึ ระดบั การปฏบิ ตั ทิ ค่ี าดหวงั ในวทิ ยฐานะทสี่ ูงกวา่ ได)้

ประเดน็ ทา้ ทาย เรอ่ื งพฒั นารปู แบบการนิเทศการจดั การเรยี นการสอน ระดับมัธยมศึกษา
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

1. สภาพปัญหาการบริหารจัดการสถานศึกษาและคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
จากการวเิ คราะหผ์ ลการจดั การสถานศกึ ษาและคณุ ภาพของโรงเรยี นบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์
สามคั ค)ี ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรียนได้รบั คำสง่ั ให้
ปดิ สถานศึกษาชวั่ คราว จึงพบว่า การจดั การเรียนรขู้ องครูยงั ขาดการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ สง่ ผลให้
คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ที่สำคัญคือผลการประเมินผลการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนต่ำกวา่ เกณฑท์ ี่สถานศกึ ษา
กำหนด ท้งั น้ีอาจเปน็ เพราะว่า ผูบ้ รหิ ารขาดการนเิ ทศติดตามหรือรูปแบบการนิเทศขาดประสทิ ธภิ าพ ผบู้ รหิ ารจึง
ได้รเิ รม่ิ คดิ คน้ พัฒนารูปแบบการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ประถมศกึ ษา ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยมีความคาดหวังวา่ ครผู ู้สอนใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
เรยี นรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผ้เู รียนไดด้ ีย่ิงขน้ึ
2. วธิ ีการดำเนินการใหบ้ รรลผุ ล
การพฒั นารปู แบบการนิเทศการจดั การเรียนการสอน ระดบั มธั ยมศกึ ษา ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ได้ดำเนนิ การ ดังนี้
๑. ศกึ ษาสภาพปัญหาการบริหารจดั การสถานศึกษาและคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนบา้ น
คอลอมดุ อ โดยใช้การวิเคราะหจ์ ากผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) และจากขอ้ เสนอแนะจากการ
ประเมินคุณภาพภายนอก จากการใช้เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
นอกจากนนั้ ยงั ไดส้ ำรวจความต้องการ หรือความคดิ เหน็ ของผมู้ สี ่วนเก่ยี วข้อง ไดแ้ ก่ นักเรยี น ครู ผู้ปกครอง
๒. สร้างรูปแบบการนเิ ทศการจัดการเรียนการสอน ระดบั มัธยมศึกษา ในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โดยศกึ ษาจากแนวคดิ ทฤษฎี รวมทง้ั งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง
ได้แก่ การพัฒนารปู แบบการนเิ ทศ และการนิเทศการจดั การเรียนการสอน
๓. นำรปู แบบการนเิ ทศการจัดการเรียนการสอน ระดบั มัธยมศกึ ษา ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ท่พี ัฒนาขนึ้ ไปทดลองใช้
๔. ประเมินผลการนำรูปแบบการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ประถมศกึ ษา ใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ไปใช้
๕. สรปุ ผลการพฒั นารปู แบบการนเิ ทศการจัดการเรียนการสอน ระดับประถมศกึ ษา ใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

19

๖. เผยแพรโ่ ดยใชก้ ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ผ่านทางส่อื โซเชียลมีเดีย เชน่ เว็ปไซด์
เฟสบ๊กุ ไลน์

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวงั
3.1 เชิงปรมิ าณ

๑. สถานศึกษามรี ปู แบบการนเิ ทศการจัดการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษา ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

๒. ร้อยละ ๑๐๐ ของครูผ้สู อน ระดบั มัธยมศึกษา ไดร้ ับการนิเทศการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

๓. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เรียนได้รบั การจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙

3.2 เชงิ คุณภาพ
๑. สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอน ระดับมัธยมศึกษา ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้
๒. ครผู ู้สอนระดบั มัธยมศึกษา จดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ได้ดยี ่ิงขน้ึ
๓. ผู้เรียนมผี ลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวัด ใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) เพ่ิมขนึ้

ลงช่ือ........................................................................
(นายวงศ์วฒั น์ พรอนุวงศ์)

ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านคอลอมดุ อ

ผู้จัดทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน

.............../.............../...................
ความเห็นของผบู้ ังคับบญั ชา

( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพอ่ื พิจารณาอกี ครัง้ ดังน้ี

........................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชอื่ ....................................................................
(นางจรวยพร บรรจงรตั น์)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นคอลอมดุ อ
................/.............../...................


Click to View FlipBook Version