The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธุรกิจส่งออกมะพร้าวน้ำหอมสำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Niphan10, 2021-10-24 05:13:14

ธุรกิจส่งออกมะพร้าวน้ำหอมสำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (2)

ธุรกิจส่งออกมะพร้าวน้ำหอมสำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (2)

Sample Invoice ใช้สำหรับส่งสินค้าตัวอย่างไปต่างประเทศ

49

Pro-forma Invoice ใช้ในการเสนอราคา และเงื่อนไขในการจ่ายเงิน ผู้ส่งสินค้ามักจะทำเป็น
Pro-forma Invoice ส่งไปให้ผู้ซื้อ เมื่อผู้ซื้อพอใจก็จะเปิด Credit สั่งซื้อสินค้า โดยอ้างเลขที่
และวันที่ของ Pro-forma Invoice นั้นๆ ดังนั้น Pro-forma Invoice จึงใช้ได้ทั้งเป็นการ
เสนอขายและข้อตกลงแทนสัญญาซื้อขายไปในตัว

50

3. ใบอนุญาต หรือหนังสือรับรอง

51

52

53

54

4. ใบแนบใบขนสินค้าขาออก(กรณีเป็นสินค้าที่จะขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ)

55

ระบบพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ e-Customs

1. การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ e-customs

ตัวแทนหรือเจ้าของสินค้า ระบบออกเลขที่ใบขน บันทึกข้อมูลใบกำกับ
บันทึกข้อมูล สินค้า 14 หลัก การขนย้ายสินค้า

บันทึกข้อมูลใบขนสินค้าเข้าสู่ระบบ ระบบจะแจ้งยอดชำระ พร้อมแจ้งยอดสถานะ นำเลข 14 หลัก มาบันทึกข้อมูล
ศูลกากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Customs) ให้ชำระภาษีอากรสำหรับการส่งออกสินค้า ใ บ กำ กั บ ก า ร ข น ย้ า ย สิ น ค้ า
ดังต่อไปนี้ เข้าสู่ระบบ

1. หนังโคและหนังกระบือ ไม่ว่าดิบหรือ
หรือฟอกแล้ว เฉพาะเศษตัด/ผง ซึ่งสามารถ
นำ ไ ป ใ ช้ ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ทำ ห นั ง แ ล ะ
อุตสาหกรรมผลิตหนัง

2. ไม้รวกและไม้มะพร้าว
3. ไม้วีเนียร์

นำใบกำกับการขนย้าย ระบบออกเลขที่ใบขน
สินค้าไปยื่นท่าเรือ สินค้า 14 หลัก

2. พิธีการศุลกากร และการจัดการ ณ ท่าเรือ **มีต่อหน้าถัดไป
(Next Page)
ยื่นแบบขอนำตู้สินค้า
ผ่านเข้าเขตศุลกากร 56
ยื่นแบบขอนำตู้สินค้า ผ่านเข้าเขตศุลกากร
ท่าเรือหรุงเทพ (ทกท.308.2) อย่างน้อย 1 ชม.
ก่อนรถบรรทุกตู้สินค้าจะมาถึงท่าเรือ

2. พิธีการศุลกากร และการจัดการ ณ ท่าเรือ (ต่อ)

รถบรรทุกตู้สินค้าจะต้องมาถึงท่าเรือกรุงเทพ
อย่างน้อย 3 ชม. ก่อนเรือเทียบท่า

รับมอบตู้สินค้าขาออก

ผ่านเข้า Main Gate ผ่านเข้า Main Gate

พนักงานขับรถชำระค่าภาระยกขนตู้สินค้า เจ้าหน้าที่ด่านตรวจสอบทำการชั่งน้ำหนัก
และค่ายานพาหนะผ่านท่า ตรวจสอบประเภทสินค้า สภาพตู้สินค้า
และใบกำกับการขนย้ายสินค้า และออก
ใบตรวจรับสภาพตู้สินค้า (EIR) พร้อมแจ้ง
ตำ แ ห น่ ง ที่ ก อ ง ห รื อ เ ก็ บ ตู้ สิ น ค้ า แ ก่
พนักงานขับรถ

เจ้าหน้าที่ยกขนตู้สินค้า ผ่านการตรวจสอบ
ลงจากรถและกองเก็บ ของศุลกากร
ควบคุมกำกับตำแหน่ งตู้สินค้า
ลงกองเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ - เจ้าหน้าศุลกากรบันทึกหมายเลขใบกำกับ
การขนย้ายตู้สินค้า พร้อมตรวจสอบข้อมูล
57 ในระบบ
- สุ่มตรวจสอบสินค้าด้วยระบบ X-ray

3. บรรทุกตู้สินค้าลงเรือ

ยื่นเอกสารบัญชีตู้สินค้า
บรรทุกลงเรือ

บริษัทเจ้าของหรือตัวแทนเจ้าของเรือ
ยื่ น เ อ ก ส า ร บั ญ ชี ตู็ สิ น ค้ า บ ร ร ทุ ก ล ง เ รื อ
(Container Loading List) พร้อมข้อมูล
ในรูปแบบ Text File ที่กำหนดอย่างน้อย 3 ชม.
ก่อนทำการบรรทุกตู้สินค้าลงเรือ

เจ้าหน้าที่บรรทุกตู้สินค้าลงเรือ

- ตรวจสอบข้อมูลตู็สินค้าทางระบบ
และวางแผนการบรรทุกตู้สินค้าลงเรือ
- ควบคุมปฏิบัติงานบรรทุกตู้สินค้า
ลงเรือ

เจ้าหน้าที่ออกรายงาน
สรุปตู้สินค้าบรรทุกลงเรือ

- เจ้าหน้าที่ทกท. ออกรายงานสรุปสินค้า
บรรทุกลงเรือ (Container Loading Report)
- ให้บริษัทตัวแทนเรือยื่นยันตู้สินค้าบรรทุก
ลงเรือภายใน 24 ชม.
- จัดเก็บค่าภาระต่าง ๆ

58

"สรุปขั้นตอนการส่งออกผัก ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง"
ผู้ส่งออก

1. ตรวจสอบสิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศเพื่อขอหนังสือ
รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า เช่น Form A, Form D, Form E, Form FTA,
Form JTEPA, Form C/O ทั่วไป ฯลฯ ตามที่ผู้นำเข้าต้องการกับ
กรมการค้าต่างประเทศ

2. ตรวจสอบและขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรจากกรมศุลกากร เช่น
การขอคืนเงินชดเชยค่าภาษีอากร, การขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ,
คลังสินค้าฑัณฑ์บน, เขตปลอดอากร หรือสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การลงทุน (ข้อมูลเพิ่มเติม) หรือการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ในเขตประกอบการค้าเสรี หรือสำนักงานคณธกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจ
พิเศษ ฯลฯ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)

3. ตรวจสอบกฎระเบียบของประเทศผู้นำเข้า และขอใบอนุญาต / ใบรับรอง
จากหน่วยงานที่ควบคุมหรือที่เกี่ยวข้อง ตามที่ประเทศผู้นำเข้าต้องการ

3.1 จดทะเบียนเป็นผู้ส่งออกสินค้าเกษตรไปนอกราชอาณาจักร
กับกองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กรมวิชาการเกษตร
3.2 ขอใบรับรองสุขอนามัย (Health Certificate) ผักและผลไม้สด
จากกองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กรมวิชำกำรเกษตร

59 อ้างอิง : กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (ฉบับปรับปรุงปี 2560)

""สรุปขั้นตอนการส่งออกผัก ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง
4. ผ่านพิธีการศุลกำกร (e-Customs)
4.1 ลงทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ (Paperless)
4.2 ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร (e-Export)

5. ส่งออกทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ

6. ขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า จากกรมการค้าต่างประเทศ เช่น Form A,
Form D, Form E, Form FTA, Form JTEPA, Form C/O ทั่วไป ฯลฯ และขอ
ใบรับรองแหล่งกำเนิ ดสินค้า (Form C/O) จากหอการค้าไทย หรือ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

7. ส่งเอกสารทางการค้าที่เกี่ยวข้อง (Shipping Documents) 60
ไปยังผู้นำเข้าในต่างประเทศ

8. บริหารสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรตามที่ได้รับ
การส่งเสริจากภาครัฐ (จากข้อ 2)

อ้างอิง : กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (ฉบับปรับปรุงปี 2560)

ก ารจดทะเบียนผู้ส่งออก

และกฎ ระเบียบ และเงื่อนไขการส่งออกสินค้าเกษตร

ผักและผลไม้ไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน

61

การจดทะเบียนผู้ส่งออก และกฎ ระเบียบ และเงื่อนไขการส่งออกสินค้าเกษตร
ผักและผลไม้ไปสาธารณรัฐประชาชนจีน

กฎ ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้อง

- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียน
ผู้ส่งออกผักและผลไม้ พ.ศ. 2553
- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียน
ผู้ส่งออกผักและผลไม้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอและการออก
ใบรับรองสุขอนามัยพืชสำหรับผลไม้ที่ส่งออกผ่านประเทศที่สามเข้าสู่สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน พ.ศ. 2552
- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการนำเข้าและส่งออก
ผลไม้ระหว่างราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีนผ่านสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว พ.ศ. 2554
- พิธีสารระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวง
ควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืชเป็นพืชควบคุมเฉพาะ
พ.ศ. 2556
- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืชเป็นพืชควบคุมเฉพาะ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอและการออก
ใบรับรองสุขอนามัย พ.ศ. 2552
- ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอและการออก
ใบรับรองสุขอนามัย สำหรับการส่งออกมะละกอไปยังสหภาพยุโรป นอร์เวย์ สมาพันธรัฐสวิส
สาธารณรัฐไอซ์แลนด์สาธารณรัฐประชาชนจีน และญี่ปุ่น พ.ศ. 2559

62

ผลไม้ 22 ชนิดจากประเทศไทยที่อนุญาตให้นำเข้าสาธารณรัฐประชาชนจีน

1. ทุเรียน - - - - -2. ลำไย 3. มังคุด
6. สับปะรด
4. ลิ้นจี่ 5. มะม่วง
------------------------
7. ละมุด 8. กล้วย 9. เสาวรส
10. มะพร้าว 11. น้อยหน่า 12. มะขาม

13. มะละกอ 14. มะเฟือง 15. ฝรั่ง

16. เงาะ 17. ชมพู่ 18. ขนุน

19. ลองกอง 20. ส้มเปลือกล่อน 21. ส้ม

22. ส้มโอ

พืชควบคุมเฉพาะ 2 ชนิด สำหรับการส่งออกไปสาธารณรัฐประชาชนจีน

1. ลำไย 2. มะละกอ

63

การจดทะเบียนผู้ส่งออก

1. ผู้ประสงค์จะส่งออกผลไม้ 22 ชนิด ไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ต้องจดทะเบียนผู้ส่งออก
หมายเลขทะเบียน CNXXXX โดยยื่นคำร้องขอหนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเป็นผู้ส่งออก
ผักและผลไม้ (แบบ สมพ.4) ได้ที่กลุ่มจดทะเบียนและออกใบรับรอง กองพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินค้าพืช
2. ผู้ประสงค์จะส่งออกผลไม้ชนิดที่ 1 – 5 ต้องใช้ผลผลิตจากแปลง GAP ที่ได้รับการรับรองจากกรม
วิชาการเกษตรและใช้โรงคัดบรรจุสินค้าที่ได้การรับรอง GMP และเป็นโรงคัดบรรจุที่ได้ขึ้นทะเบียน
โรงงานผลิตสินค้าพืชกับกรมวิชาการเกษตรแล้ว (ยื่นขอได้ที่กลุ่มพัฒนาระบบตรวจรับรองมาตรฐาน
สินค้าพืช กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช)
3. ผู้ประสงค์จะส่งออกผลไม้ 22 ชนิด โดยผ่านประเทศที่สาม ต้องใช้ผลผลิตจากแปลง GAPที่ได้รับการ
รับรองจากกรมวิชาการเกษตร และใช้โรงคัดบรรจุสินค้าที่ได้การรับรอง GMP และเป็นโรงคัดบรรจุ
ที่ได้ขึ้นทะเบียนโรงงานผลิตสินค้าพืชกับกรมวิชาการเกษตรแล้ว (ยื่นขอได้ที่กลุ่มพัฒนาระบบ
ตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช)
4. หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเป็นผู้ส่งออกผักและผลไม้ไปต่างประเทศมีอายุ 2 ปี นับจากวันที่
ออกเอกสาร

เงื่อนไขการส่งออก

1. ผู้ประสงค์จะส่งออกพืชควบคุมเฉพาะไปสาธารณรัฐประชาชนจีน ต้องขอใบรับรองสุขอนามัย
(Health Certificate) ก่อนการส่งออกด้วย
2. พืชควบคุมเฉพาะชนิดที่1ต้องยื่นผลทดสอบสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) ที่มีค่า SO2ในเนื้อ
ไม่เกิน 50 ppm ประกอบการขอออกใบรับรองสุขอนามัย
3. พืชควบคุมเฉพาะชนิดที่ 2 ต้องยื่นผลทดสอบสารตัดแต่งพันธุกรรม ประกอบการขอออก
ใบรับรองสุขอนามัย
4. ผู้ประสงค์จะส่งออกผลทุเรียนสด/ผลลำไยสด ต้องจดทะเบียนผู้ส่งออก หมายเลขทะเบียน
DU-1-XX-XXX / LO-2-XX-XXX ด้วย
5. ผู้ประสงค์จะส่งออกชมพู่ ต้องใช้ผลผลิตจากแปลง GAP ที่ผ่านการตรวจประเมินการป้องกันกำจัด
ศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และใช้โรงคัดบรรจุสินค้าที่ได้การรับรอง ทั้งนี้GAP, IPM และ GMP
ที่ใช้ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตรด้วย
6. ขอใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate) ตามประกาศที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนด
หรือเงื่อนไขของประเทศผู้นำเข้า

64

ก ารประกันภัยทางทะเลและขนส่ง (Marine Insurance)

การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง หมายถึงอะไร ?

การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง หมายถึง การประกันภัยที่คุ้มครองความสูญเสีย
หรือความเสียหายต่อเรือและทรัพย์สินหรือสินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่งทางทะเล
และยังขยายขอบเขตความคุ้มครองไปถึงความเสียหายขณะขนส่งสินค้าทางอากาศ
ทางบก หรือทางรถไฟ ซึ่งต่อเนื่องกับการขนส่งทางทะเลด้วย






ก า ร ป ร ะ กั น ภั ย สิ น ค้ า ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ข น ส่ ง นั้ น
ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งโดยวิธีใดมักจะเรียกรวมกันว่า
การประกันภัยขนส่งสินค้าทางทะเล ซึ่งการทำประกันภัย
ขนส่งสินค้านั้นจะใช้กรมธรรม์ประกันภัยขนส่งทางทะเล
ในการรับประกันภัยทั้งสิ้น แม้ว่าสินค้านั้นจะบรรทุก
โดยทางรถยนต์ หรือทางอากาศก็ตาม

65

ประเภทการประกันภัยทางทะเลและขนส่ง

การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
(Marine Insurance)

การประกันภัยตัวเรือ การประกันภัยขนส่งสินค้า
(Hull Insurance) (Cargo Insuravce)

ตัวเรือ เครื่องจักร การประกันภัยขนส่งสินค้า การประกันภัยขนส่งสินค้า
(Hull ) (Machinery) ภายในประเทศ ระหว่างประเทศ

(Inland Transit) (Marince CargoInsurance)

ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความคุ้มครองในกรมธรรม์

1. ภัยทางทะเล (Peril of the sea) ภัยที่เกิดจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ล่วงหน้าได้
อาจเกิดจากภาวะผิดปกติของคลื่นลมในทะเลตามธรรมชาติ หรืออุบัติเหตุจากการสัญจร
ทางทะเล เช่น ภัยจากพายุ, มรสุม, เรือจม, เรือชนกัน, เรือเกยตื้น หรือเรือชนหินโสโครก

2. อัคคีภัย (Fire) ความเสียหายที่เกิดจากเพลิงไหม้ ภัยระเบิด ฟ้าผ่า หรือเกิดจากการ
ลุกไหม้ของปฏิกิริยาเคมีตามธรรมชาติของสินค้า

3. การทิ้งทะเล (Jettisons) ภัยที่เกิดจากการนำเอาสิ่งของหรือสินค้าในเรือทิ้งลงทะเล
เพื่อให้เรือเบาลง ช่วยให้เรือพ้นจากภัยทางทะเล และสามารถเดินทางต่อไปยังจุดหมาย
ปลายทางได้โดยปลอดภัย

4. โจรกรรม (Thieves) ภัยที่เกิดจากการโจรกรรมโดยโจรสลัด ซึ่งมีการกระทำอย่างรุนแรง
ด้วยการใช้กำลัง เพื่อช่วงชิงทรัพย์หรือสินค้าที่ทำการขนส่ง

5. การกระทำโดยทุจริตของคนเรือ (Barratry) ภัยที่เกิดจากการกระทำโดยมิชอบของคนเรือ
มีเจตนากลั่นแกล้งทุจริต ตั้งแต่นายเรือจนถึงลูกเรือในอันที่จะทำให้เกิดความเสียหาย
แก่ทรัพย์สินหรือสินค้าที่ทำการขนส่งในเรือ ซึ่งการกระทำนั้นเจ้าของทรัพย์ต้องไม่มี
ส่วนรู้เห็นเป็นใจ

6. ภัยอื่นๆ (Other Peril) ภัยที่นอกเหนือจากข้อ 1-5 ซึ่งผู้เอาประกันภัยต้องการความ
คุ้มครองเพิ่มเติมจะต้องชำระเบี้ยประกันภัยในอัตราที่สูงขึ้น เช่น ต้องการความคุ้มครอง
ภัยสงครามเพิ่มเติม** เป็นต้น

66

แบบกรมธรรม์ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง

แบบกรมธรรม์ประกันภัยทางทะเลที่ใช้กับธุรกิจประกันภัยในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
มีข้อกำหนดเงื่อนไขความคุ้มครอง 2 รูปแบบ คือ แบบ S.G. Form และ แบบ MAR Form

1. ความคุ้มครองแบบ S.G. Form (Ship and Goods) เป็นความคุ้มครองการประกันภัย
ทางทะเลแบบเดิมที่ใช้กันมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1779 มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้

1.1 แบบเงื่อนไข F.P.A (Free of Particular Average) : การประกันภัยตามเงื่อนไขนี้
ให้ความคุ้มครองแคบที่สุด โดยบริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะ
เมื่อสินค้าได้รับความเสียหายโดยสิ้นเชิง (Total Loss) เท่านั้น ถ้าสินค้าได้รับความเสียหาย
เพียงบางส่วน (Partial Loss) จะไม่ได้รับการชดใช้

1.2 แบบเงื่อนไข W.A (With Average) : การประกันภัยตามเงื่อนไขนี้ให้ความคุ้มครอง
ความเสียหายโดยสิ้นเชิง และความเสียหายบางส่วนด้วย แต่ความเสียหายบางส่วนนี้
จะต้องไม่ต่ำกว่า 3% ของมูลค่าทรัพย์สินที่เอาประกันภัย

1.3 แบบเงื่อนไข All Risks : เป็นเงื่อนไขความคุ้มครองที่กว้างที่สุด ให้ความคุ้มครอง
ความเสียหายทั้งความเสียหายสิ้นเชิง และความเสียหายบางส่วน โดยไม่จำกัดเปอร์เซ็นต์
ความสูญเสีย อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขความคุ้มครองแบบนี้ จำกัดความเสียหายทางกายภาพ
ต่อสินค้าเท่านั้น และสาเหตุต้องมาจากเหตุการณ์ภายนอก ความเสียหายที่เกิดจากลักษณะ
อันเป็นการเสื่อมสภาพของตัวสินค้าเอง เช่น ผัก ผลไม้ที่บูดเน่าเองตามธรรมชาติ จะไม่ได้รับ
ความคุ้มครอง นอกจากนี้แล้ว การล่าช้า และการสูญเสียตลาด (เช่น เรือใช้เวลาเดินทางนาน
ผิดปกติกว่าจะถึงปลายทาง ทำให้สินค้าราคาตก เมื่อถึงปลายทาง เพราะไม่ทันกับฤดูการขาย
เป็นต้น) ก็ไม่ได้รับความคุ้มครอง

2. ความคุ้มครองแบบ MAR Form
การประกันภัย ขนส่งสินค้าทางทะเลโดยทั่วไป มีชุดเงื่อนไขความคุ้มครอง 3 ชุด

ที่เป็นที่นิยมกัน ซึ่งได้กำหนดขอบเขตความเสี่ยงภัยที่คุ้มครอง ลดหลั่นลงไปตาม
ลำดับ ดังนี้

1. The Institute Cargo Clauses ‘A’
2. The Institute Cargo Clauses ‘B’
3. The Institute Cargo Clauses ‘C’

67

ตารางเปรียบเทียบเงื่อไขความคุ้มครอง

ความคุ้มครอง ICC
ABC
1. ไฟไหม้ หรือการระเบิด

2. เรือหรือยาน เกยตื้น จม หรือล่ม

3. ยานพาหนะทางบกพลิกคว่ำ หรือตกราง
4. ยานพาหนะทางหรือเรือขน หรือปะทะกับวัตถุอื่นใด
5. การขนถ่ายสินค้า ณ ท่าเรือประสบภัย
6. การโยนทิ้งทะเล (Jettision)
7. ความเสียหายหรือสูญเสียของส่วนรวม)
8. ความเสียหายเกิดจากการป้องกันหรือลดความเสียหายของสินค้า
9. ค่าจัดส่งสินค้าไปยังจุดหมายปลายทาง

10. แผ่นดินไหว ภูเข้าไฟระเบิด ฟ้าผ่า

11. สินค้าจากเรือถูกคลื่นซัดตกเรือ

12. การที่น้ำทะเล น้ำทะเลสาบ หรือน้ำในแม่น้ำเข้าไปในระวางเรือ
ยานพาหนะ ตู้สินค้า หรือสถานที่เก็บ

12. การที่น้ำทะเล น้ำทะเลสาบ หรือน้ำในแม่น้ำเข้าไปในระวางเรือ
ยานพาหนะ ตู้สินค้า หรือสถานที่เก็บ
13. สินค้าหีบห่อเสียหายอย่างสิ้นเชิง เพราะตกจากเรือหรือจากการ
ยกขึ้นลงเรือ หรือเปลี่ยนถ่ายเรือ หรือยานพาหนะ
14. เปียกน้ำฝน
15. การกระทำด้วยความมุ่งร้ายต่อบุคคลอื่น

16. การปล้นโดยโจรสลัด
1ึ7. ถูกลักขโมย

18. อุบัติเหตุอื่นๆ ที่ไม่เข้าข่าย 1-17 เช่น แตก หัก ฉีกขาก เปื้ อน
ภาชนะบุบสลายทำให้สินค้ารั่วไหลระหว่างขนส่ง
19. ความสูญเสียหรือเสียหายต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัย เกิดจาก
ภัยทุกอย่างที่มีสาเหตุจาภายนอก และเกิดขึ้นโดยไมม่คาดหมาย

คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง

68

การเลือกซื้อความคุ้มครองสำหรับประกันภัยทางทะเลและขนส่ง

1. โดยการใช้หนังสือคุ้มครองชั่วคราว (Cover Note)

การใช้ Cover Note หมายถึง เอกสารที่ผู้รับประกันภัย ออกให้แก่ผู้เอาประกันภัย
เพื่อเป็นหลักฐานแสดงว่า สินค้าตามรายการที่ระบุไว้ใน Cover Note นั้น ได้รับความ
คุ้มครองจากผู้รับประกันภัยแล้ว ตามจำนวนเงินที่ระบุไว้ใน Cover Note
ซึ่งตามปกติผู้เอาประกันภัยควรแจ้งให้ผู้รับประกันภัยออก Cover Note ทันทีที่เปิด
Letter of Credit (L/C) หรือสั่งซื้อสินค้า และเมื่อผู้เอาประกันภัยทราบรายละเอียด
จำนวนหีบห่อ ชื่อเรือ วันที่สินค้าลงเรือจากผู้ขายแล้ว จึงแจ้งบริษัทประกันภัย
ออกกรมธรรม์ให้

2. โดยการใช้กรมธรรม์ประกันภัยแบบเปิด (Open Cover หรือ Open Policy)



Open Cover หรือ Open Policy จะใช้ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัย สั่งสินค้าจำนวน
บ่อยครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าทุกๆ ครั้งที่มีการนำเข้า/ส่งออก สินค้าจะได้รับความคุ้มครอง
ในทันที ซึ่งถ้าใช้วิธีออก Cover Note อาจไม่สะดวก และบางครั้งอาจลืมทำประกันภัยได้
โดยทั่วไปแล้วผู้ส่งสินค้าออกจะทำประกันเป็นกรมธรรม์ระยะยาว สัญญาคุ้มครองแบบ
Open Cover อาจมีผลบังคับใช้สำหรับระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น ระยะ 12 เดือน
โดยมีเงื่อนไขการต่ออายุโดยอัตโนมัติ หรืออาจมีผลบังคับเรื่อยไปโดยไม่มีกำหนดจนกว่า
จะมีการยกเลิก

หลักฐานในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน

1. หนังสือเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน Claim Bill
2. ต้นฉบับกรมธรรม์ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง Original Marine Insurance Policy
3. ใบกำกับสินค้าและใบแสดงการบรรจุ**บห่อ Invoice & Packing List
4. ใบตราส่งสินค้า Bill of Lading
5. หลักฐานแสดงความเสียหาย เช่น Survey Report, Wharf Survey Note,
Short Landed Cargo List
6. หลักฐานหรือเอกสารประกอบอื่นๆ เช่น Charter Party, Sale Contract, Stowage Plan
7. สำเนาหนังสือเรียกร้องค่าเสียหายถึงผู้ขนส่ง/ผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมหนังสือตอบจาก
ผู้ขนส่ง/ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น

69


Click to View FlipBook Version