ประวัติศาสตร์ ม.1 ตัวตัอย่างการใช้ศัช้กศัราชต่าต่งๆที่ ปรากฏในเอกสารประวัติศติาสตร์ ไทย (การนับศักศัราช) E-BOOK นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสารการ ศึกษาและการเรียนรู้ เสนอ รศ.ดร.กนิษฐ์กฐ์านต์ ปันปัแก้วก้ ผศ.พงษ์พร พันธ์เพ็ง จัดทำ โดย น.ส.สุธีกานต์ อินตะวัง 122 ภาคเรียนที่1 ที่ ประจำ ปีก ปี าร ศึก ศึ ษา 2556 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ลั ราชภัฎลำ ปาง
คำ นำ หนังสือสือิเล็ก ล็ ทรอนิกส์ หรือ e-book เล่ม ล่ นี้จัดทำ ขึ้นเป็น ป็ ส่ว ส่ นหนึ่งของรายงานวิชา สังสัคมศึกศึษา ศาสนา และ วัฒนธรรม เรื่องประวัติศติาสตร์ไทย ระดับดัชั้นชั้มัธมัยมศึกศึษาปีที่ปี ที่ 1 โดยมีวัมีวัตถุป ถุ ระสงค์ เพื่อให้ไห้ด้ศึด้กศึษาความรู้เกี่ยกี่วกับกัการนับ ศักศัราชต่า ต่ งๆ ที่สที่อดคล้อล้งในเหตุก ตุ ารณ์ประวัติศติาสตร์ไทย และได้ศึด้กศึษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น ป็ ประโยชน์กับกัการเรียน ผู้จัดทำ หวังว่า หนังสือสือิเล็ก ล็ ทรอนิกส์ หรือ e-book เล่มนี้จะเป็น ป็ ประโยชน์กับกัผู้อ่านหรือนักเรียน นักศึกศึษาหา ข้อมูล มู เรื่องนี้อยู่ หากมีข้มี ข้อแนะนำ หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ ขอน้อมรับไว้ และขออภัยภัมา ณ ที่นี้ที่นี้ด้วด้ย -ก-
สารบัญ เรื่อง หน้า --ขสารบัญ ข คำ นำ ก จุดประสงค์ 1 เนื้อหา ความหมายของประวัติศาสตร์ 2 ช่วช่งเวลา และ การแบ่งตามปรากฎการณ์ธรรมชาติ 3-4 การเกิดศักราช 5-6 การนับศักราช 7-10 หลักการเทียบศักราชต่างๆ 11-13 ตัวอย่างเหตุการณ์สำ คัญ 14-22 สถานการณ์-ภารกิจ 23-24 ฐานความช่วช่ยเหลือลื 25-27 แหล่งเรียนรู้เพิ่มพิ่เติม 28 สรุป 29 แบบทดสอบ 30-32 เฉลย 33 หน้งสือสือ้างอิง 34 ประวัติผู้จัดทำ 35
นักเรียนสามรถบอกที่ม ที่ าของศัก ศั ราชที่ป ที่ รากฏใน เอกสาร -1- จุดประสงค์ อธิบายหรือยกตัว ตั อย่างการใช้ศั ช้ ก ศั ราช ยกตัว ตั อย่างเหตุก ตุ ารณ์ที่ป ที่ รากฏในเอกสารมา พร้อมสามารถบอกเหตุผ ตุ ล
เนื้อหา ประวัติศติาสตร์ คือคื การศึกศึษาเรื่องราวต่า ต่ ง ๆ ในอดีตดี โดยมีคมีวามสัมสัพันธ์ก่อ ก่ ให้ เกิดกิความง่ายต่อ ต่ การทำ ความเข้าใจในเหตุก ตุ ารณ์ต่า ต่ ง ๆ โดยมีรมีะยะเวลาเป็น ป็ ตัวตักำ หนดใน การศึกศึษาเรื่องราวการนับ เวลาและการเปรียบเทียบศักศัราชในการศึกศึษาเรื่องราวทาง ประวัติศติาสตร์ มักมันิยมใช้กช้ารระบุช่ บุ ว ช่ งเวลาเพื่อให้ทห้ราบถึงถึ เหตุก ตุ ารณ์ต่า ต่ ง ๆ ที่เที่กิดกิขึ้น วิชาที่ศึที่กศึษาเกี่ยกี่วกับกัอดีตดี โดย ศึกศึษาถึงถึพฤติกติรรมของมนุษย์ อันเกี่ยกี่วเนื่องกับกัเวลาและ บริบท ซึ่งซึ่มีผมีล ต่อ ต่ มนุษย์ชาติเติมื่อมื่เหตุก ตุ ารณ์นั้นนั้เปลี่ยลี่นแปลง ไป ประวัติศติาสตร์ซ้ำ รอยไม่มี ม่ จมีริงเพราะถึงถึเหตุก ตุ ารณ์ที่เที่กิดกิ ขึ้นจะคล้ายกับกั ในอดีตดีแต่ส ต่ ถานการณ์ บริบท บุค บุ คลก็ไก็ ม่ เหมือมืนเดิมดิ -2-
วัน เป็น ป็ ปรากฏการณ์ที่เที่กิดกิจากโลกหมุน มุ รอบตัวตัเอง 1 รอบ เป็น ป็ เวลา 24 ชั่วชั่โมง เดือดืน เป็น ป็ ปรากฏการณ์ที่เที่กิดกิจากดวงจันทร์โคจรรอบ โลก 1 รอบ เป็น ป็ ช่ว ช่ งเวลาประมาณ 29.53 วัน ทำ ให้มห้นุษย์ เห็น ห็ ดวงจันทร์จากเต็ม ต็ ดวงค่อย ๆ เว้าแหว่งไปจนมืดมืมิดมิ จากนั้นนั้จึงจึค่อย ๆ ปรากฏขึ้นอีกจนเต็ม ต็ ดวง ช่วงเวลาเกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ปี เป็น ป็ ปรากฏการณ์ที่เที่กิดกิจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับกัช่ว ช่ งเวลา 12 เดือดืน หรือประมาณ 365.25 วัน -3-
เวลาทางจันทรคติ เดือดืนทางจันทรคติเติกิดกิจากดวง จันทร์หมุน มุ รอบโลก 1 รอบ เป็น ป็ เวลาประมาณ 29 วันครึ่ง ปีทปีาง จันทรคติมีติ มี12 เดือดืน เท่ากับกั 354 วัน เวลาทางสุริยคติ หนึ่งรอบเท่ากับกั 1 ปี มี 365.25 วัน เวลาทางจันทรคติจึติงจึแตกต่า ต่ งจากเวลาทางสุริ สุริยคติปีติลปีะ 11 วันเศษ ดังดันั้นนั้ในระบบจันทรคติทุติทุ ก 3 ปี จึงจึมีกมีารเพิ่มพิ่ เดือดืน ขึ้นอีก 1 เดือดืน หลังลัเดือดืน 8 เรียกเดือดืน 8 หลังลัว่า ปีอปีธิกมาส ประมาณ 5 ปี จะมีกมีารเพิ่มพิ่วันอีก 1 วันใน เดือดืน 7 เรียกว่า ปี อธิกาวาร เวลาทางจันทรคติจติงตาม เวลาทางสุริยคติไติด้ทัด้ ทัน 1. 2. การแบ่งช่วงเวลาจากการสังเกตปรากฏการณ์ ธรรมชาติ มี 2 ลัก ลั ษณะ คือ คื -4-
การเกิดขึ้นของศัก ศั ราช มี 2 ลัก ลั ษณะ คือ คื รัชศัก ศั ราช และ ศาสนศัก ศั ราช ) รัชศักศัราช ใช้จุช้จุ ดเริ่มริ่ต้นต้ของเวลาตามการขึ้นครองราชย์ของ กษัตริย์ มีกมีารใช้มช้าก่อ ก่ นเกิดกิศาสนศักศัราช เช่น ช่ ศักศัราชในอินเดียดี โบราณ อียิปต์โต์บราณ จีนโบราณ ตัวตัอย่างรัชศักศัราช ได้แด้ก่ จุลศกราช มหาศักศัราช รัตนโกสินสิทร์ศก ) ศาสนศักศัราช เกิดกิขึ้นเมื่อมื่มีผู้มี ผู้ศรัทธาในแต่ล ต่ ะลัทลัธิที่ต้ที่อต้งการรำ ลึกลึถึงถึ ศาสดาของตนและเหตุก ตุ ารณ์สำ คัญของศาสนา เช่น ช่ การกำ เนิด หรือการสิ้นสิ้พระชนม์ขม์องศาสดา หรือการ ประกาศศาสนา มีคมีวามยั่งยั่ยืนมากกว่ารัชศักศัราชที่ก่ที่อ ก่ กำ เนิดจากฝ่า ฝ่ ย อาณาจักรเนื่องจากศาสนจักรจะเป็น ป็ ที่พึ่ที่ พึ่งทางใจของคน ทั่วทั่ไป และมีผู้มี ผู้สืบสืทอดศาสนา รวมทั้งทั้มีคมีวามเป็น ป็ สากลได้ มากกว่า รัชศักศัราชด้วด้ย 1. 2. -5-
ศาสนาคริสต์ > ปีปปีระสูติ สู กติาลของพระเยซู ศาสนาพุทธ > ปีที่ปี ที่พที่ระพุทธเจ้าเสด็จ ด็ สู่ป สู่ รินิพพาน ศา สนาอิสลาม > ปีที่ปี ที่นที่บีมูบีฮั มูฮัมหมัดมัทำ การฮิจเราะห์ ศาสนาเชน > ปีสิ้ปีนสิ้อายุของศาสดาชินชิะ ตัวตัอย่างศาสนศักศัราช ได้แด้ก่ หรือ อพยพ โดยจะแบ่ง บ่ รัชกาลเป็น ป็ 2 ลักลัษณะ คือคืการนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากลการนับ เวลาแบบไทยใน ประวัติศติาสตร์ไทย จะมีกมีารบันบัทึกทึเรื่องราวต่า ต่ งๆ โดยมีกมีาร อ้างอิงถึงถึการนับช่ว ช่ งเวลาแตกต่า ต่ งกันกั ไป ตามแต่ล ต่ ะท้องถิ่นถิ่มี ดังดันี้ -6-
1) พุทธศักศัราช(พ.ศ.) เป็น ป็ การนับเวลาทางศักศัราชในกลุ่มลุ่ ผู้ นับถือถืพระพุทธศาสนา โดยเริ่มริ่นับตั้งตั้แต่ พระพุทธเจ้าเสด็จ ด็ ดับดัขันธ์ปรินิพพานไปแล้วล้ 1 ปี ให้นัห้ นับเป็น ป็ พุทธศักศัราชที่1ที่ทั้งทั้นี้ ประเทศ ไทยจะนิยมใช้กช้ารนับเวลาแบบนี้ โดยเริ่มริ่ ใช้ตั้ช้งตั้แต่ ครั้งรั้สมัยมัสมเด็จ ด็ พระนารายณ์มหาราช จนมาเป็น ป็ ที่แที่พร่หลาย และระบุใ บุ ช้กัช้นกัอย่างเป็น ป็ ทางการในสมัยมัพระบาท สมเด็จ ด็ พระม งกฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวหั (รัชกาลที่ 6) ในปีพุปีพุ ทธศักศัราช 2455 2) มหาศักศัราช(ม.ศ.)การนับศักศัราชนี้จะพบในหลักลัฐานทาง ประวัติศติาสตร์ในสมัยมัสุโ สุ ขทัย และอยุธยา ตอนต้นต้ โดยคิดขึ้น จากกษัตริย์ของอินเดียดี (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งซึ่พ่อค้าอินเดียดี และพวก พราหมณ์นำ เข้ามาเผยแพร่ในเวลาติดติต่อ ต่ การค้า กับกั ไทยใน สมัยมั โบราณ จะมีปมีรากฎใน ศิลศิาจาลึกลึเพื่อบันบัทึกทึ เรื่องราวเหตุก ตุ าณ์ต่า ต่ งๆ ที่เที่กิดกิขึ้น ซึ่งซึ่ถือถืว่าปีมปีหาศักศัราชที่1ที่ จะตรง กับกั ปีพุปีพุ ทธศักศัราช 621 การนับแบบไทย -7-
3) จุลศักศัราช ( จ.ศ.) จัดตั้งตั้ขึ้นโดยสังสัฆราชมนุโสรหันหัแห่ง ห่ อาณาจักรพุกาม เมื่อมื่ ปีพุปีพุ ทธศักศัราช 1181 โดยไทยรับเอาวิธี การนับเวลานี้มาใช้ใช้นสมัยมัอยุธยา เพื่อการคำ นวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บช้อกเวลาในจารึก ตำ นาน พระราช พงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่า ต่ ง ๆ จนมาถึงถึสมัยมัพระบาท สมเด็จ ด็ พระจุลจอมเกล้าล้เจ้าอยู่หัวหั (รัชกาลที่5ที่ ) จึงจึเลิกลิ ใช้ 4) รัตนโกสินสิทร์ศก (ร.ศ)การนับเวลาแบบนี้พระบาท สมเด็จ ด็ พระจุลจอมเกล้าล้เจ้าอยู่หัวหั (รัชกาลที่5ที่ ) ทรงตั้งตั้ขึ้นในปี พุทธศักศัราช2432 โดยให้กำห้กำหนดให้นัห้ นับปีที่ปี ที่พที่ระบาทสมเด็จ ด็ พระพุทธยอดฟ้าฟ้จุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุง รัตนโกสินสิทร์ เมื่อมื่ ปี พุทธศักศัราช 2325 เป็น ป็ รัตนโกสินสิทร์ศก ที่1ที่และให้เห้ริ่มริ่ ใช้ศัช้กศัราชนี้ในทางราชการตั้งตั้แต่ วันที่1ที่เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ.2432) เป็น ป็ ต้นต้มา -8-
1) คริสต์ศัต์กศัราช (ค.ศ.) เป็น ป็ การนับเวลาทางศักศัราชของผู้ นับถือถืศาสนาคริสต์ ซึ่งซึ่เป็น ป็ การนับเวลาที่นิที่นิยมใช้ ทั่วทั่โลก โดย คริสต์ศัต์กศัราชที่1ที่เริ่มริ่นับตั้งตั้แต่ปีต่ ที่ปี ที่พที่ระเยซูค ซู ริสต์ปต์ระสูติ สูติ(ตรง กับกัพ.ศ.543) และถือถืระยะเวลาที่อที่ยู่ก่อ ก่ นคริสต์ศัต์กศัราชลงไป จะเรียกว่าสมัยมัก่อ ก่ นคริสต์ศัต์กศัราชหรือก่อ ก่ น คริสต์กต์าล 2) ฮิจเราะห์ศัห์กศัราช (ฮ.ศ.) เป็น ป็ การนับเวลาทางศักศัราชของ ผู้นับถือถืศาสนา อิสลามโดยอาศัยศั ปีที่ปี ที่ท่ที่ท่ านนบีมูบีฮั มูฮัมหมัดมั ได้ อพยพจากเมือมืงเมกกะไปยังเมือมืงมาดินดิา เป็น ป็ ปี เริ่มริ่ต้นต้ของ ศักศัราชอิสลามซึ่งซึ่ตรงกับกัวันที่ 6 กรกฏาคม ค.ศ. 622 อย่างไรก็ต ก็ ามการนับศักศัราชแบบต่า ต่ ง ๆ ในบางครั้งรั้บาง เหตุก ตุ ารณ์ก็ไก็ ม่ไม่ ด้รด้ะบุค บุ วามชัดชัเจนไว้ การนับแบบสากล -9-
การนับเวลาอย่างกว้างๆ ซึ่งซึ่นิยมเรียกกันกั ใน 3 รูปแบบ ดังดันี้ 1) ทศวรรษ (decade)คือคืรอบ 10 ปีนัปี นับจากศักศัราชที่ ลงท้ายด้วด้ย 1 ไปจนถึงถึศักศัราชที่ลที่งท้ายด้วด้ย 0 เช่น ช่ ทศวรรษ ที่ 1990 ตามคริสต์ศัต์กศัราช หมายถึงถึค.ศ.1991-2000 2) ศตวรรษ (century)คือคืรอบ 100 ปีนัปี นับจากศักศัราชที่ ลงท้าย 1 ไปจน ครบ 100ปีใปีนศักศัราชที่ลที่งท้ายด้วด้ย00 เช่น ช่ พุทธศตวรรษที่2ที่ 6 คือคืพ.ศ.2501-2600 3) สหัสหัวรรษ (millenium)คือคืรอบ 1000 ปีศัปีกศัราชที่คที่รบ แต่ล ต่ ะสหัสหัวรรษ จะลงท้ายด้วด้ย000 เช่น ช่ สหัสหัวรรษที่ 2 นับ ตามพุทธศักศัราช คือคืพ.ศ. 1001-200 -10-
การนับศักศัราชที่แที่ตกต่า ต่ งกันกัจะทำ ให้เห้กิดกิความสับสัสนและ ไม่ชั ม่ ดชัเจนในการศึกศึษา เรื่องราวประวัติศติาสตร์ ดั้งดั้นั้นนั้การ เปรียบเทียบศักศัราชให้เห้ป็น ป็ แบบเดียดีวกันกัจะช่ว ช่ ยให้ สามารถ ศึกศึษาเรื่องราวทางประวัติศติาสตร์ได้เด้ข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทั้ ทำ ให้ทห้ราบว่าในช่ว ช่ ง ศักศัราช หรือช่ว ช่ งเวลาเดียดีวกันกั ในแต่ล ต่ ะ ภาคของโลก เกิดกิเหตุก ตุ ารณณ์ สำ คัญ ๆ ทาง ประวัติศติาสตร์ อะไรบ้าบ้ง ซึ่งซึ่การเปรียบเทียบศักศัราชสามารถกระทำ ได้ง่ด้ ง่ าย ๆ โดยนำ ตัวตัเลขผลต่า ต่ ง ของอายุศักศัราชแต่ศั ต่ กศัราชมาบวกหรือลบกับกัศักศัราชที่เที่ราต้อต้งการตาม หลักลัเกณฑ์ดัฑ์งดันี้ ม.ศ.+621=พ.ศ จ.ศ.+1181=พ.ศ. ร.ศ.+2325=พ.ศ. ค.ศ.+543=พ.ศ. ฮ.ศ.+621=ค.ศ ฮ.ศ.+1164=พ.ศ. พ.ศ.-621=ม.ศ. พ.ศ.-1181=จ.ศ. พ.ศ.-2325=ร.ศ. พ.ศ.-543=ค.ศ. ค.ศ.-621=ฮ.ศ. พ.ศ.-1164=ฮ.ศ. หลัก ลั เกณฑ์ก ฑ์ ารเรียบเทียบศัก ศั ราชในระบบต่า ต่ งๆ -11-
การนับศักศัราชที่แที่ตกต่า ต่ งกันกัจะทำ ให้เห้กิดกิความไม่ชั ม่ ดชัเจน ในการศึกศึษาประวัติศติาสตร์ไทยและสากล ดังดันั้นนั้การเทียบ ศักศัราชให้เห้ป็น ป็ แบบเดียดีวกันกัจะช่ว ช่ ยให้สห้ามารถศึกศึษาเรื่องราว ประวัติศติาสตร์ได้เด้ข้าใจมากขึ้น ตลอดจนทำ ให้ทห้ราบถึงถึช่ว ช่ ง ศักศัราชหรือช่ว ช่ งเวลาเดียดีวกันกั ในแต่ล ต่ ะภูมิ ภู ภมิาคของโลกเพื่อให้ เกิดกิ ประโยชน์แก่ผู้ ก่ ผู้ศึกศึษาอย่างแท้จริง จึงจึต้อต้งมีกมีารเทียบ ศักศัราช จากศักศัราชหนึ่งไปยังอีกศักศัราชหนึ่ง โดยคำ นวณ จากศักศัราชทั้งทั้สองมีช่มีว ช่ งเวลาที่แที่ตกต่า ต่ งกันกัอยู่กี่ปีกี่แปีล้วล้นำ ไป บวกหรือลบแล้แต่ก ต่ รณีหลักลัเกณฑ์กฑ์ารเทียบศักศัราช โดย คำ นวณหาเกณฑ์บฑ์วกลบเฉพาะพุทธศักศัราช (พ.ศ.) มีดัมีงดันี้ การเทียบศัก ศั ราช พุทธศักศัราช มากกว่า คริสต์ศัต์กศัราช 543 ปี พุทธศักศัราช มากกว่า มหาศักศัราช 621 ปี พุทธศักศัราช มากกว่า จุลศักศัราช 1181 ปี พุทธศักศัราช มากกว่า รัตนโกสินสิทร์ศก 2324 ปี พุทธศักศัราช มากกว่า ฮิจเราะห์ศัห์กศัราช 1122 ปี -12-
จากพุทธศักศัราชเปลี่ยลี่นเป็น ป็ คริสต์ศัต์กศัราช ให้นำห้ นำพ.ศ. ลบ 543 ตัวตัอย่างเช่น ช่ พ.ศ. 2549 เปลี่ยลี่นเป็น ป็ ค.ศ. โดยนำ 543 มาลบออก ( 2549 – 543 ) ปี ค.ศ. ที่ไที่ด้คืด้อคื 2006 จากคริสต์ศัต์กศัราชเปลี่ยลี่นเป็น ป็ พุทธศักศัราช ให้นำห้ นำค.ศ. บวก 543 ตัวตัอย่างเช่น ช่ ค.ศ. 2004 เปลี่ยลี่นเป็น ป็ พ.ศ. โดยนำ 543 มาบวก ( 2004 + 543 ) ปี พ.ศ. ที่ไที่ด้คืด้อคื 2547 จากจุลศักศัราชเปลี่ยลี่นเป็น ป็ พุทธศักศัราช ให้นำห้ นำจ.ศ. บวก 1181 ตัวตัอย่างเช่น ช่ จ.ศ. 1130 เปลี่ยลี่นเป็น ป็ พ.ศ. โดยนำ 1181 มาบวก ( 1130 + 1181 ) ปี พ.ศ. ที่ไที่ด้คืด้อคื 2311 จากรัตนโกสินสิทร์ศกเปลี่ยลี่นเป็น ป็ พุทธศักศัราช ให้นำห้ นำร.ศ. บวก 2324 ตัวตัอย่างเช่น ช่ ร.ศ. 132 เปลี่ยลี่นเป็น ป็ พ.ศ. โดย นำ 2324 มาบวก ( 123 + 2324 ) ปี พ.ศ. ที่ไที่ด้คืด้อคื 2456 การเทียบศัก ศั ราชในระบบต่า ต่ งๆ สามารถนำ มาเปรียบเทียบ ให้เ ห้ป็น ป็ ศัก ศั ราชแบบเดียวกัน ได้ดังนี้ -13-
พุทธศักศัราช (พ.ศ.) สงครามเก้าก้ทัพเป็น ป็ สงครามใหญ่ครั้งรั้แรกภายหลังลั พระบาทสมเด็จ ด็ พระพุทธยอดฟ้าฟ้จุฬาโลกมหาราช สถาปนา กรุงรัตนโกสินสิทร์ได้เด้พียง 3 ปี ในสงครามนี้ พม่า ม่ ข้าศึกศึ ได้ยด้ก กำ ลังพลประมาณ 144,000 คนมารุกราน เพื่อหวังพิชิตชิ สยามให้จห้งได้ ถ้าถ้หากสยามพ่ายศึกศึนี้ ก็ย ก็ ากที่จที่ะฟื้นฟื้ตัวตัขึ้นมา ได้อีด้ อีก ดังดันั้นนั้สงครามครั้งรั้นี้จึงจึมีคมีวามสำ คัญมากต่อ ต่ อนาคต ของสยาม สงครามเก้าก้ทัพเรียกตามจำ นวนกองทัพที่พที่ระเจ้า ปะดุง ดุ กษัตริย์พม่า ม่ จัดแบ่ง บ่ กำ ลังลัทหารออกเป็น ป็ 9 ทัพ เพื่อมา โจมตีไตีทย โดยมีเมีป้าป้หมายหลักลัคือคืกรุงเทพฯ สงครามเก้าก้ทัพ พ.ศ. 2328 ตัว ตั อย่างเหตุก ตุ ารณ์ในประวัติศติาสตร์ (ศัก ศั ราช) -14-
การทำ สนธิสัญสัญาเบาว์ริงกับกัอังกฤษเมื่อมื่พ.ศ. 2398 ในรัชสมัยมัพระบาทสมเด็จ ด็ พระจอมเกล้าล้เจ้าอยู่หัวหัมีคมีวาม สำ คัญต่อ ต่ ไทยคือคืเป็น ป็ การเปิดปิกว้างประเทศไทย ทำ ให้ไห้ทย เข้าสู่สั สู่ งสัคมนานาชาติ มีกมีารเจริญสัมสัพันธไมตรีกับกั ประเทศ ต่า ต่ งๆ ทำ ให้ไห้ทยเริ่มริ่การปรับปรุงประเทศให้เห้ป็น ป็ แบบสากล สนธิสัญสัญาเบาว์ริงก่อ ก่ ให้เห้กิดกิผลดีทดีางเศรษฐกิจกิ ในระยะ สั้นสั้ๆ แต่ทำ ต่ ทำ ให้ไห้ทยถูก ถู จำ กัดกั ในเรื่องสิทสิธิการเก็บ ก็ ภาษีขาเข้า เรื่องสิทสิธิสภาพนอกอาณาเขตและเรื่องคนในบังบัคับของ ต่า ต่ งชาติ การทำ สนธิสัญสัญาเบาว์ริง พ.ศ. 2398 -15-
สงครามโลกเกิดกิขึ้นมาแล้วล้ 2 ครั้งรั้และไทยก็เ ก็ กี่ยกี่วข้องทั้งทั้ 2 ครั้งรั้คือคื ในสงครามโลกครั้งรั้ที่ 1 (พ.ศ. 2457-2461) ไทย เข้าร่วมกับกั ฝ่ายสัมสัพันธมิตมิรในระยะหลังลัๆ ของสงคราม โดย ส่ง ส่ ทหารไปร่วมรบในทวีปยุโรป แต่ยั ต่ ยังไม่ทั ม่ ทันได้ร่ด้ ร่ วมรบ สงครามโลกครั้งรั้ที่ 1 ก็ส ก็ งบลง ในสงครามโลกครั้งรั้ที่ 2 (พ.ศ. 2482-2488) มีผมีลต่อ ต่ ไทยโดยตรง และไทยเกี่ยกี่วข้องตั้งตั้แต่ร ต่ ะยะแรกๆ ของสงครามแม้ว่ม้ว่ าไทยจะไม่ใม่ ช่ส ช่ มรภูมิ ภู ที่มิ ที่สำที่สำคัญ แต่ สงครามโลกครั้งรั้ที่ 2 ด้าด้นทวีปเอเชียชีก็มี ก็ ผมีลต่อ ต่ ไทยมาก เพราะญี่ปุ่น ปุ่ มีกมีารตั้งตั้วงไพบูล บู ย์ร่วมมหาเอเชียชีบูร บู พา โดยมี การรณรงค์ตามคำ ขวัญว่า ทวีปเอเชียชีสำ หรับชาวเอเชียชีเพื่อ ขับไล่มหาอำ นาจชาติตติะวันตกออกไปจากทวีปเอเชียชี ไทยสมัยมัสงครามโลกครั้งรั้ที่ 2 -16-
มหาศักศัราช (ม.ศ.) ก่อ ก่ นสมัยมัสุโขทัย ชาติไติทยเคยรุ่งเรืองอยู่ที่ไที่หน อย่างไรไม่มี ม่ มีหลักฐานยืนยันให้ทห้ราบแน่ชัดชัแต่เ ต่ มื่อมื่พ่อขุนรามคำ แหง มหาราชทรงประดิษดิฐ์ลฐ์ายสือสื ไทยขึ้นแล้วล้มีศิมีลศิาจารึกและ พงศาวดารเหลือลือยู่เป็น ป็ หลักลัฐานยืนยันว่า ชาติไติทยเคย รุ่งเรืองมาอย่างไรบ้าบ้งในยุคสุโ สุ ขทัย อยุธยา ธนบุรี บุรีและ รัตนโกสินสิทร์ กำ เนิดลายสือสื ไทย พ่อขุนรามคำ แหงมหาราชทรง ประดิษดิฐ์ลฐ์ายสือสื ไทย หรือตัวตัหนังสือสื ไทยขึ้นเมื่อมื่มหาศักศัราช 1205 (พุทธศักศัราช 1826) นับมาถึงถึ พุทธศักศัราช 2546 ได้ 720 ปีพปีอดี ในระยะเวลาดังดักล่าว ชาติไติทยได้ สะสมความรู้ทั้งทั้ทางศิลศิ ป์วัป์ วัฒนธรรม และวิชาการต่า ต่ งๆ และได้ถ่ด้า ถ่ ยทอด ความรู้เหล่านั้นนั้สืบสืต่อ ต่ กันกัมา โดย อาศัยศัลายสือสื ไทยของพระองค์เป็น ป็ ส่ว ส่ นใหญ่ -17-
ศิลศิาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำ แหงมหาราชมีข้มี ข้อ ความปรากฎว่า "เมื่อมื่ก่อ ก่ นลายสือสื ไทยนี้บ่มี บ่ มี1205ศก ปีมปีะแม พ่อขุนรามคำ แหงหาใคร่ใจในในแล่ใล่ ส่ล ส่ ายสือสื ไทยนี้ ลายสือสื ไท นี้ จึ่งจึ่มีเมีพื่อขุนผู้นั้นนั้ใส่ไส่ ว้" หา แปลว่า ด้วด้ยตนเอง(ไทยขาวยังใช้ อยู่) ใคร่ใจในใจ แปลว่า คำ นึงในใจ (จากพจนานุกรมไทย อาหม) ข้อความที่อ้ที่อ้างถึงถึแสดงว่าพ่อขุนรามคำ แหงมหาราช ทรงประดิษดิฐ์ตัฐ์วตัหนังสือสื ไทยแบบที่จที่ารึกไว้ในศิลศิาจารึกหลักลัที่ 1 ขึ้นเมื่อมื่พ.ศ. 1826 -18-
จุลศักศั ราช(จ.ศ.) พระราชพงศาวดารกรุงเก่าก่ฉบับบัหลวงประเสริฐ เป็นป็พระราชพงศาวดารไทยซึ่งซึ่หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ (แพ ตาละลักษมณ์) พบต้นต้ฉบับบัที่บ้ที่าบ้นราษฎรแห่งห่หนึ่งและนำ มาให้หห้อพระสมุดมุวชิรชิญาณในพ.ศ. 2450 หอพระสมุดมุจึงจึตั้งตั้ชื่อชื่ว่า ฉบับบัหลวงประเสริฐ ให้เห้ป็นป็เกียกีรติแติก่ผู้ก่ ผู้พบ บานแผนกของพงศาวดารกล่าวว่า พงศาวดารนี้เกิดกิจากการที่มีที่รัมี รับสั่งสั่ ใน จ.ศ. 1042 (พ.ศ. 2223)พระราชพงศาวดารกรุงเก่าก่ -19-
ให้คัห้ คัดจดหมายเหตุต่ ตุ า ต่ ง ๆ เข้าด้วด้ยกันกัและนักประวัติศติาสตร์ เห็น ห็ ว่า ผู้มีรัมี รับสั่งสั่ คือ สมเด็จ ด็ พระนารายณ์มหาราชแห่ง ห่ กรุง ศรีอยุธยา เพราะปีที่ปี ที่รที่ะบุไ บุ ว้ตรงกับกัรัชสมัยมัของพระองค์ นอกจากนี้ พงศาวดารไม่ไม่ ด้เด้อ่ยถึงถึผู้แต่ง ต่ แต่นั ต่ นัก ประวัติศติาสตร์ชาวตะวันตกบางคนเชื่อชื่ว่า เป็น ป็ ผลงานของ โหรหลวงที่มีที่บมีรรดาศักศัดิ์ว่ดิ์ว่ า "โหราธิบดี"ดีเนื้อหาของ พงศาวดารว่าด้วด้ยเหตุก ตุ ารณ์เกี่ยกี่วกับกักรุงศรีอยุธยา ตั้งตั้แต่ การสร้างพระพุทธรูปเจ้าพแนงเชีงชี ใน จ.ศ. 686 (พ.ศ. 1867) ตามด้วด้ยการสถาปนากรุงศรีอยุธยาใน จ.ศ. 712 (พ.ศ. 1893) มาจนค้างที่รัที่รัชกาลสมเด็จ ด็ พระนเรศวรมหาราช คราวที่ทที่รงยกทัพไปอังวะใน จ.ศ. 966 (พ.ศ. 2147) ต้นต้ฉบับบั มีเมีนื้อหาเท่านี้ -20-
กบฏ ร.ศ. 130 เป็น ป็ ความพยายามเปลี่ยลี่นแปลงการปกครอง แบบประชาธิปไตยที่เที่กิดกิขึ้นในช่ว ช่ งปี พ.ศ. 2455 ในรัชสมัยมั พระบาทสมเด็จ ด็ พระมงกุฎกุ เกล้าล้เจ้าอยู่หัวหัสาเหตุเ ตุ กิดกิจากนาย ทหารและปัญปัญาชนกลุ่มลุ่ หนึ่งไม่พ ม่ อใจต่อ ต่ การปกครองแบบ สมบูร บู ณาญาสิทสิธิราชย์และการบริหารราชการของ พระมงกุฎกุ เกล้า รัตนโกสินสิทร์ศก (ร.ศ) กบฏ ร.ศ. 130 -21-
เมื่อมื่นายทหารหนุ่มและพลเรือนกลุ่มลุ่ หนึ่ง ได้วด้างแผนที่จที่ะ เปลี่ยลี่นแปลงรูปแบบการปกครอง ให้เห้หมือมืนกับกั ประเทศ อังกฤษและประเทศญี่ปุ่น ปุ่ โดยการใช้ลัช้ทลัธิชาตินิติ นิยม หรือ อุดมการณ์ชาตินิติ นิยม เป็น ป็ เครื่องมือมื ในการสร้างความเจริญ ก้าก้วหน้าให้แห้ก่ปก่ ระเทศ มีกมีารเน้นถึงถึความรักชาติ จงรักภักภัดี ต่อ ต่ พระมหากษัตริย์ และยึดมั่นมั่ ในคำ สอนของศาสนา ซึ่งซึ่การใช้อุช้อุ ดมการณ์ชาตินิติ นิยม ก็เ ก็ พื่อเป้าป้หมายในการสร้างความ เจริญก้าก้วหน้าของชาติ แต่แ ต่ นวทางดังดักล่า ล่ ว กลับลั ไม่ไม่ ด้รัด้ รับ ผลสำ เร็จเท่าที่คที่วรสาเหตุเ ตุ ป็น ป็ เพราะคนไทยส่ว ส่ นใหญ่มีคมีติ ความเชื่อชื่ที่ยที่อมรับในสิ่งสิ่ที่เที่ป็น ป็ อยู่หรือพอใจในสิ่งสิ่ที่ตที่นเอง กำ ลังลัประสบ ประกอบกับกั ประเทศไทยไม่เ ม่ คยตกเป็น ป็ อาณานิคมของชาติมติหาอำ นาจตะวันตก การปลุก ลุ เร้าให้รัห้ รัก ชาติแติบบชาตินิติ นิยมจึงจึ ไม่ไม่ ด้ผด้ลเท่าที่คที่วร จวบจนเกิดกิ ขบวนการ ร.ศ. 130 ที่มีที่กมีารเคลื่อลื่นไหวทางการเมือมืง ซึ่งซึ่มา จากความคิดที่จที่ะเปลี่ยลี่นการปกครองจากระบอบ สมบูร บู ณาญาสิทสิธิราชย์มาเป็น ป็ ระบอบประชาธิปไตย โดยมี ความเชื่อชื่ว่าการปกครองระบอบใหม่จ ม่ ะนำ ความเจริญมาสู่ ประเทศชาติ -22-
สถานการณ์ สุธี สุธีนักเรียนชั้นชั้ม.1ที่กำที่กำลังลัเรียนเรื่องประวัติศติาสตร์ โดยมีครูสมพรเป็นครูประจำ วิชา ครูสมพรได้อด้ธิบาย เรื่องการนับศักศัราชในเหตุก ตุ ารณ์ในประวัติศติาสตร์ครูสม พรอธิบายเกี่ยกี่วกับกัเรื่องประวัติศติาสตร์ ว่า ประวัติศติาสตร์ คือศึกศึษาเรื่องราวต่า ต่ งๆในอดีตดี โดยมีคมีวามสัมสัพันธ์ก่อ ก่ ให้ เกิดกิความง่าย ต่อ ต่ การทำ ความเข้าใจในเหตุก ตุ ารณ์ต่า ต่ งๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวตักำ หนดด้วด้ยการนับแบบออกได้เด้ป็น ป็ 2 ลักลัษณะ 1.การนับแบบไทย 2.การนับแบบสากล วันนี้ครู สมพรได้ยด้กตัวตัอย่างการนับแบบไทยโดยที่แที่บบออกเป็น ป็ 4 ศักศัราช ได้แด้ก่ 1.พุทธศักศัราช (พ.ศ.) 2.มหาศักศัราช (ม.ศ.) 3.จุลศักศัราช (จ.ศ.) 4.รัตนโกสินสิทรศก (ร.ศ.) ครูสมพรจึงจึ ได้ยด้กเหตุก ตุ ารณ์ศิลศิาจารึกพ่อขุนรามคำ แหง ด้าด้นที่4ที่ที่ว่ที่ว่ า “เมื่อมื่ก่อ ก่ นลายสือสื ไทนี้ บ่มี บ่ 1มี205ศก ปีมปีะแม พ่อขุน รามคำ แหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ล ส่ ายสือสื ไทนี้ ลายไทนิ จึงจึมี เพื่อขุนผู้นั้นนั้ใส่ใส่ จ”ครูสมพรจึงจึถามสุธี สุธีว่าในและเพื่อนใน เหตุก ตุ ารณ์มีความสัมสัพันธ์อย่างไร -23-
ภารกิจ 1) จากข้อความข้างต้นต้การนับศักศัราชในเหตุก ตุ ารณ์ใน ประวัติศติาสตร์ มีคมีวามสัมสัพันธ์อย่างไร ตอบ การศึกศึษาเรื่องราวทางประวัติศติาสตร์ เพื่อระบุช่ บุ ว ช่ ง เวลาเพื่อให้ทห้ราบถึงถึเหตุก ตุ ารณ์ต่า ต่ งๆ ที่เที่กิดกิขึ้น โดยจะแบ่ง บ่ เป็น ป็ 2ลักลัษณะ คือคืการนับเวลาแบบไทย และการนับเวลา แบบสากล 2) เหตุก ตุ ารณ์ดังดักล่า ล่ วที่คที่รูสมพรกล่า ล่ วมาเป็น ป็ ศักศัราชใด เพราะเหตุใ ตุ ด ตอบ มหาศักศัราช เพราะ การนับมหาศักศัราชมักมัจะใช้บช้อก เวลาในหลักลัศิลศิาจารึก มักมัพบได้ตด้ามหลักลัฐาน ทาง ประวัติศติาสตร์ 3) จากกรณีครูสมพรที่ถที่ามสุธี สุธีและเพื่อนๆในห้อห้งว่า เหตุก ตุ ารณ์ของพ่อขุนรามคำ แหงที่ว่ที่ว่ า เกิดกิขึ้นในสมัยมั ใด เพราะเหตุใ ตุ ด ตอบ สมัยมัสุโ สุ ขทัย เพราะ ส่ว ส่ นใหญ่จะพบในศิลศิาจารึกยุค ก่อ ก่ นสุโ สุ ขทัยและสมัยมัสุโ สุ ขทัย -24-
ฐานความช่วยเหลือ ลื พุทธศักศัราช (พ.ศ.) มหาศักศัราช (ม.ศ.) การนับศัก ศั ราชที่ใ ที่ ช้ในประวัติศติาสตร์ไทย ประเทศไทยเริ่มริ่นับ พ.ศ. 1 หลังลัจากพระพุทธเจ้าเสด็จ ด็ ดับดั ขันธปรินิพพานไปแล้วล้ 1 ปี การนับศักศัราชแบบ พุทธศักศัราชในไทยเริ่มริ่ต้นต้ครั้งรั้แรกในสมัยมัอยุธยา และใช้ อย่างเป็น ป็ ทางการในสมัยมัพระบาทสมเด็จ ด็ พระมงกุฏกุ เกล้าล้ เจ้าอยู่หัวหัจนถึงถึปัจปัจุบันบั สำ หรับมหาศักศัราชนี้มีที่มี ที่มที่าจากพระเจ้ากนิษกะแห่ง ห่ ราช วงศ์กุศ์ษ กุ าณะในประเทศอินเดียดีก่อ ก่ นจะเผยแพร่มายัง ประเทศไทย ซึ่งซึ่ส่ว ส่ นใหญ่จะพบในศิลศิาจารึกยุคก่อ ก่ น สุโ สุ ขทัยและสมัยมัสุโ สุ ขทัย มหาศักศัราชที่ 1 ตรงกับกัพ.ศ. 622 -25-
จุลศักศัราช (จ.ศ.) รัตนโกสินสิทรศก (ร.ศ.) จุลศักศัราชเริ่มริ่นับครั้งรั้แรกเมื่อมื่ ปี พ.ศ. 1182 ซึ่งซึ่ที่มที่าของ จุลศักศัราชนั้นนั้จุลศักศัราชมีพัมี พัฒนาการมาจากศักศัราช โบราณของอินเดียดีเช่น ช่ เดียดีวกับกัมหาศักศัราช โดยนิยมใช้ จุลศักศัราช สำ หรับคำ นวณเกี่ยกี่วกับกั โหราศาสตร์ จารึก ตำ นาน จดหมายเหตุ พงศาวดารต่า ต่ ง ๆ ก่อ ก่ นจะถูก ถู ยกเลิกลิ ไปในสมัยมัรัชกาลที่ 5 เพราะเปลี่ยลี่นมาใช้รัช้ รัตนโกสินสิ ทรศก (ร.ศ.) หลังลัจากยกเลิกลิจุลศักศัราชแล้วล้พระบาทสมเด็จ ด็ พระ จุลจอมเกล้าล้เจ้าอยู่หัวหั (รัชกาลที่ 5) ได้ริด้ ริเริ่มริ่การใช้รัช้ รัตนโก สินสิทรศก (ร.ศ.) ซึ่งซึ่เริ่มริ่นับตั้งตั้แต่ก ต่ ารสถาปนากรุง รัตนโกสินสิทร์ในปี พ.ศ. 2325 ก่อ ก่ นจะถูก ถู ยกเลิกลิการใช้ใช้น ช่ว ช่ งต้นต้รัชสมัยมัพระบาทสมเด็จ ด็ พระมงกุฏกุ เกล้าล้เจ้าอยู่หัวหั การนับศักศัราชแบบอื่น ๆ -26-
การนับศัก ศั ราชแบบอื่น ๆ คริสต์ศัต์กศัราช (ค.ศ.) ฮิจเราะห์ศัห์กศัราช (ฮ.ศ.) เริ่มริ่นับ ค.ศ. 1 ตั้งตั้แต่ พ.ศ. 544 ดังดันั้นนั้ค.ศ. = พ.ศ. - 543 เป็น ป็ การนับศักศัราชของศาสนาคริสต์ซึ่ต์งซึ่นิยมใช้ใช้น ประเทศทางตะวันตก และเผยแพร่ไปทั่วทั่โลก โดยเริ่มริ่นับ คริสต์ศัต์กศัราชที่ 1 ตั้งตั้แต่ปีต่ ที่ปี ที่พที่ระเยซูค ซู ริสต์ปต์ระสูติ สูติตรงกับกั พ.ศ. 544 เริ่มริ่นับ ฮ.ศ. 1 ตั้งตั้แต่ พ.ศ. 1665 (แต่จ ต่ ะเพิ่มพิ่ขึ้น 1 ปี ทุก ๆ 32 ปีคปีรึ่ง เมื่อมื่เทียบกับกัพุทธศักศัราช) ปัจปัจุบันบัฮ.ศ. = พ.ศ - 1122 -27-
แหล่งเรียนรู้เพิ่ม พิ่ เติม ติ https://www.youtube.com/watch? v=o5oehoeu6C0&t=52s https://www.youtube.com/watch? v=o5oehoeu6C0&t=52s https://www.youtube.com/watch? v=o5oehoeu6C0&t=52s -28-
การศึกศึษาเรื่องราวต่าต่ง ๆ ในอดีตดี โดยมความสัมสัพันธ์ก่อก่ ให้เห้กิดกิ ความง่ายต่อต่การทําความเข้าใจในเหตุก ตุ ารณ์ต่าต่ง ๆ โดยมีรมีะยะเวลาเป็นป็ ตัวตักํากํหนดใน การศึกศึษาเรื่อ งราวการนับเวลาและการ เปรียบเทียบศักศัราชในการศึกศึษาเรื่องราวทาง ประวัติศติาสตร์ มักมันิยม ใช้กช้ารระบุช่ บุ วช่งเวลาเพื่อ ให้ทห้ราบถึงถึเหตุก ตุ ารณ์ต่าต่ง ๆ ที่เที่กิดกิขึ้น โดยจะ แบ่งบ่เป็นป็ 2 ลักลัษณะ คอื การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากล การนับ เวลาแบบไทยในประวัตศาสตรไ์ ทย จะมีกมีารบันบัทึกทึเรื่องราว ต่าต่งๆ โดยมการอ้างอิงถึงถึการ นับช่วช่งเวลาแตกต่าต่งกันกั ไปตามแต่ลต่ะ ท้องถิ่นถิ่ -29- สรุป
แบบทดสอบ 1. ศักศัราชมีกี่มีลักี่กลัษณะอะไรบ้าบ้ง. ก. 3 ลักลัษณะ ได้แด้ก่ ไทย อังกฤษ สากล ข. 2 ลักลัษณะ ได้แด้ก่ ไทย สากล ค. 1 ลักลัษณะ ได้แด้ก่ ไทย ง. ถูก ถู ทั้งทั้ข้อ ก.และค. 2. ศักศัราชใดที่เที่กิดกิขึ้น ช่ว ช่ งที่ตั้ที่งตั้แต่พ ต่ ระพุทธเจ้าเสด็จ ด็ ดับดั ขันธ์ปรินิพานและประเทศไทยนิยมใช้แช้บบนี้. ก. พ.ศ. (พุทธศักศัราช) ข. ม.ศ.(มหาศักศัราช) ค. จ.ศ. (จุลศักศัราช) ง. ค.ศ. (คริสต์ศัต์กศัราช) -30-
3. ศักศัราชใดที่เที่กิดกิขึ้น ที่เที่ป็น ป็ การนับเวลาที่พที่ระเยซูป ซู ระสูติ สูติ และยังนิยมใช้กัช้นกัทั่วทั่โลก. ก. จ.ศ.(จุลศักศัราช) ข. ค.ศ.(คริสต์ศัต์กศัราช) ค. พ.ศ.(พุทธศักศัราช) ง. ไม่มี ม่ ข้มี ข้อถูก ถู 4. การทำ สนธิสัญสัญาเบาว์ริง ระหว่างไทยกับกัอังกฤษ เกิดกิขึ้นใน พ.ศ.ใด และเกิดกิ ในรัชกาลที่เที่ท่าไหร ก. พ.ศ. 2473 รัชกาลที่ 5 ข. พ.ศ. 2548 รัชกาลที่ 9 ค. พ.ศ. 2398 รัชกาลที่ 4 ง. พ.ศ. 2455 รัชกาลที่ 4 -31-
5. เหตุก ตุ ารณ์เกิดกิการ กบฏร.ศ.130 มีกมีารเปลี่ยลี่นแปลง แบบการปกครอง ในสมัยมัรัชกาลที่6ที่จากเหตุก ตุ ารเกิดกิขึ้น ศักศัราชใดและมีกมีารปกครองแบบไหน ที่ทำที่ทำ ให้จึห้งจึมีกมีาร ก่อ ก่ กบฏขึ้น ก. พ.ศ. (การปกครองแบบพ่อปกครองลูก ลู ) ข. พ.ศ. (การปกครองแบบทศพิราชธรรม) ค. ร.ศ. (การปกครองแบบสมบูร บู ณาญาสิทสิธิราชย์) ง. จ.ศ. (การปกครองแบบระบบประชาธิปไตย) -32-
เฉลย -33- 1. ข. 2. ก. 3. ข. 4. ค. 5. ค.
หนังสือ สื อ้างอิง https://blog.startdee.com/ -34- http://www.satriwit3.ac.th/files/19 1010099155542_2007160991643.pd f htps://learnneo.in.th/ การคำ นวน ศัก ศั ราช
ประวัติผู้ ติ ผู้จัดทำ ชื่อชื่นางสาวสุธี สุธีกานต์ อินตะวัง ชื่อชื่เล่น ล่ ใบหยก (ฺBAIYOK) วันเกิดกิ 9 กุม กุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2548 รหัสหันักศึกศึษา 66181660122 คณะครุศาสตร์ สาขาสังสัคมศึกศึษา ห้อห้ง1 -35-