39
พระราชประดิษฐ์ เพื่อให้เห็นภาพลักษณ์แท้จริงของตัวละครได้อย่างชัดเจนเหมือนกับความเป็นจริง
ในชีวิตประจำวันมากขึ้น โดยนำแนวคิดและทฤษฎีจากคติอารยะธรรมตะวันตกมาปรับปรุงใช้ใน
วฒั นธรรมไทย
4. เนอ้ื เรอื่ งปรับปรุงใหม่ให้ทนั สมัย โดยดำเนนิ เร่อื งให้รวดเร็ว
5. ทรงพระราชนิพนธ์บทร้อง บทพากย์ และบทเจรจาใหม่ ซึ่งค้นคว้าที่มาของเรื่อง
รามเกียรต์ิจากคัมภีร์รามายณะของวาลมีกิ โดยสอดแทรกพระราชดำริส่วนพระองค์ พระราโชบาย
ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา สังคม ความเชื่อ พิธีกรรม ประเพณี และวัฒนธรรมไว้ ต่อมา
กรมศิลปากรรับสนองนโยบายต่อเนื่องโดยมีภารกิจในการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปะการแสดง
ที่ปรมาจารย์ได้สร้างสรรค์ไว้และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น จนกลายเป็นมรดกของแผ่นดินที่อยู่ใต้กำกับ
ขององค์กรภาครัฐ สำหรับการแสดงโขนที่จัดได้ว่ามีองค์ประกอบการแสดงที่หลากหลายล้วนแต่
ประณีต งดงาม มีคุณค่า ไม่ว่าจะเป็นบทโขนที่ใช้ในการแสดง ผู้แสดงประเภทต่าง ๆ กระบวนท่ารำ
ท่าเตน้ เครอ่ื งแต่งกาย เครอ่ื งโรง ดนตรปี ระกอบ จารีตการแสดงและฉากท่ีใชใ้ นการแสดง
การแสดงโขนในปัจจุบันที่ใช้ศิลปะในการดำเนินเรื่องการแสดงแบบโขนโรงใน คือ มีการ
พากย์ เจรจา และขับร้อง ผู้แสดงสวมหัวโขนปิดหน้าจึงต้องมีผู้พูดเจรจาแทนเพื่อสื่อความหมายให้
ผู้ชมรู้เรื่องโดยการใช้กิริยาท่าทางต่าง ๆ ประกอบแทนคำพูดที่เรียกว่า “การตีบท” และรำประกอบ
ตามเพลงดนตรีปีพ่ าทย์ เรยี กว่า “รำหน้าพาทย”์ ซ่งึ ถอื ว่าเป็นหวั ใจทีส่ ำคัญอย่างหนงึ่ ในการแสดงโขน
เพราะการตีบทและรำเพลงหน้าพาทย์เป็นการสื่อความหมายระหว่างผู้แสดงกับผู้ชมเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจในเนื้อเรื่องที่แสดง การตีบท หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “รำใช้บท” คือ การแสดงท่าทางแทน
คำพูดรวมทง้ั การแสดงอารมณด์ ว้ ยเพื่อให้อีกฝา่ ยหนึ่งเข้าใจ หรือผชู้ มสามารถเข้าใจความหมายไดด้ ้วย
การแสดงท่าทางของผู้แสดง การตีบทนี้เป็นการแปลความหมาย และถือเป็นการใช้ภาษาอย่างหน่ึง
เพราะในการแสดงความรู้สกึ นึกคิดให้บคุ คลอ่ืนเข้าใจนั้น มิใช่อาศัยเพยี งการใชค้ ำพูด เพียงอย่างเดียว
สามารถใช้ท่าทางตลอดจนใช้สีหน้าประกอบด้วย และในบางครั้งการใช้ท่าทางนี้สื่อความหมาย
ไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ โดยไม่ตอ้ งอาศัยคำพดู เลยก็มี เช่น การส่ายหน้าไปมา แสดงถงึ การปฏิเสธ ผู้ท่ีพดู ด้วย
สามารถเข้าใจได้ทันที หรือการพยักหน้าเป็นการตอบรับ เป็นตน้
ในการแสดงโขนนั้นจะใชก้ ารพากย์ เจรจา และการขับร้องในการดำเนินเรือ่ งและอาจจะมตี ัว
ตลกโขนแสดงแทรกเพื่อให้การแสดงดูแล้วไม่น่าเบื่อและยืดเยื้อจนเกินไป ตัวตลกโขนมักจะใช้ผู้แสดง
ที่เป็นพลยักษ์หรือพลลิง สวมหัวโขนแค่ครึ่งศีรษะ เปิดหน้าไว้สำหรับให้ตัวละครพูดและเจรจาในการ
ดำเนินตามท้องเรื่องเองได้ ตัวตลกโขนจะออกมาพูดโต้ตอบกันให้คนดูรู้สึกขบขัน โดยยึดเนื้อเรื่องที่
กำลังแสดงอยู่เป็นแนวทางในการดำเนินเรื่อง ส่วนเนื้อหาที่ตลกโขนมักจะใช้ในการแสดงนั้นเป็น
40
การแสดงไหวพริบและปฏิภาณของผู้แสดงเองจะหยิบยกเรื่องราวแสดงออกมาเป็นถ้อยคำที่ล้อเลียน
เหตุการณ์บ้านเมืองและสังคมปัจจุบันทั่ว ๆ ไป ดังนั้นผู้ชมจะได้รับรู้รสสุนทรียะของศิลปะหลายด้าน
อาทิ บทพากย์โขนที่ดี ความไพเราะของการพากย์ เจรจา การขับร้อง และดนตรี ความเข้มแข็งและ
ความพรอ้ มในการเต้นของผูแ้ สดง ความงดงามออ่ นช้อยและการสื่อความหมายของท่ารำ ความวอ่ งไว
สนุกสนานในการต่อสู้ และความตลกขบขนั ที่แทรกอย่ใู นการแสดงโขนบางตอน
ในการปฏิบัติฝึกหัดเบื้องต้น ครูจะคัดเลือกศิษย์ตามลักษณะคุณสมบัติและความเหมาะสมไว้
เมื่อถึงวันพฤหัสบดี ซึ่งนับถือกันว่าเป็นวันครู ก็จะต้องทำพิธีมอบตัวให้ครู ศิษย์จะต้องมีดอกไม้ ธูป
เทียน เป็นเครื่องสักการะอย่างสังเขป แล้วพร้อมกันเข้าไปเคารพครูผู้ใหญ่ มอบดอกไม้ ธูป เทียน
ให้ท่านสมมุติว่าดอกไม้ ธูป เทียนนั้นคือตัวของศิษย์เอง ขอมอบให้สุดแต่ท่านจะจัดฝึกอบรมอย่างไร
เมื่อครูผู้ใหญ่รับธูป เทียน ดอกไม้ไว้แล้วก็นำไปสู่ที่สักการะทำความเคารพบูชาอุทิศครูบาอาจารย์ของ
ท่านที่ยังมีชีวิตอยู่ และล่วงลับไปแล้ว อีกต่อหนึ่งแล้วก็เริ่มจับท่าให้บรรดาศิษย์เป็นปฐมฤกษ์
ต่อจากนั้นไปก็มอบบรรดาสิทธิ์แจกจ่ายให้ครูผู้ช่วยรับไปฝึกหัดกันแต่ละฝ่าย ตัวพระก็มอบให้ครูพระ
รับไปฝึกหัด ตัวนางก็มอบให้ครูนางรับไปฝึกหัด ตัวยักษ์ก็มอบให้ฝ่ายครูยักษ์รับไปฝึกหัด ตัวลิงก็มอบ
ให้ครูลิงรับไปฝึกหัด ซึ่งเน้นความหนักเบาในการฝึกหัดแตกต่างกันออกไป แต่หลักใหญ่ในการฝึกหัด
เบอื้ งตน้ ทีต่ รงกัน และในขั้นตอนการฝึกหดั น้ันเป็นการปฏิบัตเิ บอื้ งต้นของผทู้ ่ีจะฝกึ หัดโขนทุกประเภท
เพื่อเตรียมร่างกายให้เกิดความพร้อมในการฝึกหัดขั้นต่อไป ในการปฏิบัติการฝึกหัดเบื้องต้นนั้นมี
แบบแผน และวิธีฝึกหัดอันเป็นศิลปะที่ประณีตและมีหลักวิชาโดยเฉพาะทั้งในเรื่องของจังหวะ
การเคลอื่ นไหวอวัยวะและการสร้างรา่ งกายให้แข็งแรง การฝึกหดั เบ้ืองตน้ เริม่ มมี าตั้งแต่การฝึกหัดโขน
และละครหลวง ซึ่งมีหลักการฝึกหัดคล้ายคลึงกัน จะแตกต่างกันที่วิธีฝึกหัดลีลาท่าทางที่แบ่งเป็นฝ่าย
พระ นางยกั ษ์ และลิง
ในภายหลังมพี ระบรมราชานญุ าตให้เจา้ นาย ขุนนาง ผู้ใหญ่ และเจา้ เมอื งมีโขนในครอบครอง
ได้ เพราะเป็นประโยชน์ของราชการแผ่นดิน ซึ่งในปัจจุบันนี้โอกาสที่ใช้ในการแสดงโขนและรับชมน้ัน
ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จักกว้างขว้างขึ้นกว่าเดิม อีกทั้งยังสามารถพบเห็นได้ในงานต่าง ๆ อาทิ
มหกรรมบูชาเนื่องในพระราชพิธี งานศพ งานบรมราชาภิเษก งานอภิเษกสมรส และงานบันเทิงและ
ทำนุบำรุงศิลปะ รวมถึงมีในหลักสูตรการเรียนการสอนของนักเรียนให้ได้สืบทอดต่อกันมาจนถึง
ปัจจบุ นั ดว้ ย
บรรณานุกรม
กระทรวงวัฒนธรรม กรมศลิ ปากร สำนกั การสังคีต. “ความรทู้ ่ัวไปโขน,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.finearts.go.th/performing/view/6989-ความรู้ท่ัวไปโขน, 2563.
[สืบค้นเม่อื 1 สงิ หาคม 2564].
กรินทร์ กรนิ ทสทุ ธ.ิ์ ปจั จัยตอ่ การเปลย่ี นแปลง พฒั นาการ และความหลากหลายของโขน
(ทศวรรษที่ 2480 ถงึ ปัจจุบัน). ดุษฎีนพิ นธ์ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ . สาขาสหวิทยาการ
คณะวิทยาลัยสหวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์ 2558. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5324300036_
2802_2394.pdf. [สบื ค้นเม่อื 2 สงิ หาคม 2564].
“การคดั เลอื กนักแสดงโขน,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/
khonnatsilpkhxngkhnthiy/khwam-ru-thawpi-khxng-khon-2/kar-khad-leuxk-
nak-saedngkhon, 2560. [สืบคน้ เมอ่ื 3 สงิ หาคม 2564].
“การคำนับคร,ู ” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://somkig2503.blogspot.com/2008/09/blog-
post_14.html, 2551. [สบื คน้ เมอ่ื 1 สิงหาคม 2564].
“การฝึกหดั เบอ้ื งตน้ ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://somkig2503.blogspot.com/2008/10/
blog-post.html, 2551. [สบื คน้ เมอื่ 1 สงิ หาคม 2564].
“โขน,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.baanjomyut.com/library/Knowledge_of_
encyclopedias/053.html, 2543. [สบื ค้นเมอ่ื 3 สงิ หาคม 2564].
“ความเป็นมาของ "โขน" ศิลปะชั้นสงู ทีร่ วมศาสตรแ์ ละศลิ ปห์ ลากหลายแขนง,” [ออนไลน]์ .
เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.sanook.com/campus/1391797/, 2561. [สืบค้นเมอื่ 3
สงิ หาคม 2564].
“คำพากย์ คำเจรจา และการร้องเพลงประกอบการแสดงโขน,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก :
http://oknation.nationtv.tv/blog/assada999/2009/11/17/entry-6, 2552.
[สบื ค้นเม่อื 1 สิงหาคม 2564].
42
จริยาวฒั น์ โลหะพนู ตระกลู . “การอนรุ ักษแ์ ละสืบทอดโขนเด็ก (ศิลปะแบบลกู ผสม) กบั แนวคดิ ในการ
ต่อต้านยาเสพติด โดย ครูวิก ฉิมพรี แหง่ เมอื งปากนำ้ ,” ศิลปศาสตรป์ รทิ ศั น์. 4, 8
(กรกฎาคม–ธนั วาคม 2552) : 98. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://arts.hcu.ac.th/upload/files/
JournalLib/2552/11-4-8-52%5Bfull%5D.pdf. [สืบคน้ เม่อื 3 สงิ หาคม 2564].
ฐาปนีย์ สังสทิ ธวิ งศ.์ “โขน : ศลิ ปะประจำชาติไทยและสอ่ื วัฒนธรรมในบริบทสังคมรว่ มสมยั ,”
สถาบนั วัฒนธรรมและศิลปะ (สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ มหาวิทยาลัย
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. 14, 2 (มกราคม–มถิ ุนายน 2556) : 61-66. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/15167. [สืบคน้ เมอ่ื 3
สิงหาคม 2564].
ธีรภทั ร์ ทองนม่ิ . “การพากยแ์ ละเจรจาทใี่ ชใ้ นการแสดงโขน,” สถาบนั วฒั นธรรมและศลิ ปะ
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. 15, 1 (กรกฎาคม–ธนั วาคม 2556) : 49-58. เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/18879. [สบื ค้นเมอ่ื 2
สิงหาคม 2564].
“บทละครสำหรบั แสดงโขน,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/โขน
#บทละครสำหรบั แสดงโขน, 2549. [สืบคน้ เมอ่ื 3 สิงหาคม 2564].
ประวิทย์ ฤทธิบลู ย.์ โขนวิทยา. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : ทรปิ เพิ้ล เอ็ดดเู คช่นั , 2562.
“ยินดตี ้อนรบั เขา้ สบู่ า้ นโขน,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://khonsite.wordpress.com/
2016/04/17/77/, 2560. [สบื คน้ เมอ่ื 3 สิงหาคม 2564].
“วงป่พี าทย์,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : https://guru.sanook.com/1771/, 2556 [สืบค้นเมอ่ื 3
สิงหาคม 2564].
วพัชรนิ ทร์ ร่มโพธิช์ ่นื . การจัดการศลิ ปะการแสดงโขนของครชู ชู พี ขนุ อาจ. วทิ ยานิพนธ์
ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต. สาขาวิชาการจดั การทรัพยากรวัฒนธรรม คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2557. เข้าถึงได้จาก : http://www.sure.su.ac.th/xmlui/
bitstream/id/b4deee8a-0591-4011-b331-dd405e065681/fulltext.Pdf/
?attempt=2. [สืบค้นเม่ือ 1 สิงหาคม 2564].
43
ศริ ิลักษณ์ บัตรประโคน, “วยั ใสหวั ใจโขน : การสืบทอดและกลวิธีการสืบทอดศลิ ปะโขนของไทย,”
บัณฑิตศกึ ษา มนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 4, 1 (มกราคม–มิถนุ ายน 2558) : 92-106.
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://hs.kku.ac.th/journalghsh/journal/file/21/06-วยั ใสหัวใจ
โขน%20%20การสบื ทอดและกลวธิ ีการสืบทอด.pdf. [สบื คน้ เม่อื 3 สิงหาคม 2564].
“องคป์ ระกอบการแสดงโขน ผแู้ สดง,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://khonsite.wordpress.
com/category/องค์ประกอบการแสดงโขน/, 2560. [สบื ค้นเม่ือ 3 สิงหาคม 2564].
อมรา กล่าเจรญิ และคณะ. “โขน,” รายงานการวจิ ัย. กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม,
2557. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://drive.google.com/file/d/0Bwl1NSseUsxYNGNaV1-
NLOGd2Xok/view?resourcekey=0-vPngSS0MNBHW471rVsiGgQ. [สืบคน้ เม่ือ 2
สงิ หาคม 2564].
อษุ าภรณ์ บญุ เรอื ง, สมุ าลี ไชยศภุ รากลุ และปยิ พร ทา่ จนี . “แนวทางการอนรุ ักษ์และสบื ทอดการแสดง
โขน,” เซนตจ์ อหน์ . 22, 31 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 81-84. เข้าถึงได้จาก :
https://sju.ac.th/pap_file/c717baccec0663e5bf1335bda3520479.pdf.
[สบื คน้ เมอ่ื 3 สงิ หาคม 2564].