คลื่นสึนามิ
เนื่องจากประเทศไทยเคยประสบเหตุการณสึนามิเมื่อป พ.ศ. 2547 ผคู นเริ่มตื่นตัวและตระหนักถึง ผลก ระทบที่รุนแรงของสึนามิ ขอมูลยังไมสามารถเขาถึงกับทุกวัยในเด็กและเยาวชนสวนใหญอาจมีความรู เก ยี่วกับสึนามิไมมากนักเพราะคิดวาเปนเรื่องไกลตัวยุงยากและนาเบื่อจึงไมมีความสนใจในการศึกษาทําให เยาวชนกลุมนี้ประมาทในการใชชีวิตประจําวัน พอถึงวันที่ธรณีพิบัติภัยมาเยือน คนที่มีความรูก็มัก สามารถ หาทางเอาตัวรอดได สวนคนที่ไมมีความรูมักจะเอาตัวเองไมรอดจากคลื่นยักษ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อใหความรูความเขาใจในเหตุการณสึนามิ แกเยาวชนและบุคคลที่ สนใจ เพื่อตระหนักถึงผลกระทบของธรณีพิบัติภัยจากเหตุการณสึนามิ คณะผูจัดทําจึงคิดคนทําสื่อการเรียนการสอน ที่สามารถเขาถึงไดงายและนาสนใจมากยิ่งขึ้น โดย นําเสนอ ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน มาประยุกตเขากับอนิเมชั่น เนื้อหาอธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ เหตุบอก การเปลี่ยนแปลงบริเวณชายฝง รวมถึงการอพยพชวยผูคนบริเวณนั้น มีการทดสอบความเขาใจของผูเลน ใน รูปแบบของเกมส โดยจะเปนเกมสชวยผูประสบภัยสึนามิ ซึ่งจะมีเหตุเตือนกอนเกิดเหตุการณสึนามิ เชน นก บินอพยพเขาชายฝง น้ําทะเลลดระดับลงอยางรวดเร็ว เกิดแผนดินไหว ผูเลนเกมสตองนํา ประชาชนบริเวณ ชายฝงไปไวในที่ปลอดภัย มีขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลากําหนดและจํานวนประชากร ที่สามารถเสียชีวิตได ตามระดับความยากของเกมสที่นํามาทดสอบ ผลการประเมินพบวา กลุมนักเรียนตัวอยาง 40คน ที่ทดลองใช สามารถผานดานทั้ง5ดานที่ทดสอบ ไดเกือบหมดจึงสรุปไดวาโครงงานฝาวิกฤตสึนามิสามารถนําไปใชเปนสื่อการเรียนรูไดเปนอยางด บทคัดยอ
บทนำ เนื่องจากประเทศไทยเคยไดประสบเหตุการณสึนามิเมื่อป2547ผูคนเริ่มตื่นตัวและเรียนรูวาสึนามิ คืออะไรแตความรูยัง ไมสามารถเขาถึงกับทุกวัยในเด็กและเยาวชนอาจยังมีความรูเกี่ยวกับสึนามิ ไมมากนัก เพราะคิดวาเปนเรื่องไกลตัวยุงยาก และนาเบื่อจึงไมมีความสนใจในการศึกษา คณะผูจัดทําจึงคิดคนทําสื่อการเรียนการสอนที่สามารถเขาถึงไดงายและนาสนใจมากยิ่งขึ้น โดย นําเสนอในรูปแบบนําสื่อ การเรียนการสอนประยุกตเขากับอนิเมชั่น เนื้อหาอธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ เหตุบอก การเปลี่ยนแปลงบริเวณชายฝงรวมถึง การอพยพชวยผูคนบริเวณนนั้ มีการทดสอบความเขาใจของผูเลนใน รูปแบบของเกมสโดยจะเปนเกมสชวยผูประสบภัยสึนา มิ ซึ่งจะมีเหตุเตือนกอนเกิดเหตุการณสึนามิเชน นกบิน อพยพเขาชายฝง น้ําทะเลลดระดับลงอยางรวดเร็ว เกิดแผนดินไหว ผูเลนเกมสตองนําประชาชนบริเวณชายฝง ไปไวในที่ปลอดภัยมีขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลากําหนดและจํานวนประชากร ที่สามารถเสียชีวิตได ตาม ระดับความยากของเกมสที่นํามาทดสอบ คณะผูจัดทํา
สาเหตุการเกิดสึนามิ คลื่นสึนามิเกิดขึ้นจากการกระทบกระเทือนที่ทําใหน้ําปริมาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เชน แผนดินไหวแผนดินถลม หรือ อุกกาบาตพุงชนเมื่อแผนดินใตทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปรางอยางกะทันหัน จะทําใหน้ําทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับ ใหเขาสูจุดสมดุลและจะกอใหเกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปรางของพื้นทะเลมัก เกิดขึ้นเมื่อเกิดแผนดินไหวเนื่องจากการขยับ ตัวของเปลือกโลก ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผนเชื่อมตอกันที่เรียกวา รอยเลื่อน (Fault) เชน บริเวณขอบ ของมหาสมุทรแปซิฟก นอกจากแผนดินไหวแลวดินถลมใตน้ําที่มักเกดิรวมกับแผนดินไหวสามารถทําใหเกิดคลื่นสึนามิ ไดเชนกัน นอกจากการกระทบกระเทือนที่เกิดใตน้ําแลว การที่พื้นดินขนาดใหญถลมลงทะเล หรือการตกกระทบ พื้นน้ําของวัตถุ ก็สา มารถทําใหเกิดคลื่นได คลื่นสึนามิที่เกิดในรูปแบบนี้จะลดขนาดลงอยางรวดเร็วและไมมี ผลกระทบตอชายฝงที่อยูหางไกล มากนัก อยางไรก็ตาม ถาแผนดินมีขนาดใหญมากพออาจทําใหเกิดเมกะสึ นามิ ซึ่งอาจมีความสูงรวมรอยเมตรได
ขณะที่จุดต่ําสุดของคลื่นเคลื่อนเขาสูฝง ระดับน้ําทะเลจะลดลงและทําใหขอบทะเลรนถอยออกจาก ชายฝง ถาชายฝงนั้นมีความลาดชันนอยระยะการรนถอยนี้อาจมากถึง 800 เมตร ผูที่ไมทราบถึง อันตรายที่จะ เกิดขึ้นอาจยังคงรออยูที่ชายฝงดวยความสนใจ นอกจากนี้บริเวณที่ต่ําอาจเกิด น้ําทวมไดกอนที่ยอดคลื่นจะเขา ปะทะฝง น้ําที่ทวมนี้อาจลดลงไดกอนที่ยอดคลื่นถัดไปจะเคลื่อนที่ตาม เขามาดังนั้นการทราบขอมูลเกี่ยวกับ คลื่นสึนามิจึงเปนสิ่งที่สําคัญที่จะทําใหตระหนักถึงอันตรายตัว อยางเชน ในกรณีที่ระดับน้ําในครั้งแรกลดลงไป นั้น อาจมีคลื่นลูกใหญตามมาอีกได ประเทศและบริเวณที่มีความเสี่ยงตอการเกิดสึนามิไดมีการติดตั้งระบบเตือนภัยเพื่อพยากรณ และ ตรวจจับการเกิดขึ้นของคลื่นยักษนี้ แมการปองกันไมใหคลื่นสึนามิเกิดขึ้นจะยังทําไมได ในบางประเทศไดมีการสรางเครื่องปองกันและลด ความเสียหายในกรณีที่คลื่นสึนามิจะเขากระทบฝงยกตัวอยางเชน ประเทศญี่ปุนไดมีการสรางกําแพง ปองกันสึ นามิที่มีความสูงกวา 4.5เมตรดานหนาของชายฝงบริเวณที่มีประชากรหนาแนนบางที่ไดมีกา รสรางกําแพง กันน้ําทวมและทางระบายน้ําเพื่อปรับเปลี่ยนทิศทางของคลื่น และลดแรงกระแทกของ คลื่น ถึงแมวา ในกรณี ของคลื่นสึนามิที่เขากระทบเกาะฮอกไกโดที่มักมีความสูงมากกวาเครื่องกีดขวาง ที่ไดสรา งขึ้น กําแพงเหลานี้ อาจชวยลดความเร็วหรือความสูงของคลื่นแตไมสามารถที่จะปองกันการ สูญเสียชีวิตและทรัพยสินได สัญญาณเกิดเหตุสึนามิ
ผลกระทบจากสึนามิ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือสิ่ง แวดล้อม และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม 1. ทำ ให้แผ่นเปลือกโลกขยับ ค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์คลาดเคลื่อนไป 2.ส่งผลให้สภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเลเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 3.ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ เช่น สัตว์น้ำ บางประเภทเปลี่ยนที่อยู่อาศัย หรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ด้านสังคม 1.สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน เช่น บ้านเรือนเสียหายระบบสาธารณูปโภคถูกทำ ลาย 2. กระทบต่อการประกอบอาชีพของประชาชน เช่น การทำ ประมง การค้าขายบริเวณชายหาดธุรกิจที่พัก ริมทะเล 3.ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการท่องเที่ยว ทำ ให้นักท่องเที่ยวลดลง
ฝึกตนเองให้คุ้นชินกับระบบเตือนภัยของรัฐบาลและติดตามการเตือนภัยผ่านช่องทางต่าง ๆ ร่างแผนที่สำ หรับอพยพในกรณีฉุกเฉิน เตรียมแผนที่สำ หรับอพยพให้พร้อมและซ้อมหากมีโอกาส รู้จักสัญญาณเตือนการเกิดเกิดสึนามิ เช่น ระดับน้ำ บริเวณชายฝั่งเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างรวดเร็ว เสียงดังผิดปกติจากใต้ทะเล หรือเสียงแผ่นดิน แยกตัว โดยร็อกกี้ โลเปส ผู้บริหารโครงการบรรเทาภัยสึนามิ (NationalTsunamiHazard Mitigation Program: NTHMP) หนึ่งในโครงการด้านภัยพิบัติของสหรัฐอเมริกากล่าวว่า “หากเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ปี 2547 ผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณแนวมหาสมุทรอินเดียทราบว่าความผิดปกติที่เกิดขึ้นคือสัญญาณเตือนสึนามิ คงมีผู้เสียชีวิตน้อยกว่านี้” โลเปสยังเสริมอีกว่า “คนเชื่อกันว่าจะเกิดสึนามิขึ้นหากน้ำ ทะเลลดลงอย่าง รวดเร็วแต่ในบางพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณเกาะต่าง ๆ สัญญาณเตือนเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้นเลย” สำ หรับผู้ที่อาศัยในประเทศอเมริกา วิทยุแจ้งเตือนสภาพอากาศโดยหน่วยงานบริหารสมุทรศาสตร์และ บรรยากาศ(National Oceanic and Atmospheric Administration: NOAA) ถือเป็นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ ได้และสำ หรับผู้ที่อาศัยในประเทศไทยสามารถติดตามการแจ้งเตือนภัยพิบัติหรือภัยธรรมชาติได้จากช่อง ทางต่าง ๆ ของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ(ศภช.) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ.)และกรม อุตุนิยมวิทยา แผนที่สำ หรับอพยพนี้ควรมีเส้นทางหลากหลายไม่ว่าจะเป็นเส้นทางจากบ้าน ที่ทำ งาน โรงเรียน หรือ สถานที่อื่น ๆ ที่คนในครอบครัวมักจะไป นอกจากนี้การรู้วิธีเดินเท้าอย่างปลอดภัยท่ามกลางภัยพิบัติที่เกิด ก็ถือเป็นเรื่องสำ คัญ เนื่องจากในบางกรณีสภาพแวดล้อมอาจไม่เหมาะสำ หรับการเดินทางด้วยยานภา หนะ การเตรียมตัวเช่นนี้จะทำ ให้สามารถเคลื่อนย้ายไปศูนย์อพยพหรือศูนย์พักพิงได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย เล็กน้อย วิธีเตรียมตัวเบื้องต้นขณะเกิดสึนามิ
คอยฟังประกาศต่าง ๆ จากทางการและสังเกตสัญญาณเตือนภัยจากธรรมชาติตลอดเวลา ไม่ควรอพยพไปไกลเกินความจำ เป็น อยู่ในพื้นที่ปลอดภัยจนกว่าทางการจะประกาศว่าสถานการณ์คลี่คลายแล้ว • หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นขณะอยู่ในพื้นที่ประสบภัยสึนามิ ควรหมอบกับพื้น ป้องกันบริเวณศีรษะและคอของตนไม่ให้ถูกกระทบกระเทือน และยึดอะไรก็ได้ที่มั่นคงไว้ให้ดีในกรณีอยู่ในบริเวณที่น้ำ ท่วมถึง ควรออกจากบริเวณนั้นโดยเร็วและหาสถานที่อื่นเพื่อหลบภัย หากพบว่าสถานการณ์ไม่ปกติควรอพยพทันที ไม่จำ เป็นต้องรอคำ สั่งจากรัฐบาลหรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ริชาดส์อธิบายไว้ว่า “ผู้คนมักจะเข้าใจผิดว่าควรอพยพไปไกล ๆ เมื่อเกิดภัยสึนามิ ทว่าจริง ๆ แล้วการอพยพนั้นไม่จำ เป็นจะ ต้องไปไหนไกลเพียงหาสถานที่ปลอดภัยใกล้ ๆ ก็พอแล้ว” นอกจากนี้ริชาดส์ยังแนะนำ เพิ่มอีกว่า “สำ หรับนักท่องเที่ยวที่พัก ในโรงแรมที่ตัวอาคารสูงอยู่แล้ว การอยู่ชั้นที่สี่ขึ้นไปถือว่าปลอดภัยกว่าการอพยพไปที่อื่น” อย่างไรก็ดีคลื่นลูกแรกที่ซัดมานั้นอาจจะไม่ใช่คลื่นลูกสุดท้ายหรือคลื่นที่รุนแรงที่สุดและอันตรายจากคลื่นที่ซัดสูงอาจกินเวลา หลายชั่วโมงหรือหลายวัน เนื้อหาเล็กน้อย วิธีปฏิบัติตัวระหว่างเกิดสึนามิ
หลีกเลี่ยงบริเวณที่ได้รับความเสียหายรุนแรง น้ำ ท่วม หรือมีสายไฟขาด รอฟังประกาศเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถาณการณ์และศึกษาวิธีไปศูนย์ผู้อพยพหรือศูนย์ พักพิงต่าง ๆ ติดต่อครอบครัวหรือผู้ใกล้ชิดด้วยการส่งข้อความแทนการโทร เนื่องจากในขณะนั้น สัญญาณโทรศัพท์อาจยังขัดข้องอยู่หรือยังไม่มีการกู้คืน เมื่อเกิดภัยสึนามิขึ้น นอกจากการปฏิบัติตามคำ แนะนำ ที่กล่าวไว้ข้างตนแล้วสิ่งที่ควร ปฏิบัติเพิ่มเติมคือการพกน้ำ ดื่มและอาหารที่สามารถเก็บรักษาได้นานติดตัวไว้ตามคำ แนะนำ เกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหารจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อแห่งสหรัฐอเมริกา วิธีปฏิบัติตัวหลังเกิดสึนามิ
วิธีการปฏิบัติตน ถ้าคาดว่าจะเกิดสึนามิให้หนีออกจากบริเวณชายฝั่งโดยทันที เรือให้ออกจากฝั่งสู่ทะเลลึก ติดตามข้อมูลทางวิทยุโทรทัศน์ ถ้ามีประกาศเกิดสึนามิให้อพยพทันที ให้หนีห่างจากชายฝั่งให้ไกลที่สุดไปยังพื้นที่สูงที่คาดว่าปลอดภัย ให้ช่วยเหลือเด็ก คนชราคนพิการ ผู้ที่อ่อนแอกว่า พาหนีภัยด้วย ควรหนีภัยด้วยการเดินเท้าเพื่อหลีกเลี่ยงกาตจราจรติดขัดจะกลับสู่ที่พักอาศัยก็ต่อเมื่อมีประกาศ จากทางราชการเท่านั้นว่าปลอดภัย ข้อควรปฏิบัติ ตรวจสอบดูว่าที่พักอาศัยอยู่นั้นตั้งอยู่ในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิหรือไม่ ควรรู้ระดับความสูงของถนนเมื่อเทียบกับระดับน้ำ ทะเลและระยะห่างของถนน จากชายฝั่ง สร้างความคุ้นเคยกับป้ายสัญญาณเตือนภัยสึนามิ จัดทำ แผนอพยพหนีภัย เลือกพื้นที่ที่เป็นที่สูง เตรียมอุปกรณ์ชุดยังชีพเพื่อพร้อมอพยพหนีภัย ห้ามลงทะเล ห้ามลงไปอยู่บริเวณชายหาดเมื่อมีประกาศเตือนภัยสึนามิ ควรมีวิทยุแบบใช้แบตเตอรี่เพื่อฟังข่าว
1. เมื่อรู้ว่ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่ง ให้รีบออกจากบริเวณชายฝั่งไปยังบริเวณที่สูงหรือที่ดอน ทันที โดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ เนื่องจากคลื่นสึนามีเคลื่นที่ด้วยความเร็วสูง 2. เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางราชการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเลอันดามัน ให้เตรียมรับสถานะการณ์ที่อาจ จะเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้โดยด่วน 3.สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง หากทะเลมีการลดของระดับน้ำ ลงมาก หลังการเกิดแผ่นดินไหวให้สันนิษฐานว่าอาจเกิด คลื่นสึนามิตามมาได้ให้อพยพ คนในครอบครัวสัตว์เลี้ยง ให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมากๆและอยู่ในที่ดอนหรือน้ำ ท่วมไม่ถึง 4. ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนำ เรือออกไปกลางทะเลเมื่อทราบว่าจะเกิดคลื่นสึนามิพัดเข้าหา เพราะคลื่น สึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่งมากๆ จะมีขนาดเล็ก 5.คลื่นสึนามิอาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากมีการแกว่งไปมาของน้ำ ทะเลดังนั้นควร รอสักระยะหนึ่งจึงสามารถลงไปชาดหาดได้ 6.ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 7. หากที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาดควรจัดทำ เขื่อน กำ แพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุลดแรงปะทะของน้ำ ทะเลและก่อสร้างที่พัก อาศัยให้มั่นคงแข็งแรง ในบริเวณย่านที่มีความเสี่ยงภัยในเรื่องคลื่นสึนามิ 8. หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในย่านที่มีความเสี่ยงสูง 9. วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่น กำ หนดสถานที่ในการอพยพแหล่งสะสมน้ำ สะอาดเป็นต้น 10. จัดผังเมืองให้เหมาะสม บริเวณแหล่งที่อาศัยควรมีระยะห่างจากชายฝั่ง 11. ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน ในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ และแผ่นดินไหว 12. วางแผนล่วงหน้า หากเกิดสถานการณ์ขึ้นจริง ในเรื่องการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำ หนดขั้นตอนใน ด้านการช่วยเหลือบรรเทาภัยด้านสาธารณสุข การรื้อถอน และฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น 13.อย่าลงไปในชายหาดเพื่อดูคลื่นสึนามิ เพราะเมื่อเห็นคลื่นแล้วก็ใกล้เกินกว่าจะหลบหนีทัน 14.คลื่นสึนามิ ในบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก แต่อีกบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดใหญ่ ดังนั้นเมื่อได้ยินข่าวการเกิดคลื่นสึนามิ ขนาดเล็กในสถานที่หนึ่ง จงอย่าประมาทให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ มาตราการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ
สึนามิ กับข้อควรปฏิบัติเมื่อต้องเผชิญกับภัยจากคลื่นยักษ์ซึ่ง สามารถซัดทุกสิ่งให้ราบเป็นหน้ากลองได้ สึนามิถือเป็นภัยพิบัติที่ร้ายแรงที่สุดสำ หรับผู้อาศัยบริเวณแนวชายฝั่ง เนื่องจากความเร็วมากกว่า 48 กิโลเมตรต่อชั่วโมงในการเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง และความสูงกว่า 30 เมตรของคลื่นยักษ์นี้สามารถคร่าชีวิตผู้คนได้เป็น จำ นวนมาก ตัวอย่างความเสียหายจากภัยสึนามิที่รุนแรงเป็นอันดับต้น ๆ ได้แก่ เหตุภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดียเมื่อปี 2547และเหตุสึนามิถล่มโท โฮคุในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554
สึนามึคือคลื่นขนาดมหึมาที่มีพลังทำ ลายล้างสูงสาเหตุการเกิดคลื่นชนิดนี้มักจะมาจากแผ่นดินไหวใต้พื้น มหาสมุทรและสึนามิยังรุนแรงพอที่จะทำ ลายชุมชนทั้งชุมชนและพัดซากหมู่บ้านทั้งหมดลงสู่ท้องทะเลได้ สิ่งสำ คัญที่สุดเมื่อต้องเผชิญกับสึนามิหรือภัยพิบัติต่าง ๆ คือ การศึกษาว่าพื้นที่ที่อาศัยอยู่นั้นสามารถ รับมือกับภัยพิบัติได้มากเพียงใดด้วยเหตุนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหลายประเทศจึงจัดทำ แผนที่ แสดงพื้นที่เฝ้าระวังพิเศษ พร้อมระบุเส้นทางสำ หรับอพยพให้แก่คนในชุมชนขึ้น หน่วยงานสภาพอากาศ แห่งชาติสหรัฐฯ ( theU.S. National Weather Service) เองก็จัดทำ แผนที่ขึ้น เพื่อติดตามสภาพอากาศ และภัยพิบัติที่อาจจะเกิดภายในประเทศและสำ หรับประเทศไทยเองมีหน่วยงานหลักสองหน่วยงานคือ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ(ศภช.)และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ.) ที่ทำ หน้าที่ติดตาม ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับภัยพิบัติและแจ้งให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางต่าง ๆ เควิน เจ ริชาดส์เจ้าหน้าที่ด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติประจำ สำ นักจัดการภาวะฉุกเฉิน ณ เกาะฮาวายได้ให้ คำ แนะนำ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า “คุณควรรู้ว่าคุณสามารถรับความเสี่ยงได้แค่ไหนเมื่อเกิดภัยธรรมชาติขึ้น และควรประเมินด้วยว่าภัยพิบัติชนิดไหนมีโอกาสจะสร้างความเสียหายให้กับที่พักหรือพื้นที่ที่คุณอาศัย” ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสึนามิ
การป้องกันภัยจากสึนามิอาจกระทำ ได้ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งต้องให้ความร่วมมือ กันดังนี้ ภาครัฐ 1. จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม โดยพิจารณาจัดให้แหล่งที่อยู่อาศัยอยู่บริเวณที่ห่างจากชายฝั่งทะเล 2. ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ และแผ่นดินไหว 3. จัดให้มีการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ 4. วางแผนในเรื่องการอพยพผู้คน การกำ หนดสถานที่ในการอพยพ การเตรียมแหล่งสะสมน้ำ สะอาด การจัด เตรียมบ้านพักอาศัยชั่วคราว การระสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขณะเกิดภัย การกำ หนดขั้นตอน หรือวิธีการ ชวยเหลือบรรเทาภัยด้านสาธารณสุข การรื้อถอนและฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง 5. หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งทะเลในเขตที่มีความเสี่ยงภัยจากคลื่นสึนามิสูง 6. จัดให้มีศูนย์เตือนภัยจากคลื่นสึนามิ 7. มีการประกาศเตือนภัย ภาคเอกชน 1.ควรให้การสนับสนุนภาครัฐและประชาชนในเรื่องการประชาสัมพันธ์ หรือการให้ความรู้แก่ประชาชน ในเรื่อง การป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ 2. ให้การสนับสนุนด้านการเงิน เพื่อใช้ในการป้องกันภัยสึนามิ และการช่วยเหลือหลังเกิดภัยพิบัติขึ้น 3. ให้การสนับสนุนด้านกำ ลังคนในการช่วยเหลือ กรณีเกิดภัยจากสึนามิ ภาคประชาชน 1.ควรติดตามการเสนอข่าว หรือประกาศเตือนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 2. รู้จักสังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง ถ้าน้ำ ทะเลลดระดับลงมามากหลังเกิดแผ่นดินไหว ให้สันนิษฐานว่าอาจ เกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ให้รีบอพยพคนในครอบครัว หรือสัตว์เลี้ยง ให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมาก ๆ ควรอยู่ในที่ดอน หรือที่สูงน้ำ ท่วมไม่ถึง 3. กรณีที่อยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ที่ท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนำ เรือออกไปกลางทะเลเมื่อทราบว่าจะเกิดคลื่นสึนามิพัด เข้าหา 4. หากเกิดภัยจากคลื่นสึนามิ พยายามตั้งสติให้มั่น เพื่อเตรียมรับสถานการณ์ 5.อย่าลงไปชายหาดเพื่อไปดูคลื่นสึนามิ เพราะเมื่อเห็นคลื่นแล้วก็จะไม่สามารถวิ่งหลบหนีได้ทัน 6. ไม่ควรประมาท กรณีที่มีข่าวว่าจะเกิดคลื่นสึนามิขนาดเล็ก เนื่องจากคลื่นสึนามิในบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก แต่ว่าอีกบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดใหญ่ก็ได้ 7.คลื่นสึนามิสามารถเกิดขึ้นได้อีกหลายระลอก จากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากการแกว่งไปแกว่ง มาของน้ำ ทะเล ถ้าจะลงไปชายหาดให้รอสักระยะหนึ่ง เพื่อให้แน่ว่าปลอดภัยจากคลื่นแล้ว การป้องกันภัยจากสึนามิ
คลื่นสึนามิ คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติเพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave)ตามปกติ[ติ3]คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับ ว่าคลื่นน้ำ เพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว[4]และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่น ยักษ์/ษ์ คลื่นชายฝั่ง[5]ถึงแม้ว่าชุมชนนักวิทยาศาสตร์ไม่นิยมใช้คำ นี้ เนื่องจากศัพท์นี้อาจเป็น ความประทับใจเท็จในความสัมพันธ์ทั่วไประหว่างกระแสน้ำ กับสึนามิ[มิ6] โดยทั่วไป คลื่นสึนามิ ประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wavetrain)[7]ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำ กัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่งแต่อำ นาจทำ ลายล้างของมันสามารถมี ได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทรคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ค.ศ. 2004 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติโดย มีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ426 ปีก่อนคริสตกาลว่าคลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับ แผ่นดินไหวใต้ทะเล[8][9]แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่ง คริสต์ศตวรรษที่ 20และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อย กว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่าง แม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร
ขณะที่จุดต่ำ สุดของคลื่นเคลื่อนเข้าสู่ฝั่ง ระดับน้ำ ทะเลจะลดลงและทำ ให้ขอบทะเลร่นถอยออกจาก ชายฝั่ง ถ้าชายฝั่งนั้นมีความลาดชันน้อยระยะการร่นถอยนี้อาจมากถึง 800 เมตร ผู้ที่ไม่ทราบถึง อันตรายที่จะเกิดขึ้นอาจยังคงรออยู่ที่ชายฝั่งด้วยความสนใจ นอกจากนี้บริเวณที่ต่ำ อาจเกิดน้ำ ท่วมได้ ก่อนที่ยอดคลื่นจะเข้าปะทะฝั่ง น้ำ ที่ท่วมนี้อาจลดลงได้ก่อนที่ยอดคลื่นถัดไปจะเคลื่อนที่ตามเข้ามาดัง นั้นการทราบข้อมูลเกี่ยวกับคลื่นสึนามิจึงเป็นสิ่งที่สำ คัญที่จะทำ ให้ตระหนักถึงอันตรายตัวอย่างเช่น ใน กรณีที่ระดับน้ำ ในครั้งแรกลดลงไปนั้น อาจมีคลื่นลูกใหญ่ตามมาอีกได้ ประเทศและบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดสึนามิได้มีการติดตั้งระบบเตือนภัยเพื่อพยากรณ์ และตรวจ จับการเกิดขึ้นของคลื่นยักษ์นี้ แม้การป้องกันไม่ให้คลื่นสึนามิเกิดขึ้นจะยังทำ ไม่ได้ในบางประเทศได้มีการสร้างเครื่องป้องกันและลด ความเสียหายในกรณีที่คลื่นสึนามิจะเข้ากระทบฝั่งยกตัวอย่างเช่น ประเทศญี่ปุ่นได้มีการสร้างกำ แพง ป้องกันสึนามิที่มีความสูงกว่า 4.5เมตรด้านหน้าของชายฝั่งบริเวณที่มีประชากรหนาแน่น บางที่ได้มี การสร้างกำ แพงกันน้ำ ท่วมและทางระบายน้ำ เพื่อปรับเปลี่ยนทิศทางของคลื่น และลดแรงกระแทกของ คลื่น ถึงแม้ว่า ในกรณีของคลื่นสึนามิที่เข้ากระทบเกาะฮอกไกโดที่มักมีความสูงมากกว่าเครื่องกีดขวางที่ ได้สร้างขึ้น กำ แพงเหล่านี้อาจช่วยลดความเร็วหรือความสูงของคลื่นแต่ไม่สามารถที่จะป้องกันการสูญ เสียชีวิตและทรัพย์สินได้ สำ หรับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 2004 หลังจากที่คลื่นสึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวใต้น้ำ เข้ากระทบชายฝั่งทางใต้ กรมอุตุนิยมวิทยาได้ออกมาตรการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ เพื่อเตือน ประชาชนให้ป้องกันตัวโดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ ระบบเตือนภัยสึนามิ
คลื่นสึนามิแตกต่างจากคลื่นน้ำ ธรรมดามาก ตัวคลื่นนั้นสามารถเดินทางได้เป็นระยะทางไกล โดยไม่สูญเสียพลังงานและสามารถเข้าทำ ลายชายฝั่งที่อยู่ห่างไกลจากจุดกำ เนิดหลายพัน กิโลเมตรได้โดยทั่วไปแล้วคลื่นสึนามิซึ่งเป็นคลื่นในน้ำ จะเดินทางได้ช้ากว่าการสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหวที่เป็นคลื่นที่เดินทางในพื้นดิน ดังนั้น คลื่นอาจเข้ากระทบฝั่งภายหลังจากที่ ผู้คนบริเวณนั้นรู้สึกว่าเกิดแผ่นดินไหวเป็นเวลาหลายชั่วโมง คลื่นโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติสำ คัญที่วัดได้อยู่สองประการคือคาบ ซึ่งจะเป็นเวลาระหว่างลูก คลื่นสองลูก และความยาวคลื่น ซึ่งเป็นระยะห่างระหว่างลูกคลื่นสองลูก ในทะเลเปิดคลื่นสึ นามิมีคาบที่นานมาก โดยเริ่มจากไม่กี่นาทีไปจนเป็นชั่วโมง ในขณะเดียวกันก็มี ความยาวคลื่นที่ยาวมาก โดยอาจยาวถึงหลายร้อยกิโลเมตร ในขณะที่คลื่นทั่วไปที่เกิดจาก ลมที่ชายฝั่งนั้นมีคาบประมาณ 10 วินาที และมีความยาวคลื่นประมาณ 150 เมตรเท่านั้น ความสูงของคลื่นในทะเลเปิดมักน้อยกว่าหนึ่งเมตร ซึ่งทำ ให้ไม่เป็นที่สังเกตของผู้คนบนเรือ คลื่นสึนามิจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วตั้งแต่500 ถึง 1,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมงอย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่ชายฝั่งที่มีความลึกลดลงคลื่นจะมีความเร็วลดลงและเริ่มก่อตัวเป็นคลื่นสูง โดย อาจมีความสูงมากกว่า 30 เมตร คลื่นสึนามิจะเคลื่อนตัวออกจากแหล่งกำ เนิดดังนั้น ชายฝั่งที่ถูกกำ บังโดยแผ่นดินส่วนอื่น ๆ มักปลอดภัยจากคลื่น อย่างไรก็ตาม ยังมีโอกาสที่คลื่นจะสามารถเลี้ยวเบนไปกระทบได้ นอกจากนี้ คลื่นไม่จำ เป็นต้องมีความแรงเท่ากันในทุกทิศทุกทาง โดยความแรงจะขึ้นกับ แหล่งกำ เนิดและลักษณะของภูมิประเทศแถบนั้น[ต้องการอ้างอิง] ลักษณะคลื่นสึนามิ
คลื่นสึนามิมีความยาวคลื่นสูงสุด คลื่นสีนามิมีความยาวคลื่นประมาณ 200 - 700 กิโลเมตร ในมหาสมุทรเปิดและมีความยาวคลื่นประมาณ 50-150 กิโลเมตร บริเวณชายฝั่งใกล้ทวีป ดังนั้นแทบเป็นไปไม่ได้ที่ จะตรวจวัดคลื่นสึนามิ ได้ในมหาสมุทรเปิดเพราะมีความสูง ของคลื่นเพียง 0.1 - 1 เมตร จึงสามารถตรวจความสูงของ คลื่นได้เฉพาะบริเวณใกล้ฝั่งเท่านั้น
1.โลกของเรามีทั้งส่วนที่เป็นมหาสมุทรและ ทวีป ประกอบไปด้วยแผ่น เปลือกโลก/แผ่นธรณีภาค(plates) เป็นชิ้นๆ ต่อกันอยู่เหมือนจิ๊กซอว์ดัง นั้น plates เหล่านี้จึงมีทั้งแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร (oceanic plates)และแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป (continentalplates) ซึ่งมี ความหนาตั้งแต่70 ถึง 250 กิโลเมตร 2.plates เหล่านี้มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา เนื่องจากมีการหมุนเวียน หรือไหลวนของหินหลอมละลายภายในโลกที่รองรับ plates เหล่านี้อยู่ 3. การเคลื่อนที่ของplates เป็นต้นเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวซึ่งยังไม่ สามารถบอกล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดที่ไหน เมื่อไรและด้วยความรุนแรง เท่าใด 4. บริเวณรอยต่อของplates ทำ ให้เกิดภูเขาไฟและแผ่นดินไหวขึ้นบ่อยๆ เรียกว่า วงแหวนไฟ 5.ในมหาสมุทรแปซิฟิก จะถูกล้อมด้วยวงแหวนไฟแสดงว่าใต้พื้นโลก บริเวณดังกล่าวในระดับลึกมีมวลแมกมาจำ นวนมากฝังตัวอยู่ ปัจจัยพื้นฐานที่อาจทำ ให้เกิดคลื่นสึนามิ มีดังต่อไปนี้
สึนามิ จัดทำ โดย นางสาว กัญญารัตน์ เที่ยงทัด เสนอครู ครู วรินดาศรศรี ชั้น ม.6/2 เลขที่10