The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kundanul Gid, 2023-09-22 08:54:00

โลกดาราศาตร์

โลกดาราศาตร์

รายงาน เรื่อง ลําดับชั้นหิน จัดทําโดย นายยุทธภัณฑ์เถาวัลแก้ว เลขที่3 นายธนากร ทองคําผุย เลขที่9 นางสาวณัฐรัตน์สายเลน เลขที่17 นางสาวกวินธิดา แสนลา เลขที่23 นางสาวกัลยกร เชิงหอม เลขที่24 นางสาวดวงฤทัย สิมกันยา เลยที่26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 เสนอ นางสาวประนัดดา มั่นยืน รายงานนี้เป็นส่วนส่วนหนึ่งของรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนพรเมตตาคริสเตียน


คํานํา คํานํารายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศ (ว.30261) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องลําดับชั้นหินรายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศ( ว.30261) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้เรื่องลําดับชั้นหิน ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการหาลําดับชั้นหินที่มาของยุคหิน และผู้จัดทําได้เลือกหัวข้อนี้ในการทํารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจผู้จัดทําจะต้องขอขอบคุณ อ.ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทํา ก


สารบัญ เรื่อง หน้าคํานํา กสารบัญ ขลําดับชั้นหิน 1-9- ชนิดของหิน 1-4- วัฏจักรของหิน 5-9การหาอายุทางธรณีวิทยา 10-อายุเปรียบเทียบ 10-อายุสัมบูรณ์ 10ตารางธรณีกาล 10-11อ้างอิง 12ข


ลําดับชั้นหิน ลาํดบัชัน้หนิคอ ื การเรยีงตวัทบัถมกนัของตะกอนท่ีตกทบัถม ณท่ีแหง่หน่งึในช่วงเวลาท่ีแตกตา่งกนัซง่ึมกัพบวา่ชนิดของตะกอนจะแตกตา่งกนัไปตามกาลเวลาขนึ้กบัสภาพแวดลอ้มในอดีตช่วงนนั้เช่น ยคุแคมเบรยีนจะสะสมตวัหินทราย หินทรายแปง้และคอ่ยๆเปล่ียนเป็นหินดินดาน หินปนูในยคุออรโ์ดวิเชียน เป็นตน้อายขุองหินก็คือช่วงเวลาท่ีตะกอนหรอืลาวาตกสะสมตวัหรอืกาํลงัแข็งตวัหรอืจบัตวัเช่น ดินสะสมตวัในทะเลสาบเม่ือประมาณ 260 ลา้นปีเม่ือจบัตวัเป็นหินและคงอยถู่งึปัจจบุนัเราก็บอกวา่หินนีม้ีอายุ260 ลา้นปีท่ีผา่นมา สาํหรบัวิธีศกึษาหาอายกุ็ใชท้งั้คา่อตัราสว่นการ สลายตวัของธาตกุมัมนัตรงัสีหรอืซากดกึดาํบรรพใ์นช่วงนนั้ท่ีเผอิญตายพรอ้มๆกบัการตกของตะกอน ประโยชนข์องการใชข้อ้มลูธรณีวิทยา ธรณีวิทยาถือวา่เป็นการศกึษาธรรมชาติโลกท่ีเราเหยียบ อาศยัอยู่ซง่ึถา้เขา้ใจมนัทงั้หมด เราก็สามารถใชป้ระโยชน์จากธรรมชาติและหลีกเล่ียงภยัธรรมชาติได้คณุหาทรพัยากร เชือ้เพลิงไมไ่ด้ถา้ไมรู่้ธรณีวิทยา คณุหาแหลง่ท่ีอาศยัสถานท่ีท่ีม่นัคงตอ่ชีวิตไมไ่ดถ้า้ไมรู่ธ้รณีวิทยา (เหมือนการไปสรา้งบา้นในพืน้ท่ีนาํ้ทว่มซาํ้ซากก็เพราะไมเ่ขา้ใจธรรมชาติทางธรณีวิทยา )และท่ีสาํคญัก็คือวิชานีเ้ป็นวิชาศกึษาโลกซง่ึถือวา่เป็นรากฐานของวิทยาศาสตรท์่ีสาํคญัของมนษุย์อายขุองหินบนเทือกเขากลางมหาสมทุร เน่ืองจากหินตรงนีเ้ป็นหินอคันีประเภทบะซอลตเ์ป็นสว่นใหญ่ดงันนั้ตอ้งหาอายโุดยใชก้ารสลายตวัของธาตกุมัมนัตรงัสีเทา่นนั้รูส้กึวา่ตวัหลงัๆเขาใช้AR-AR กนันะอายไุดต้งั้แต่160 ลา้นปีถงึปัจจบุนั 1


ชนิดของหนิต่างๆ หนิ (Rock) หมายถงึมวลของแข็งท่ีประกอบขนึ้ดว้ยแรช่นิดเดียวกนัหรอืหลายชนิดรวมตวักนัอยตู่ามธรรมชาติแบง่ตามลกัษณะการเกิดได้3ชนิดใหญ่ 1. หนิอัคน ี(Igneous Rock) เกิดจากหินหนืดท่ีอยใู่ตเ้ปลือกโลกแทรกดนัขนึ้มาแลว้ตกผลกึเป็นแรต่า่งๆและเย็นตวัลงจบัตวัแน่นเป็นหินท่ีผิวโลกแบง่เป็น 2ชนิดคือ -หนิอัคน ี แทรกซอน (Intrusive Igneous Rock) เกิดจากการเย็นตวัลงอยา่งชา้ๆ ของหินหนืดใตเ้ปลือกโลก มีผลกึแรข่นาดใหญ่ (>1 มิลลิเมตร) เช่นหินแกรนิต(Granite) หินไดออไรต์(Diorite) หินแกบโบร (Gabbro) -หนิอัคน ี พุ (Extruisive Igneous Rock) หรอืหินภเูขาไฟ (Volcanic Rock) เกิดจากการเย็นตวัลงอยา่งรวดเรว็ของหินหนืดท่ีดนัตวัพอุอกมานอกผิวโลกเป็นลาวา (Lava) ผลกึแรม่ ีขนาดเลก็หรอืไมเ่กิดผลกึเลยเช่น หินบะซอลต์(Basalt) หินแอนดีไซต์ (Andesite) หินไรโอไลต์(Rhyolite) 2


2. หนิชัน้หร ื อหนิตะกอน (Sedimentary Rock) เกิดจากการทบัถม และสะสมตวัของตะกอนตา่งๆไดแ้ก่เศษหิน แร่กรวด ทราย ดินท่ีผพุงัหรอืสกึกรอ่นถกูชะละลายมาจากหินเดิม โดยตวัการธรรมชาติคือธารนาํ้ลม ธารนาํ้แข็งหรอืคล่ืนในทะเล พดัพาไปทบัถมและแข็งตวัเป็นหินในแอง่สะสมตวัหินชนิดนีแ้บง่ตามลกัษณะเนือ้หินได้2ชนิดใหญ่ๆคือ -หนิชัน้เน ื อ้ประสม (Clastic Sedimentary Rock) เป็นหินชนั้ท่ีเนือ้เดิมของ ตะกอน พวกกรวด ทรายเศษหินและดิน ยงัคงสภาพอยใู่หพ้ ิสจูนไ์ด้เช่น หินทราย(Sandstone) หินดินดาน (Shale) หินกรวดมน (Conglomerate) เป็นตน้ -หนิเน ื อ้ประสาน (Nonclastic Sedimentary Rock) เป็นหินท่ีเกิดจากการตกผลกึทางเคมีหรอืจากส่ิงมีชีวิต มีเนือ้ประสานกนัแน่นไมส่ามารถพิสจูนส์ภาพเดิมได้ เช่น หินปนู (Limestone) หินเชิรต์ (Chert) เกลือหิน (Rock Salte)ถ่านหิน (Coal) เป็นตน้ 3


3. หนิแปร (Metamorphic Rock) เกิดจากการแปรสภาพโดยการกระทาํของความรอ้นความดนัและปฏิกิรยิาทางเคมีทาํ ใหเ้นือ้หิน แรป่ระกอบหินและโครงสรา้งเปล่ียนไปจากเดิม การแปรสภาพของหินจะอยใู่นสถานะของของแข็งซง่ึจดัแบง่ออกเป็น 2แบบคือ- การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamorphism) เกิดเป็นบรเิวณกวา้งโดยมีความรอ้นและความดนัทาํ ใหเ้กิดแรใ่หมห่รอืผลกึใหมเ่กิดขนึ้มีการจดัเรยีงตวัของแรใ่หม่และแสดงรวิ้ขนาน (Foliation) อนัเน่ืองมาจากแรเ่ดิมถกูบีบอดัจนเรยีงตวัเป็นแนวหรอืแถบขนานกนัเช่น หินไนส์ (Gneiss) หินชีสต์ (Schist) และหินชนวน(Slate) เป็นตน้ - การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เกิดจากการแปรสภาพโดยความรอ้นและปฏิกิรยิาทางเคมีของสารละลายท่ีขนึ้มากบัหินหนืดมาสมัผสักบัหินทอ้งท่ีไมม่ ีอิทธิพลของความดนัมากนกั ปฏิกิรยิาทางเคมีอาจทาํ ใหไ้ดแ้รใ่หมบ่างสว่นหรอืเกิดแรใ่หมแ่ทนท่ีแรใ่นหินเดิม หินแปรท่ีเกิดขนึ้จะมีการจดัเรยีงตวัของแรใ่หม่ ไมแ่สดงรวิ้ขนาน (Nonfoliation) เช่น หินออ่น (Marble) หินควอตไซต์(Quartzite) 4


วัฏจกัรของหนิ (Rock cycle) หมายถง ึ การเปล่ียนแปลงของหินทงั้3ชนิด จากหินชนิดหน่งึไปเป็นอีกชนิดหน่งึหรอือาจเปล่ียนกลบัไปเป็นหินชนิดเดิมอีกก็ได้กลา่วคือเม่ือ หินหนืด เย็นตวัลงจะตกผลกึไดเ้ป็น หินอคันีเม่ือหินอคันีผา่นกระบวนการผพุงัอยู่กบัท่ีและการกรอ่นจนกลายเป็นตะกอนมีกระแสนาํ้ลม ธารนาํ้แข็ง หรอืคล่ืนในทะเลพดัพาไปสะสมตวัและเกิดการแข็งตวักลายเป็นหิน อนัเน่ืองมาจากแรงบีบอดัหรอืมีสารละลายเขา้ไปประสานตะกอนเกิดเป็น หินชนั้ขนึ้เม่ือหินชนั้ไดร้บัความรอ้นและแรงกดอดัสงูจะเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหินแปรและหินแปรเม่ือไดร้บัความรอ้นสงูมากจนหลอมละลายก็จะกลายสภาพเป็นหินหนืด ซง่ึเม่ือเย็นตวัลงก็จะตกผลกึเป็นหินอคันีอีกครงั้หน่งึวนเวียนเช่นนีเ้รอ่ืยไปเป็นวฏัจกัรของหิน กระบวนการเหลา่นีอ้าจขา้มขนั้ตอนดงักลา่วได้เช่น จากหินอคันีไปเป็นหินแปร หรอืจากหินแปรไปเป็นหินชนั้ 1.2การลาํดบัชัน้และการกระจายตวัของหนิการลาํดบัชนั้และการกระจายตวัของหินในยคุตา่งๆ จากอายแุก่ไปยงัอายอุอ่นในประเทศไทย 1)กลุ่มหนิบรมยุคพร ี แคมเบร ี ยน พบในแผน่ฉาน-ไทย ประกอบดว้ยหินแปรท่ีมีขรั้แปรสภาพสงูเกิดรว่มกบัหินไนส์หินชีสต์หินควอรต์ไซต์พบกระจายตามภาคตะวนัตกของประเทศ กลมุ่หินบรมยคุพรแีคมเบรยีนท่ีเก่าแก่คือกลมุ่หินศิลา 5


2)กลุ่มหนิมหายุคพาล ีโอโซอกิตอนตน้แบง่ยอ่ย 2 กลมุ่ 2.1กลุ่มตะรุเตา พบท่ีแผน่ฉาน-ไทย สภาพแวดลอ้มมีการสะสมของหินตา่งกนั 2.2กลุ่มทุง่ สง พบท่ีแผน่ฉาน-ไทย สว่นใหญ่หินมีลกัษณะเนือ้โคลนสีเทาเขม้ถงึดาํขรุขระ 6


3)กลุ่มหนิมหายุคพาล ีโอโซอกิตอนกลาง แบง่ ได้2 กลุ่ม 3.1 กลุ่มทองผาภมูิประกอบดว้ยหินตะกอนและหินแปรชนั้ต่าํ 3.2 กลุ่มปากชม มกัพบในแผน่อินโดจีนซง่ึเป็นหินเชิรต์และหินดินดาน7


4)กลุ่มหนิมหายุพาล ีโอโซอกิตอนปลาย 4.1 กลุ่มแก่งกระจาน มีตะกอนเนือ้ผสมท่ีลกัษณะเป็นชนั้ระหวา่งหินทรายกบัหินดินดาน ชนั้หินมีเนือ้ปนูผสมดว้ย 4.2 กลุ่มราชบุร ี และกลุ่มสระบุร ี หินท่ีเกิดอยใู่นช่วงยคุเพอรเ์มียนมกัจะเป็นหินปนูหินปนูราชบรุกีระจายตวัอยทู่างภาคใตแ้ละภาคตะวนัตก สว่นกลมุ่หินปนูสระบรุกีระจายทางภาคตะวนัออกเฉียงเหนือและภาคตะวนัออก หิน 2 กลมุ่นีม้กัมีหินตะกอนเนือ้ผสมในสว่นบนของกลมุ่ 5กลุ่มหนิมหายุคม ีโซโซอก ี แบง่ ได้2 กลมุ่ 5.1ประกอบดว้ยหนิตะกอนทสี่ะสมตวัในแอ่งซง่ึวางตวัในแนวเหนือใต้สลบัระหวา่งหินเนือ้ผสมและหินปนู 8


5.2 กลุ่มโคราช ชนั้ตะกอนท่ีมีความหนามากกวา่ 1 กิโลเมตรประกอบดว้ยหินตะกอนเนือ้ผสม สว่นใหญ่กระจายตวัปกคลมุเกือบทงั้ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ6กลมุ่หินมหายคุซีโนโซอิก แบง่ยอ่ยได้2 กลมุ่ 6.1 กลมุ่แมเ่มาะ ประกอบดว้ยชนั้ปกรณเ์นือ้ผสมจบัตวักนัไมแ่ข็งสลบักนัระหวา่งหินทรายหินทรายแปง้กบัหินโคนหรอืหินดินดาน 6.2 กลมุ่กรุงเทพฯเป็นชดุตะกอนรว่นเกิดจากการสะสมตวัระหวา่งการกระทาํของกระแสนาํ้และลม 9


อาย ุ ทางธรณ ี วทิยา อายทุางธรณีวิทยาแบง่เป็น 2 แบบคือ อายเุปรยีบเทียบ และอายสุมับรูณ์มีวิธีการศกึษาท่ีตา่งกนัดงันี้ 1. อายุเปร ี ยบเทย ี บ เป็นวิธีทางธรณีวิทยาท่ีใชใ้นการหาอายขุองหินและกลมุ่หิน โดยบอกวา่หินและกลมุ่หินใด มีอายมุากกวา่หรอืนอ้ยกวา่อีกกลมุ่หน่งึทาํ โดยศกึษาภาคสนาม หรอืศกึษาจากขอ้มลูหลมุเจาะ เก็บตวัอยา่ง เม่ือนาํขอ้มลูมาศกึษาลกัษณะการลาํดบัชนั้หิน และธรณีโครงสรา้ง ทาํ ใหส้ามารถหาอายเุปรยีบเทียบของหินและกลมุ่หินได้2.อายุสัมบูรณ์เป็นอายขุองหิน แร่และซากดกึดาํบรรพ์ท่ีสามารถบอกจาํนวนปีท่ีคอ่นขา้งแน่นอน การหาอายสุมับรูณท์าํ ไดโ้ดย การวิเคราะหห์าปรมิาณไอโซโทปของธาตกุมัมนัตรงัสีท่ีอยใู่นหิน ธาตกุมัมนัตรงัสีท่ีนิยมนาํมาหาอายสุมับรูณ์ไดแ้ก่คารบ์อน-14 โพแทสเซียม-40 รูบิเดียม-87 และยเูรเนียม-238 ตารางธรณ ี กาล ตารางธรณีกาล (องักฤษ: geologic time scale หรอื geological time scale ยอ่วา่ GTS) เป็นการแสดงเวลาโดยอา้งอิงจากบนัทกึทางธรณีวิทยาของโลก เป็นระบบของการหาอายตุามลาํดบัเวลาท่ีใชก้ารลาํดบัชนั้หินตามอายกุาล(กระบวนการหาความสมัพนัธร์ะหวา่งชนั้หินกบัเวลา) และธรณีกาลวิทยา (แขนงในธรณีวิทยาท่ีมีจดุมงุ่หมายในการกาํหนดอายหุิน) ซง่ึถกูใชเ้ป็นหลกัโดยนกัวิทยาศาสตร์ โลก (ไดแ้ก่นกัธรณีวิทยา นกับรรพชีวินวิทยา นกัธรณีฟิสิกส์นกัธรณีเคมีและ นกัภมูิอากาศบรรพกาลวิทยา) เพ่ืออธิบายการวดัเวลาและความสมัพนัธข์องเหตกุารณ์ 10


ในทางธรณีประวตัิโดยมาตราธรณีกาลไดถ้กูพฒันาผา่นการศกึษาชนั้หินและการ สงัเกตและความสมัพนัธข์องชนั้หินกบัการระบคุณุสมบตัิเช่น วิทยาหิน สมบตัิทาง แมเ่หลก็บรรพกาล และ ซากดกึดาํบรรพ์คาํจาํกดัความของหน่วยมาตรฐานสากลของธรณีกาลอยภู่ายใตค้วามรบัผิดชอบของคณะกรรมาธิการการลาํดบัชนั้หินสากล(ICS)ซง่ึเป็นองคก์รประกอบของสหพนัธว์ิทยาศาสตรธ์รณีวิทยาสากล (IUGS) อนัมีวตัถปุระสงคห์ลกั[1] เพ่ือกาํหนดหน่วยลาํดบัชนั้หินตามอายกุาลโลกในแผนภมูิการ ลาํดบัชนั้หินตามอายกุาลสากล (ICC) ท่ีถกูนาํมาใชใ้นการแบง่มาตราธรณีกาลสว่นการแบง่ยอ่ยลาํดบัชนั้หินตามอายกุาลจะถกูใชเ้พ่ือกาํหนดหน่วยทางธรณีกาลวิทยา11


อ ้ างองิ https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5 https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34161 http://118.174.134.188/sciencelab/senior/item04/Lab11/page1.php หนงัส ื อโลกดาราศาตร์ม.4 12


Click to View FlipBook Version