The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา
และแรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นแรงงานกัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน ในประเด็นผลกระทบต่าง ๆ โดยข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและได้ถูกมาวิเคราะห์โดยวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า แรงงานข้ามชาติมีอายุตั้งแต่ 25-48 ปี ศาสนาอิสลาม 5 คน ศาสนาพุทธ 15 คน อาชีพต่อเนื่องประมง 10 คน อาชีพพนักงานโรงงาน 8 คน และอาชีพลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 18 คน โสด 2 คน และอายุการทำงานมีตั้งแต่
1-11 ปี โดยการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 พบว่ามี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การปรับตัวทางด้านกฎหมาย พบว่า มีการให้แรงงานทำเอกสารการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติบางจำพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 และห้ามเดินทางออกนอกประเทศไทยเนื่องจากมีการปิดด่าน
2) การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจพบว่า แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นหนี้นายจ้างเพื่อทำเอกสารการอนุญาตในการอยู่ต่อประเทศไทย เช่น วีซ่า พาสปอร์ต ซึ่งงานที่ได้น้อยลงทำให้ส่งเงินให้ที่บ้านได้น้อยลงด้วย รายได้สำหรับแรงงานที่รับเหมาเป็นกิโลน้อยลง OT น้อยลงแต่ภาระมีเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องดูแลทั้งตัวเองและครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19
3) การปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า วิถีปฏิบัติแบบนิวนอมอล เช่น การบังคับใช้หน้ากาก และเจลล้างมือ กลายเป็นภาระทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าการระบาดในรอบแรกจะได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง แต่การระบาดระลอกใหม่ยังไม่มีการช่วยเหลือ สำหรับประเด็น 4) การปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า แรงงานส่วนใหญ่รับข่าวสารจากโทรศัพท์ผ่าน Facebook และดูแลตัวเองตามมาตรการต่าง ๆ แรงงานที่เข้าไปรักษาหรือว่าไปตรวจในช่วงที่โควิด-19 ส่วนใหญ่จะใช้บัตรประกันสังคมในการรักษาพยาบาล แต่ถ้าหากซื้อยาที่ร้านยาจะต้องใช้เงินตัวเองในการซื้อยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by alisa.h, 2021-05-14 08:11:10

รายงานวิจัยเรื่อง การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลา ในช่วงสถานการณ์โควิด-19

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา
และแรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นแรงงานกัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน ในประเด็นผลกระทบต่าง ๆ โดยข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและได้ถูกมาวิเคราะห์โดยวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า แรงงานข้ามชาติมีอายุตั้งแต่ 25-48 ปี ศาสนาอิสลาม 5 คน ศาสนาพุทธ 15 คน อาชีพต่อเนื่องประมง 10 คน อาชีพพนักงานโรงงาน 8 คน และอาชีพลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 18 คน โสด 2 คน และอายุการทำงานมีตั้งแต่
1-11 ปี โดยการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 พบว่ามี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การปรับตัวทางด้านกฎหมาย พบว่า มีการให้แรงงานทำเอกสารการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติบางจำพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 และห้ามเดินทางออกนอกประเทศไทยเนื่องจากมีการปิดด่าน
2) การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจพบว่า แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นหนี้นายจ้างเพื่อทำเอกสารการอนุญาตในการอยู่ต่อประเทศไทย เช่น วีซ่า พาสปอร์ต ซึ่งงานที่ได้น้อยลงทำให้ส่งเงินให้ที่บ้านได้น้อยลงด้วย รายได้สำหรับแรงงานที่รับเหมาเป็นกิโลน้อยลง OT น้อยลงแต่ภาระมีเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องดูแลทั้งตัวเองและครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19
3) การปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า วิถีปฏิบัติแบบนิวนอมอล เช่น การบังคับใช้หน้ากาก และเจลล้างมือ กลายเป็นภาระทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าการระบาดในรอบแรกจะได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง แต่การระบาดระลอกใหม่ยังไม่มีการช่วยเหลือ สำหรับประเด็น 4) การปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า แรงงานส่วนใหญ่รับข่าวสารจากโทรศัพท์ผ่าน Facebook และดูแลตัวเองตามมาตรการต่าง ๆ แรงงานที่เข้าไปรักษาหรือว่าไปตรวจในช่วงที่โควิด-19 ส่วนใหญ่จะใช้บัตรประกันสังคมในการรักษาพยาบาล แต่ถ้าหากซื้อยาที่ร้านยาจะต้องใช้เงินตัวเองในการซื้อยา

Keywords: การปรับตัว, แรงงานข้ามชาติ, จังหวัดสงขลา, โควิด-19

รายงานวจิ ยั เรอื ง

การปรบั ตัวของแรงงานขา้ มชาติ

จงั หวดั สงขลา ในชว่ งสถานการณโ์ ควดิ -19

สารปี ะ อุเซง็
อลิสา หะสาเมาะ

สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตตานี

พฤษภาคม 2564

รายงานวจิ ัยเร่ือง การปรับตัวของแรงงานขามชาติ จังหวัดสงขลา ในชว งสถานการณโควิด-19
เขียนโดย: สารปี ะ อุเซ็ง และอลสิ า หะสาเมาะ
พมิ พคร้ังที่ 1: พฤษภาคม พ.ศ. 2564
เลขมาตรฐานสากลประจําหนงั สอื ISBN:

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ
สารปี ะ อเุ ซง็ และอลสิ า หะสาเมาะ. (2564). การปรบั ตวั ของแรงงานขามชาติ จงั หวดั
สงขลา ในชวงสถานการณโควดิ -19. ปต ตานี: สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม คณะมนษุ ยศาสตร
และสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วิทยาเขตปต ตาน.ี
77 หนา
1. การปรับตวั 2. แรงงานขามชาติ 3. จงั หวดั สงขลา 4. โควดิ -19

จัดพิมพโ ดย
ฝา ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู สาํ นักวทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร
181 ถนนเจริญประดษิ ฐ ตําบลรสู มแิ ล อําเภอเมือง จังหวดั ปตตานี 94000
โทรศัพท 0-7333-5165, 0-7331-3928-50 ตอ 1450 โทรสาร 0-7334-8627
อเี มล [email protected]

รายงานวิจัยเรื่อง
การปรบั ตวั ของแรงงานข้ามชาติ จงั หวัดสงขลา ในช่วงสถานการณ์โควดิ -19

สารีปะ อเุ ซ็ง
อลสิ า หะสาเมาะ

สาขาวิชาพัฒนาสงั คม คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี
2564



บทคัดยอ่

การศึกษาวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา
และแรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่
เป็นแรงงานกัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน ในประเด็นผลกระทบต่าง ๆ
โดยขอ้ มูลทเ่ี ก็บรวบรวมมาเปน็ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพและได้ถกู มาวเิ คราะห์โดยวิเคราะหเ์ น้ือหา

ผลการวิจัย พบว่า แรงงานข้ามชาติมีอายุตั้งแต่ 25-48 ปี ศาสนาอิสลาม 5 คน
ศาสนาพุทธ 15 คน อาชีพต่อเนื่องประมง 10 คน อาชีพพนักงานโรงงาน 8 คน และอาชีพ
ลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 18 คน โสด 2 คน และอายุการทางานมีตั้งแต่
1-11 ปี โดยการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 พบว่ามี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) การ
ปรับตัวทางด้านกฎหมาย พบว่า มีการให้แรงงานทาเอกสารการอนญุ าตให้แรงงานข้ามชาติ
บางจาพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา-19 และห้ามเดินทางออกนอกประเทศไทยเน่ืองจากมีการปิดด่าน
2) การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจพบว่า แรงงานข้ามชาติจะต้องเป็นหนี้นายจ้างเพื่อทา
เอกสารการอนุญาตในการอยู่ต่อประเทศไทย เชน่ วีซา่ พาสปอรต์ ซึง่ งานทไี่ ด้น้อยลงทาให้
ส่งเงินให้ที่บ้านได้น้อยลงด้วย รายได้สาหรับแรงงานที่รับเหมาเป็นกิโลน้อยลง OT น้อยลง
แต่ภาระมีเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องดูแลท้ังตัวเองและครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด -19
3) การปรับตัวทางด้านสังคม พบว่า วิถีปฏิบัติแบบนิวนอมอล เช่น การบังคับใช้หน้ากาก
และเจลล้างมือ กลายเป็นภาระทาให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึน ถึงแม้ว่าการระบาดในรอบแรกจะ
ได้รับความช่วยเหลือจากนายจ้าง แต่การระบาดระลอกใหม่ยังไม่มีการช่วยเหลือ สาหรับ
ประเด็น 4) การปรับตัวทางด้านสาธารณสุข พบว่า แรงงานส่วนใหญ่รับข่าวสารจาก
โทรศพั ท์ผา่ น Facebook และดแู ลตวั เองตามมาตรการตา่ ง ๆ แรงงานท่เี ขา้ ไปรักษาหรอื ว่า
ไปตรวจในช่วงทโ่ี ควิด-19 สว่ นใหญจ่ ะใช้บัตรประกนั สังคมในการรกั ษาพยาบาล แต่ถ้าหาก
ซื้อยาทร่ี ้านยาจะตอ้ งใช้เงินตวั เองในการซ้ือยา

คาสาคญั : การปรับตวั , แรงงานข้ามชาติ, จังหวัดสงขลา, โควดิ -19



กิตติกรรมประกาศ

รายงานวิจัยฉบับน้ีจัดทาในช่วงปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ ศูนย์อภิบาลผู้เดินทาง
ทะเลสงขลา ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.
2563 ถึงวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2564 ข้าพเจ้าได้รับความรแู้ ละประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีมีค่า
มากมาย จากความร่วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่าย ได้แก่ นางสาวนาตยา เพชรัตน์
ตาแหน่ง ผู้จัดการศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา นางสาวรพีพรรณ พิทักสุวรรณศาล
ตาแหน่ง ผู้จัดการโครงการด้านสิทธิแรงงาน/กฎหมาย นายอุสมาน ล่าเส๊าะ ตาแหน่ง
เจ้าหน้าท่ีภาคสนาม นางสาวโซเฟีย มิหีม ตาแหน่ง เจ้าหน้าท่ีภาคสนาม นายโบรา เห้ียง
ตาแหน่ง ผู้ประสานงานด้านภาษากัมพูชา นายทิน โทนบ่าว ตาแหน่ง ผู้ประสานงานด้าน
ภาษา เมียนมาร์

ยังมีบุคคลท่านอ่ืน ๆ ท่ีไม่ได้กล่าวนามทุกท่านท่ีได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการ
จดั ทารายงานวจิ ัยชิ้นนี้ ขา้ พเจ้าและคณะ ใคร่ขอบพระคุณทุกท่านทมี่ ีส่วนเก่ียวข้อง ในการ
ให้ข้อมูล เป็นที่ปรึกษาในการทารายงานวิจัยฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์ ข้าพเจ้าและคณะ
ขอขอบคณุ ไว้ ณ ที่น้ี

สารปี ะ อเุ ซ็ง
อลสิ า หะสาเมาะ
19 มนี าคม 2564



สารบญั หน้า

บทคดั ย่อ ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบญั ภาพ 1
ที่มาและความสาคัญ 3
คาถามในการวิจัย 3
วัตถปุ ระสงค์ 3
ขอบเขตของการวจิ ยั 3
4
ขอบเขตดา้ นพ้ืนที่ 4
ขอบเขตดา้ นผูใ้ ห้ข้อมลู 4
ขอบเขตดา้ นเนื้อหา 5
ขอบเขตดา้ นเวลา 6
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 6
ทฤษฎีท่ใี ชใ้ นการศึกษาปฏบิ ัติงาน 7
บรบิ ททา่ เทียบเรือประมงสงขลา 7
แนวความคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกับการปรบั ตัวของแรงงานขา้ มชาติ 8
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Sister Calista Roy's Adaptation Theory) 8
พระราชบญั ญัติการทางานของคนตา่ งดา้ ว พ.ศ. 2551 10
แนวคิดในการจัดการแก้ปัญหาโควดิ -19 ของไทยระยะต่อไป 11
แนวความคิดเรื่องสวสั ดิการแรงงาน 20
พระราชบญั ญัติคุม้ ครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
งานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง



วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั 23
เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั 23
วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ 23
การพิทักษส์ ิทธิกล่มุ ตัวอย่าง 24
การวิเคราะห์ข้อมูล 24
26
ผลการวิจยั 26
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป 28
ส่วนท่ี 2 แบบสมั ภาษณ์เกยี่ วกับการปรบั ตวั ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด-19
สามารถแบง่ ประเด็นออกเปน็ 4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นการปรบั ตวั 68
ทางดา้ นกฎหมาย ประเด็นการปรบั ตัวทางด้านเศรษฐกจิ 71
ประเดน็ การปรบั ตวั ทางดา้ นสังคม ประเด็นการปรบั ตัวทางดา้ นสาธารณสุข 71
71
อภิปรายผล 72
ข้อเสนอแนะ 75

ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้
ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งตอ่ ไป
เอกสารอ้างอิง
บุคลานกุ รม

สารบัญตาราง จ

ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ทั่วไปของแรงงานกัมพชู า หน้า
ตารางที่ 2 แสดงข้อมลู ทั่วไปของแรงงานเมยี นมาร์ 26
27

สารบัญภาพ ฉ

ภาพที่ 1 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานกมั พชู า หน้า
ภาพท่ี 2 ผู้ให้สมั ภาษณ์แรงงานกมั พูชา 62
ภาพที่ 3 ผู้ใหส้ มั ภาษณ์แรงงานกัมพูชา 62
ภาพท่ี 4 ผู้ใหส้ ัมภาษณ์แรงงานกัมพูชา 62
ภาพที่ 5 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานกมั พชู า 62
ภาพท่ี 6 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานกัมพชู า 63
ภาพที่ 7 ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานกัมพชู า 63
ภาพท่ี 8 ผู้ใหส้ ัมภาษณ์แรงงานกัมพชู า 63
ภาพท่ี 9 ผใู้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานกัมพูชา 64
ภาพท่ี 10 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานกัมพูชา 64
ภาพท่ี 11 ผู้ให้สัมภาษณ์แรงงานเมียนมาร์ 64
ภาพท่ี 12 ผใู้ หส้ ัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ 65
ภาพที่ 13 ผใู้ ห้สัมภาษณแ์ รงงานเมียนมาร์ 65
ภาพที่ 14 ผใู้ หส้ มั ภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ 65
ภาพที่ 15 ผใู้ ห้สัมภาษณแ์ รงงานเมยี นมาร์ 66
ภาพที่ 16 ผู้ให้สัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ 66
ภาพท่ี 17 ผู้ใหส้ ัมภาษณแ์ รงงานเมียนมาร์ 66
ภาพท่ี 18 ผใู้ ห้สัมภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ 66
ภาพที่ 19 ผู้ให้สัมภาษณแ์ รงงานเมยี นมาร์ 67
ภาพท่ี 20 ผู้ให้สมั ภาษณ์แรงงานเมยี นมาร์ 67
67

1

ทมี่ าและความสาคญั

แรงงานข้ามชาติมีความจาเป็นและสาคัญย่ิงต่อภาคประมงและอุตสาหกรรม
ต่อเน่ืองในจังหวัดสงขลา ซ่ึงมีล้งและอุตสาหกรรมในการทาอาหารทะเลแช่แข็ง แรงงาน
ขา้ มชาตมิ คี วามสาคัญต่ออุตสาหกรรมดังกลา่ ว เน่อื งจากคนไทยไม่นิยมทางานในลักษณะนี้
จึงมีความจาเป็นท่ีต้องพ่ึงพาแรงงานข้ามชาติโดยเฉพาะแรงงานจากประเทศเพ่ือนบ้านใน
ประเทศกมั พชู าและพม่า

อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการประมงท่ีใช้แรงงานพม่าเป็นส่วนใหญ่จะอยู่ทาง
จังหวัดสมุทรสาครหรือจังหวัดระนอง ส่วนแรงงานจากประเทศกัมพูชาจะเดินทางมา
ทางานโดยทางเรือ โดยทาหน้าท่ีแกะกุ้งที่สกปรก ด้วยค่าครองชีพที่มีราคาถูกและอยู่ไกล
บา้ นเกิดเมืองนอน แรงงานเหลา่ นี้จะตอ้ งกนิ อย่หู ลับนอนในเรือประมง เน่ืองจากรายได้ท่ีต่า
คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ลาบาก ระบบอุตสาหกรรมประมงจึงต้องใช้แรงงานจาก
ต่างด้าวซึ่งส่วนใหญ่ผิดกฎหมาย ส่วนจะหาแรงงานไทยมาทางานในลักษณะเช่นนี้ก็ไม่มี
(วลั ภา ทบั สวุ รรณ, 2559)

การเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ ได้ส่งผลให้รัฐไทยเกิดความห่วงใยต่อสุขภาพของ
พวกเขา เพราะแม้จะมีความพยายามที่จะประกัน และคุ้มครองสุขภาพให้กับแรงงานข้าม
ชาติ แต่แรงงานข้ามชาติก็ยังคงมีความเส่ียงและเผชิญกับปัญหาจากการทางานและการ
ดารงชีวิตในประเทศ อีกท้ังยังขาดการเข้าถึงความเป็นปลายทาง อีกท้ังยังขาดการเข้าถึง
ความเป็นธรรมในการระบบบริการด้านสุขภาพ อาทิ แม้รัฐไทยจะมีนโยบายปรับสถานะ
แรงงานข้ามชาติทาให้มีแรงงานเข้าสู่ระบบจานวนมาก แต่กลับพบว่ากว่าคร่ึงหน่ึงของ
แรงงานข้ามชาติยังเข้าไม่ถึงสิทธิสวัสดิการด้านสุขภาพ ท้ังระบบประกันสังคม และ
หลักประกันสุขภาพ ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติจานวนมากต้องเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพ
ปญั หาคุณภาพชีวติ ทง้ั ๆ ท่ีเปน็ สิทธทิ ่ีพวกเขาเหลา่ นัน้ ควรท่ีจะไดร้ ับตามหลกั สิทธิมนุษยชน
ทีท่ ่ัวโลกถอื ปฏบิ ตั ิ

นอกจากน้ียังไม่นับรวมแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย ซ่ึงมีข้อ
ถกเถียงว่าการดูแลสุขภาพให้กับแรงงานข้ามชาติกลุ่มน้ีถือเป็นความสูญเสียด้าน

2

งบประมาณหรือไม่ รวมถึงความห่วงกังวลในเร่ืองการแพร่กระจายโรคท่ีติดตัวมากับ
แรงงานขา้ มชาติ และโรคอุบัติใหม่ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา-19 ย่ิงทาให้ความกังวลดังกล่าวรุนแรงมากยิ่งขึ้น (ทรงชัย ทองปาน, 2563)
อธิบดีกรมการจัดหางาน สั่งการให้เจ้าหน้าท่ีของกรมการจดั หางานช้แี จงทาความเข้าใจกับ
นายจ้าง ผู้ประกอบการต่าง ๆ ท่ีมีความจาเป็นต้องนาเข้าแรงงานข้ามชาติเข้ามาทางาน
หลังพบอาจเป็นช่องทางให้ขบวนการนายหน้าและโบรกเกอร์เดือนอ้างกับนายจ้าง/
ผู้ประกอบการ ว่าสามารถนาคนต่างด้าวเข้ามาทางานในประเทศได้ในช่วงสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคโควิด -19 (กรมการจัดหางาน, 2563) ซ่ึงมีมาตรการการเข้าประเทศ
ของคนต่างดา้ วท่เี คร่งครัดและยงั มีการปิดจุดผ่านแดนเขา้ ออกประเทศท้ังหมดโดยเรยี กเก็บ
เงินค่าใช้จ่ายเกินจริง ส่ิงที่เป็นปัญหาคือมีขบวนการนายหน้าเถื่อนอ้างกับนายจ้างหรือ
ผู้ประกอบการว่าสามารถนาคนต่างด้าวเข้ามาทางานในประเทศได้โดยเรียกเก็บเงิน
ค่าใช้จ่ายในอัตราสูง ซ่ึงเกี่ยวกับเร่ืองน้ีกรมการจัดหางานขอแจ้งว่าผู้ที่จะดาเนินการนาเข้า
แรงงานได้นั้นมี 2 กลุ่มคือ 1) นายจ้างดาเนินการด้วยตนเองและ 2) มอบอานาจให้บริษัท
นาคนต่างด้าวมาทางานกับนายจ้างในประเทศ (บริษัท นาเข้า) ซึ่งจะต้องได้รับใบอนุญาต
จากกรมการจัดหางานอย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นผู้ดาเนินการให้โดย ณ วันที่ 16
กรกฎาคม 2563 มีผรู้ บั อนุญาตใหน้ าคนตา่ งดา้ วเขา้ มาทางานกับนายจา้ งในประเทศจานวน
245 แห่งทั่วประเทศเป็นผู้รับอนุญาตในกรุงเทพฯ 73 แห่งและส่วนภูมิภ าค
172 แห่งซึ่งข้อมูลรายช่ือบริษัทจะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอสามารถดูรายละเอียด
ค่าธรรมเนียม / ค่าใช้จ่ายรวมทั้งรายช่ือบริษัทนาเข้าแรงงานข้ามชาติที่ได้รับอนุญาตจาก
กรมการจัดหางาน (กรมการจัดหางาน, 2563) บริเวณท่าเทียบเรือประมงใหม่สงขลา
นับเป็นอีกพื้นที่ท่ีมีความหลากหลายทั้งชาตทิ ่ีมีท้ังคนไทย กมั พูชา เมยี นมาร์ ศาสนาอิสลาม
ศาสนาพทุ ธ อาชีพประมง โรงงานอตุ สาหกรรม ตอ่ เนือ่ งประมง ฯลฯ แตส่ ามารถอยู่รวมกัน
ได้ แต่เน่ืองจากวิกฤตโควดิ -19 ทาให้ส่งผลตอ่ การทางาน รายไดน้ อ้ ยลง

ดังนั้นจากการศึกษาดังกล่าวทางผู้วิจัยเลือกที่จะศึกษาการปรับตัวของแรงงาน
กมั พชู า และแรงงานเมยี นมาร์ทเ่ี ขา้ มาทางานในบรเิ วณท่าเทยี บเรือประมงใหม่สงขลา ชุมชน
โคกไร่ และชุมชน กโู บร์ เพ่ือท่ีสะท้อนถงึ ผลกระทบในช่วงโควดิ -19 ของแรงงาน การดแู ลการ

3

ป้องกัน ทั้งตัวเอง ครอบครัว คนรอบข้าง ที่ไม่สามารถใช้ชีวิตได้ปกติ ส่งผลต่อการทางาน
และความเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะเกดิ ข้ึนในชว่ งสถานการณ์โควดิ -19

คาถามในการวิจัย

สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้แรงงานกัมพูชา และแรงงานเมียนมาร์ ในจังหวัด
สงขลามกี ารปรบั ตวั อย่างไร

วตั ถุประสงค์

เพ่ือศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา และแรงงานเมียนมาร์ในช่วง
สถานการณ์โควิด-19 ในประเด็นด้านกฎหมาย ประเด็นด้านเศรษฐกิจ ประเด็นด้านสังคม
และประเด็นด้านสาธารณสขุ ในจงั หวดั สงขลา

ขอบเขตของการวิจยั

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลาในช่วง
สถานการณโ์ ควิด-19 ครั้งน้ผี ู้วิจยั ได้มกี ารกาหนดขอบเขตของการวจิ ัย ดังน้ี

ขอบเขตด้านพืน้ ท่ี
การศึกษาวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยได้ทาการศึกษา เร่ือง การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ

จังหวัดสงขลาในช่วงสถานการณ์โควิด-19 กรณีศึกษา ท่าเทียบเรือประมงใหม่สงขลา
อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ชุมชนโคกไร่ หมู่ท่ี 8 ตาบลพะวง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา
และชุมชนกูโบร์ ตาบล บ่อยาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เน่ืองจากทั้งสามสถานที่มีท้ัง
กลุ่มแรงงานท่ีเป็นท้ังแรงงานกัมพูชาและแรงงานเมียนมาร์ ซึ่งมีความหลายหลากทาง
เช้ือชาติ ศาสนา แต่สามารถอาศัยอยู่ด้วยกันโดยไม่มีปัญหา และบริเวณท่าเทียบเรือไม่
เพียงแค่มีอาชีพประมง และต่อเน่ืองประมงเท่านั้น แต่บริเวณใกล้เคียงยังเป็นโรงงาน

4

อุตสาหกรรม ท่ีพนักงานส่วนใหญ่แล้วจะเป็นกลุ่มแรงงานที่เข้ามาทางาน การร่วมมือกัน
ระหวา่ งหน่วยงานกบั แรงงาน จัดเปน็ ความสัมพันธ์ทดี่ ี ในการดแู ลชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั

ขอบเขตดา้ นผูใ้ หข้ ้อมลู
ประชากรในการศกึ ษาคร้ังน้ีแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ไดแ้ ก่ 1) แรงงานกัมพูชา 10 คน

และ 2) แรงงานเมียนมาร์ 10 คน เนื่องจากแรงงานกัมพูชาจะอาศัยบริเวณท่าเทียบ
เรือประมงใหม่สงขลา และแรงงานเมียนมาร์ จะอาศัยบริเวณท่าเทียบเรือประมงใหม่
สงขลา ชุมชนโคกไร่ หมู่ท่ี 8 ตาบลพะวง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา และชุมชนกูโบร์
ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ซึ่งสามารถท่ีจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับตัวของ
กลุ่มแรงงานที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 เม่ือเดือนมีนาคม 2563 และระลอกใหม่
ท่เี กดิ ขึ้นเดือนธันวาคม 2563 ทผี่ า่ นมาท่ีสง่ ผลตอ่ การใชช้ ีวติ ในปัจจุบัน

ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลาในช่วงสถานการณ์โควิด-19 โดย

การศกึ ษาในครง้ั น้ีเปน็ การศึกษาแรงงานกัมพชู าและแรงงานเมยี นมาร์ในชว่ งสถานการณ์โค
วดิ -19 บรเิ วณทา่ เทยี บเรือประมงใหมส่ งขลา ชมุ ชนโคกไร่ และชมุ ชนกโู บร์ ภายใตป้ ระเด็น
การปรับตัวทางด้านกฎหมาย ประเด็นการปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นการปรับตัว
ทางดา้ นสังคม และประเดน็ การปรับตวั ทางด้านสาธารณสุข

ขอบเขตด้านเวลา
เริ่มตง้ั แต่เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ถงึ เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2564

5

นิยามศัพท์เฉพาะ

การปรับตัว หมายถึง ผลของความพยายามของบุคคลท่ีพยายามปรบั สภาพปัญหา
ท่ีเกิดขึ้นแก่ตนไม่ว่าปัญหานั้นจะเป็นปัญหาด้านกฎหมาย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม หรือ
ด้านสาธารณสุขให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่บุคคลนั้นอยู่ ในท่ีนี้การปรับตัวหมายถึง
กลุ่มแรงงานข้ามชาติ เช่น กัมพูชา พม่า ที่เดินทางเข้ามาทางานในจังหวัดสงขลา ต้อง
ปรับตัวกับการได้รับ ไม่ได้รับสวัสดิการทางสังคมจากประเทศนายจ้าง หมายถึง ประเทศ
ไทยตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั หลกั สิทธมิ นุษยชน

แรงงานข้ามชาติ หมายถึง บุคคลซ่ึงไม่มีสัญชาติไทย แต่ได้เดินทางมาทางานใน
แผ่นดินประเทศไทยโดยได้ใช้กาลังกาย ความรู้ ความสามารถ เพ่ือประสงค์ผลตอบแทน
เป็นค่าจ้างหรือประโยชน์อ่ืนใด ในอดีตแรงงานข้ามชาติจะเข้ามาในลักษณะแรงงานทาส
หรือเชลยจากประเทศผู้แพ้สงครามซึ่งจะถูกกวาดต้อนเข้ามาทางานให้กับประเทศผู้ชนะ
สงคราม

ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) หมายถึง เป็นไวรัสในวงศ์ใหญ่ที่เป็นสาเหตุของโรคท้ังใน
สัตว์และคน ในคนน้ัน ไวรัสโคโรนาหลายสายพันธ์ุทาให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจตั้งแต่
โรคหวัดธรรมดาจนถึงโรคท่ีมีอาการรุนแรง เช่น โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง
(MERS) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันร้ายแรง (SARS) ไวรัสโคโรนาที่ค้นพบ
ล่าสุดทาใหเ้ กิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19

6

ทฤษฎีทีใ่ ช้ในการศกึ ษาปฏบิ ตั ิงาน

บริบทท่าเทยี บเรือประมงสงขลา
ความเป็นมา
องค์การสะพานปลามอบหมายให้ท่าเทียบเรือประมงสงขลาดูแลรับผิดชอบท่า

เทียบเรือประมง 2 แหง่ คือทา่ เทยี บเรอื ประมงสงขลาเดิม และทา่ เทยี บเรือประมงใหม่ (ทา่
สะอ้าน)

ท่าเทียบเรือประมงสงขลาเดิม ต้ังอยู่ท่ี ถนนวิเชียรชม อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา
เป็นที่ดินราชพัสดุ เนื้อที่รวม 3 ไร่ 3 งาน 43 ตารางวา ได้เปิดดาเนินการเมื่อวันท่ี 8
มกราคม 2509 เพ่ือให้บริการการขนถ่ายและจาหน่ายสัตว์น้าของจังหวัดสงขลาและ
ใกล้เคียง ต่อมาได้ยกเลิกการให้บริการดังกล่าวตั้งแต่ปีพ.ศ. 2534 เนื่องจากเทศบาลเมือง
สงขลาได้ออกเทศบัญญัติห้ามขนถ่ายสัตว์น้าผ่านเมือง ปัจจุบันได้ดาเนินการให้บริการเป็น
สถานที่จอดพกั เรือ และจาหนา่ ยนา้ มัน น้าแข็งใหก้ บั เรอื ประมง

ท่าเทียบเรือประมงสงขลาใหม่ (ท่าสะอ้าน) ต้ังอยู่ริมทะเลสาบสงขลา บริเวณท่า
สะอ้าน ถนนท่าเทียบเรือ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นท่าเทียบเรือท่ี
เทศบาลเมืองสงขลาได้ก่อสร้างตามโครงการพัฒนาเมืองหลัก ซึ่งรัฐบาลไทยได้กู้ยมื เงินจาก
ธนาคารโลกมาดาเนนิ การ เพื่อให้เป็นทา่ เทยี บเรือประมงขนส่งและจาหนา่ ยสัตวน์ ้าแทนท่า
เทียบเรือประมงเดิม มีเน้ือท่ีรวม 22 ไร่ 3 งาน 1.75 ตารางวา องค์การสะพานปลาได้เช่า
ท่าเทียบเรือดังกล่าวจากเทศบาลเป็นเวลา 30 ปี โดยเข้าไปบริหารงานต้ังแต่วันท่ี
1 กรกฎาคม 2540 (สานักงานทา่ เรอื ประมงสงขลา, ม.ป.ป.)

7

แนวความคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกบั การปรบั ตวั ของแรงงานขา้ มชาติ
การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาในประเทศไทยที่สามารถปรับตัวเข้ากับ

ตนเอง สังคม ที่มีสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างจากท่ีเดิมที่ตัวเองอยู่ ซ่ึงกลุ่มแรงงานจะต้องมี
การปรับตัวเพ่ือให้มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีตัวเองอยู่ให้กับ
สงั คมได้

ทฤษฎกี ารปรับตัวของรอย (Sister Calista Roy's Adaptation Theory)
รอย (รอย, 2542 อ้างถึงใน รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์ และคณะ, 2563) ได้ให้

ความหมายของมนุษย์ว่า เป็นบุคคลเดียว ครอบครัว กลุ่ม องค์กร และชุมชน เป็นระบบ
การปรับตัวแบบองค์รวม (Holistic adaptation System) ระบบของมนุษย์เป็นท้ังหมดใน
หน่ึงเดียว แสดงถึงพฤติกรรมทมี่ ีความหมายของมนษุ ย์ มคี วามสามารถในการคิด มีสติ และ
มีความหมายของการปรับตัว ซึ่งจะมีการพิจารณาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อท่ีจะทาการ
เปลี่ยนแปลงคนและส่ิงแวดล้อม โดยจะมีรูปแบบและมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมท้ัง
ภายในและภายนอก ระบบการปรับตวั ของบคุ คลเป็นระบบภายในมีการเปล่ียนแปลงอย่าง
ไม่หยุดน่ิง มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดสอมทั้งภายในและภายนอกตลอดเวลา ซึ่ง รอย (2527)
มองวา่ บคุ คลประกอบดว้ ยกาย จิต และสงั คม (Biopsychosocial being) มคี วามเป็นองค์
รวม ไมส่ ามารถแยกจากกนั ได้เพื่อความปกติสุขหรือภาวะสุขภาพที่ดนี อกจากนยี้ งั ข้นึ อยู่กับ
ระดับการปรับตัว (Adaptation level) ซึ่งเป็นปัจจัยนาเข้าสู่ระบบการปรับตัวของบุคคล
อกี ตัวอยา่ งหน่ึงด้วย

สรุปได้ว่าการปรับตัว หมายถึง การที่บุคคลสามารถปรับตัวให้เข้ากับตนเอง
สังคม และโลกภายนอกได้ โดยเป็นความพยายามในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ
ตนเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ สภาพแวดล้อมจากสถานที่ทางาน รวมถึง
ความต้องการของตนเอง และเป็นภาวะที่สาคัญที่มนุษย์ทุกคนจะต้องเผชิญ รับรู้ ที่มีต่อ
การปรับตัวท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจ

8

พระราชบญั ญัตกิ ารทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551
ปัจจุบันประเทศไทยกาลังขาดแคลนแรงงาน สาหรับแรงงานคนต่างด้าวก็เป็นอีก

ทางเลือกหน่ึงในการแก้ปัญหา การท่ีแรงงานคนต่างด้าวจะสามารถเดินทางมายังประเทศ
ไทย เพ่ือทางานได้นั้นแรงงานคนต่างด้าวจะต้องมีการขอรับใบอนุญาตทางาน ได้แก่ ต้องมี
ถ่ินฐานท่ีอยู่ในเขตราชอาณาจักรหรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว อย่างไรก็ตามหากได้รับอนุญาตเข้าเมืองในฐานะนักท่องเที่ยวหรือผู้เดินทาง
ก็ไม่สามารถขออนุญาตได้ นอกจากนี้ยังจะต้องปฏิบัติตามมาตรการทางกฎหมายที่ควบคุม
การทางานของแรงงานคนต่างด้าว เช่น พระราชบัญญัติการทางานของคนต่างด้าว
พ.ศ. 2551 โดยมเี นื้อหาสาระดงั น้ี

มาตรา 5 พระราชบัญญัติการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 แห่ง
ราชอาณาจักรไทยได้ให้คานิยามคนต่างด้าวว่า หมายถึง บุคคลท่ีไม่มีสัญชาติไทย บุคคลที่
ปฏิบัติหน้าท่ีตามข้อตกลงท่ีทาไว้กับรัฐบาลไทยหรือองค์การระหว่างประเทศ และบุคคลที่
ปฏิบัติหน้าท่ีเพ่ือประโยชน์ทางด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศิลปะการกีฬาตามท่ีกาหนดใน
พระราชกฤษฎีกาน้ันย่อมหมายถึง แรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้หมายรวมถึงบุคคลเหล่านี้ และ
หากคนต่างด้าวต้องการเข้ามาทางานในประเทศไทย (พระราชบัญญัติการทางานของคน
ต่างด้าว, 2551 อ้างถงึ ใน รุ่งอรณุ กระแสรส์ ินธุ์ และคณะ, 2563)

แนวคิดในการจดั การแก้ปญั หาโควิด-19 ของไทยระยะต่อไป
บญั ชา เกดิ มณี และคณะ (2563) กล่าวถึงแนวคดิ ในการจัดการแก้ปัญหาโควิด-19

ของประเทศไทยที่สาคัญหลายประการ ประเด็นสาคัญคือ ประเทศไทยประสบความสาเรจ็
ในการควบคุมการระบาดของโควิด-19 ในช่วงต้นซ่ึงเกิดจากความสามารถของระบบ
สาธารณสุขไทยและการให้ความร่วมมือของประชาชนส่วนใหญ่ แต่ความสาเร็จน้ียังไม่
สมบูรณ์จาเป็นต้องบริหารจัดการในหลายประเด็น ได้แก่ การแพทย์ สังคม ธุรกิจ ธุรกิจ
สุขภาพ ธรุ กิจอุตสาหกรรม โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี

ประเด็นทางการแพทย์ การรักษาพยาบาลและการควบคุมการแพร่ระบาดที่ผ่าน
มาทาได้ดีมากอยู่แล้ว แต่ควรประเมินต้นทุนการดาเนินการและหาวิธีลดต้นทุนลง ควรหา

9

กลยุทธ์ท่ีทาให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ที่ปลอดภัยอย่างกว้างขวาง และด้วยต้นทุนที่ต่าที่สุด ควร
ส่งเสริมการศึกษาและวิจัยการผลิตวัคซีนและยารักษาโรคที่เก่ียวข้อง ซ่ึงอาจทาโดย
นักวิจัยไทยเองหรือทาร่วมกับนักวิจัยต่างชาติควรสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมอ่ืนที่
สนับสนนุ การทางานของระบบสุขภาพทุกด้าน ในสภาพท่ีการระบาดเกดิ การติดเช้ือจากคน
ในประเทศไม่มีหรือมีน้อยมาก การระวังจึงควรทากับผ้ทู ่ีมาจากต่างประเทศโดยเฉพาะจาก
แหลง่ ท่ีกาลังมีการระบาด

ประเด็นทางสังคม ควรศึกษาปัญหาที่เก่ียวข้องทุกประเด็น สร้างระบบข้อมูล
ขนาดใหญ่ระดับประเทศ/ภูมิภาคเพื่อการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาอนาคตอันใกล้ และ
ปัญหาระยะยาว กาหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาสังคมท่ีจะทาให้ประชาชนที่ด้อยโอกาส
สามารถช่วยตัวเองได้อย่างย่ังยืนในทุกสถานการณ์ รวมถึงเพื่อการเตรียมการรับการ
เปลี่ยนแปลงท่คี าดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคตหลงั การระบาดยุติลง (New normal) ทั้งในสังคม
โลก ภูมภิ าค และไทย

ประเด็นทางธุรกิจ เน่ืองจากโครงสร้างทางธุรกิจจะเปล่ียนไป ภาครัฐควรวางกล
ยุทธ์และโครงสร้างทางธรุ กิจให้เอกชนสามารถแข่งขันได้ในระบบธรุ กิจ Online และระบบ
อื่น ๆ ให้เหมาะกับสภาพสังคมท่ีจะเปล่ียนไป ภาคการเงินการธนาคารจะต้องปรับตัวให้
สอดคลอ้ งกับระบบธรุ กจิ ยคุ ใหม่ ควรมกี ารพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ท่มี ีประสทิ ธิภาพสูง

ประเด็นทางธุรกิจสุขภาพ จากความสามารถในการควบคุมการระบาดและการ
รักษาของไวรัสโควิด-19 ที่มีการเสียชีวิตของผู้ป่วยท่ีต่ามากคร้ังนี้ จึงเป็นโอกาสในการทา
ธุรกิจรับผู้ป่วยหรือผสู้ งสัยวา่ จะป่วยโรคโควดิ -19 รัฐควรสนับสนนุ ให้สถานพยาบาลเอกชน
ที่มีความพร้อมทาธุรกิจนี้ซ่ึงอาจใช้สถานพยาบาลในประเทศหรือต่างประเทศ นอกจากนี้
ภาครัฐควรสนับสนุนให้ภาคธรุ กิจอตุ สาหกรรมผลติ สินค้าสุขภาพ ยา อปุ กรณ์และเครื่องมือ
แพทย์เพือ่ ลดการนาเข้าและส่งออก

ประเด็นทางธุรกิจอุตสาหกรรม ประเทศไทยมีวัตถุดิบท่ีเป็นทรัพยากรธรรมชาติ
และการเกษตรท่ีมีคุณภาพสูงและปริมาณเพียงพอท่ีจะส่งออกได้ มีระบบอุตสาหกรรมการ
ผลิตและบริการที่เข้มแข็งในหลายประเภทอุตสาหกรรม มีแรงงานท่ีมีฝีมือและความ
ชานาญสูง และมีระบบสาธารณูปโภคท่ีสามารถสนับสนุนอุตสาหกรรมและชุมชนได้ดี

10

ภาครัฐจึงควรสนับสนุนภาคเอกชนให้มีความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติได้
เพมิ่ ข้ึน เชน่ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ใหเ้ อกชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยมีข้อจากัด
ใหน้ ้อยท่ีสดุ

ในภาพรวม องค์กรภาครัฐที่รับผิดชอบด้านนโยบายของประเทศควรกาหนด
สถานการณ์ในอนาคต (Scenario) ที่เหมาะสม และสร้างแบบจาลองทีม่ ีตัวแปรสาคัญมาก
พอท่ีจะสามารถทานายสถานการณ์โดยใช้พลวัตระบบท่ีคลอบคลุมการจัดการกับการ
ระบาดของโรคทเี่ กิดขน้ึ ในปัจจุบนั และอนาคตและผลกระทบกับระบบสังคมและเศรษฐกิจ
ด้วยแนวทางการจัดการท่ีดี ควรยึดสายกลางและใช้จินตนาการบนพื้นฐานที่เป็นจริงเป็น
ฐานในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของการแก้ปัญหาในภาพรวม และใช้กระบวนการบริหาร
โครงการอย่างเหมาะสม

แนวความคดิ เร่อื งสวสั ดกิ ารแรงงาน
ความหมายของ สวสั ดกิ ารแรงงาน
กระทรวงแรงงาน ได้ให้ความหมาย “สวัสดิการแรงงาน” หมายถึง บริการหรือ

กิจกรรมท่ีนายจ้างองค์กรนายจ้างหรือองค์กรลูกจ้างหรือภาครัฐจัดให้แก่ลกู จ้างและอาจให้
ถึงสมาชิกในครอบครัวของลูกจ้าง ซ่ึงจะช่วยทาให้ลูกจ้างสมาชิกในครอบครัวของลูกจ้างมี
ความอยดู่ กี ินดมี ากข้นึ ตัวอย่างสวัสดกิ าร เชน่ โบนัส หอพัก อาหาร รถรับสง่ เงนิ กูย้ ืม กีฬา
การท่องเที่ยว เป็นต้น ท้ังน้ีแยกเป็นสวัสดิการแรงงานตามกฎหมาย ได้แก่ น้าด่ืมระหว่าง
ทางาน ห้องน้า ห้องส้วมระหว่างทางาน ปัจจัยปฐมพยาบาลระหว่างทางาน ห้องพยาบาล
แพทย์พาหนะนาส่งโรงพยาบาลแสงสว่าง ช่องระบายอากาศการใช้อุปกรณ์ความปลอดภยั
การประกันสังคม เป็นต้น และสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกาหนดเป็น
สวัสดิการท่ีนายจ้างสมัครใจจัดให้หรือเกิดจากการเจรจาต่อรองกับลูกจ้าง เช่น โบนัส
รถรับส่ง ชุดทางาน เป็นต้น (กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม, 2544 อ้างถึงใน Phra
Pachhen Avudhdhammo (Suy), 2560)

สวัสดิการแรงงานในประเทศอุตสาหกรรมนับว่าจาเป็นมาก เพราะเกี่ยวกับความ
เป็นอยู่การทางานการได้รับความสะดวกสบายต่าง ๆ มีส่วนช่วยให้คนรักงานเกิดความ

11

สนใจพึงพอใจในการทางานของตนในสมัยก่อนที่จะมาเป็นสังคมอุตสาหกรรม คนในสังคม
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในสังคมเกษตรโดยอยู่ในไร่ในนาในชุมชนของตนความรับผิดชอบในเรื่อง
สวัสดิการบุคคล เป็นเรื่องของครอบครัวญาติมิตรและเพ่ือนบ้าน ต่อมาเมื่อการ
อุตสาหกรรมเจริญเตบิ โตขึ้นสังคมเกษตรค่อย ๆ เปลี่ยนโฉมหน้าเป็นสังคมอุตสาหกรรมทา
ให้คนในสังคมต้องเปลี่ยนตามไปด้วยจากสภาพความเป็นอยู่ท่ีเคยเป็นอิสระแก่ตนเองใน
การทางานเกษตรเม่ือเข้าสู่วงการอุตสาหกรรมที่มีระเบียบวินัยในการทางานทาให้ลูกจ้าง
ใหม่เกิดความอึดอัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงงานอุตสาหกรรมที่มิได้มีสิ่งอานวยความ
สะดวก เป็นแรงจงู ใจด้วยแล้วก็ยากทจี่ ะให้ลูกจ้างทางานด้วยความจงรักภักดีและทางานได้
นานดังนั้นเม่ือมีโอกาสลูกจ้างก็มักจะเปลี่ยนงานไปสู่โรงงานท่ีคิดว่าดีกว่าทั้งในด้านค่าจ้าง
และสวัสดิการ หรือเม่ือไม่มีทางเลือกลูกจ้างก็จะทางานเก็บเงินอยู่สักระยะหน่ึงเม่ือถึง
ฤดูกาลเก็บเกี่ยวก็จะพากันกลับสู่ท้องไร่ท้องนาตามเดิม เป็นผลให้เกิดการเข้าออกงานอยู่
ในระดับท่ีสูงโดยเฉพาะในโรงงานท่ีไม่มีการจัดสวัสดิการใด ๆ ให้แก่ลูกจ้างซึ่งมักมีปัญหา
การฝกึ ลูกจา้ งให้มีการประสบอันตราย เน่อื งจากลูกจ้างขาดความชานาญการขาดความเอา
ใจใส่ดูแลด้านความปลอดภัยหรือด้านสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง อาจก่อให้เกิดความ
สูญเสียกาลังคนและเสียเศรษฐกิจเงินตราของประเทศเป็นจานวนมาก ดังน้ันจะเห็นได้ว่า
นายจ้างควรคานึงถึงความจาเป็นที่จะต้องจัดสวัสดิการแรงงานให้ลูกจ้างได้รู้สึกมั่นใจและ
พอใจในการทางานมากขึ้นเพราะการทางานด้วยความสบายใจพึงพอใจผลงานที่ได้ย่อมทม่ี ี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มู ล เ ห ตุ จู ง ใ จ ข อ ง น า ย จ้ า ง ท่ี จ ะ ต้ อ ง จั ด ส วั ส ดิ ก า ร แ ร ง ง า น ใ ห้ แ ก่ ลู ก จ้ า ง
(วรรณรตั น์ ศรสี ุกใส, 2559)

พระราชบัญญตั ิคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูรให้ไว้ ณ วันท่ี 4

เมษายน พ.ศ. 2562 เป็นปีที่ 4 ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง
กรณบดินทรเทพยวรางกรู มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศว่า

โดยท่เี ป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมกฎหมายว่าด้วยการคมุ้ ครองแรงงาน

12

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสทิ ธิและเสรีภาพของ
บุคคลซงึ่ มาตรา 26 ประกอบกบั มาตรา 40 ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย บญั ญัติ
ใหก้ ระทาไดโ้ ดยอาศยั อานาจตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมาย

เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร จ า กั ด สิ ท ธิ แ ล ะ เ ส รี ภ า พ ข อ ง บุ ค ค ล ต า ม
พระราชบัญญัตินี้เพื่อยกระดับการคุ้มครองลูกจ้างให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน อันจะทาให้ลูกจ้างซ่ึงเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมีความ
มั่นคงในการทางานและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและจะเป็นประโยชน์แก่ความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าท่ี
รฐั สภา ดงั ต่อไปน้ี

มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7)
พ.ศ. 2562”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแตว่ นั ประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป

มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2551 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนี้แทน

“มาตรา 9 ในกรณีที่นายจ้างไม่คืนหลกั ประกันท่ีเป็นเงินตามมาตรา 10 วรรคสอง
ไม่จ่ายเงินกรณีนายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างโดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้าตามมาตรา 17/1
หรือไม่จ่ายค่าจ้างค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินที่
นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ภายในเวลาท่ีกาหนดตามมาตรา 70 หรือไม่
จ่ายเงินกรณีนายจ้างหยุดกิจการตามมาตรา 75 หรือค่าชดเชยตามมาตรา 118 ค่าชดเชย
พิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษตามมาตรา 120 มาตรา 120/1
มาตรา 121 และมาตรา 122 ให้นายจ้างเสียดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้างในระหว่างเวลาผิดนัด
ร้อยละสิบหา้ ต่อป”ี

13

มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และให้ใชค้ วามต่อไปนีแ้ ทน

“มาตรา 13 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง หรือในกรณีท่ีนายจ้างเป็น
นิติบุคคลและมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคคลใด หากมีผลทาให้
ลูกจ้างคนหนึ่งคนใดไปเป็นลูกจ้างของนายจ้างใหม่ การไปเป็นลูกจ้างของนายจ้างใหม่
ดังกล่าวต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างคนนั้นด้วย และให้สิทธิต่าง ๆ ที่ลูกจ้างมีอยู่ต่อ
นายจ้างเดิมคงมีสิทธิต่อไป โดยนายจ้างใหม่ต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าท่ีอันเกี่ยวกับลูกจา้ ง
นั้นทุกประการ”

มาตรา 5 ให้เพ่ิมความต่อไปนี้เป็นมาตรา 17/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงานมาตรา พ.ศ. 2541

“มาตรา 17/1 ในกรณีที่นายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างโดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้าให้
ลูกจ้างทราบตามมาตรา 17 วรรคสอง ให้นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างเป็นจานวนเท่ากับ
ค่าจ้างทล่ี ูกจ้างควรจะไดร้ ับนับแต่วนั ที่ให้ลูกจ้างออกจากงานจนถึงวนั ที่การเลิกสญั ญาจ้างมี
ผลตามมาตรา 17 วรรคสองโดยใหจ้ า่ ยในวนั ทใ่ี ห้ลกู จ้างออกจากงาน”

มาตรา 6 ให้ยกเลิกความในมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และให้ใชค้ วามต่อไปนี้แทน

“มาตรา 34 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจาเป็นได้ปีละไม่น้อยกว่าสามวัน
ทางาน”

มาตรา 7 ให้ยกเลิกความในมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน

“มาตรา 41 ให้ลูกจ้างซ่ึงเป็นหญงิ มีครรภ์มีสทิ ธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกิน
เก้าสิบแปดวันวันลาเพ่ือคลอดบุตรตามมาตรานี้ให้หมายความรวมถึงวันลาเพื่อตรวจครรภ์
ก่อนคลอดบตุ รดว้ ยวนั ลาตามวรรคหนึ่งใหน้ บั รวมวันหยุดท่มี ีในระหว่างวนั ลาด้วย”

มาตรา 8 ให้ยกเลิกความในมาตรา 53 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน

14

“มาตรา 53 ให้นายจ้างกาหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุดและค่า
ล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างที่ทางานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรือ
งานท่ีมคี ่าเทา่ เทยี มกนั ในอัตราเท่ากนั ไม่ว่าลกู จา้ งน้ันจะเปน็ ชายหรอื หญงิ ”

มาตรา 9 ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 57/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงานมาตรา พ.ศ. 2541

“มาตรา 57/1 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวันลาเพื่อกิจธุระอันจาเป็น
ตามมาตรา 34 เท่ากบั คา่ จา้ งในวันทางานตลอดระยะเวลาทล่ี า แตป่ หี นึ่งตอ้ งไม่เกินสามวัน
ทางาน”

มาตรา 10 ให้ยกเลิกความในมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน

“มาตรา 59 ให้นายจ้างจ่ายค่าจา้ งให้แก่ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงในวนั ลาเพื่อคลอดบุตร
ตามมาตรา 41 เทา่ กับคา่ จ้างในวันทางานตลอดระยะเวลาทีล่ า แต่ไม่เกินสี่สบิ ห้าวนั ”

มาตรา 11 ให้ยกเลิกความในมาตรา 70 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน

“มาตรา 70 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าล่วงเวลา
ในวันหยุดและเงินท่ีนายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัติน้ีให้ถูกต้องและตาม
กาหนดเวลา ดังต่อไปนี้

(1) ในกรณีท่ีมีการคานวณค่าจ้างเป็นรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเป็น
ระยะเวลาอย่างอ่ืนที่ไม่เกินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย ให้จ่ายเดือน
หนง่ึ ไมน่ อ้ ยกว่าหน่ึงคร้งั เวน้ แต่จะมีการตกลงกนั เปน็ อยา่ งอ่นื ที่เปน็ ประโยชนแ์ ก่ลกู จา้ ง

(2) ในกรณีที่มีการคานวณค่าจ้าง นอกจาก (1) ให้จ่ายตามกาหนดเวลาท่ีนายจ้าง
และลูกจา้ งตกลงกัน

(3) ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินท่ีนายจ้างมี
หนา้ ทต่ี ้องจา่ ยตามพระราชบญั ญตั นิ ้ใี ห้จ่ายเดือนหนง่ึ ไมน่ ้อยกว่าหนึ่งคร้ัง

15

ในกรณีท่ีนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินท่ีนายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่
ลกู จ้างมสี ิทธิได้รบั ใหแ้ ก่ลกู จา้ งภายในสามวันนับแต่วันท่เี ลิกจา้ ง”

มาตรา 12 ให้ยกเลิกความในวรรคหน่ึงของมาตรา 75 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2551 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน

“มาตรา 75 ในกรณีที่นายจา้ งมีความจาเปน็ ต้องหยุดกิจการท้ังหมด หรือบางสว่ น
เป็นการช่ัวคราวด้วยเหตุหน่ึงเหตุใดท่ีสาคัญอันมีผลกระทบต่อการประกอบกิจการของ
นายจ้าง จนทาให้นายจ้างไม่สามารถประกอบกิจการได้ตามปกติซ่ึงมิใช่เหตุสุดวิสัย
ให้นายจา้ งจ่ายเงนิ ใหแ้ กล่ ูกจ้างไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละเจด็ สิบห้าของคา่ จ้างในวันทางานทล่ี ูกจ้าง
ได้รับก่อนนายจ้างหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่นายจ้างไม่ได้ให้ลูกจ้างทางาน ณ สถานท่ี
จ่ายเงินตามมาตรา 55 และภายในกาหนดเวลาการจ่ายเงินตามมาตรา 70 (1)”

มาตรา 13 ให้ยกเลิกความใน (5) ของมาตรา 93 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2551 และใหใ้ ช้ความต่อไปนี้แทน

“(5) ออกคาสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือ
คา่ ชดเชยพิเศษตามมาตรา 120/1”

มาตรา 14 ให้ยกเลิกความใน (5) ของมาตรา 118 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 และให้ใช้ความตอ่ ไปนีแ้ ทน

“(5) ลูกจ้างซ่ึงทางานติดต่อกันครบสิบปี แต่ไม่ครบยี่สิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่า
ค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามร้อยวันสุดท้าย
สาหรบั ลูกจา้ งซงึ่ ไดร้ บั ค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย”

มาตรา 15 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (6) ของของมาตรา 118 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

16

“(6) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบย่ีสิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา
สุดท้ายส่ีร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานส่ีร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่ง
ไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย”

มาตรา 16 ให้ยกเลิกความในมาตรา 120 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551
และให้ใช้ความตอ่ ไปน้แี ทน

“มาตรา 120 นายจ้างซึ่งประสงค์จะย้ายสถานประกอบกิจการแห่งหนึ่งแห่งใดไป
ต้ัง ณ สถานท่ีใหม่หรือย้ายไปยังสถานที่อ่ืนของนายจ้าง ให้นายจ้างปิดประกาศแจ้งให้
ลูกจ้างทราบล่วงหน้า โดยให้ปิดประกาศไว้ในทเี่ ปิดเผย ณ สถานประกอบกิจการน้นั ตงั้ อยู่ท่ี
ลูกจ้างสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน ติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันย้าย
สถานประกอบกิจการ และประกาศน้ันอย่างน้อยต้องมีข้อความชัดเจนเพียงพอท่ีจะเข้าใจ
ไดว้ า่ ลูกจ้างคนใดจะตอ้ งถูกยา้ ยไปสถานทใ่ี ดและเม่ือใด้

ในกรณีท่ีนายจ้างไม่ปิดประกาศใหล้ ูกจ้างทราบล่วงหนา้ ตามวรรคหนึ่ง ให้นายจา้ ง
จ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ลูกจ้างท่ีไม่ประสงค์จะไปทางาน ณ
สถานประกอบกจิ การแห่งใหม่เท่ากับค่าจา้ งอัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรอื เทา่ กบั คา่ จา้ งของ
การทางานสามสบิ วนั สดุ ท้ายสาหรบั ลูกจา้ งซง่ึ ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็นหนว่ ย

หากลูกจ้างคนใดเห็นว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมีผลกระทบสาคัญ
ต่อการดารงชวี ิตตามปกติของลูกจา้ งหรือครอบครัวของลูกจา้ งคนนั้น และไม่ประสงค์จะไป
ทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเป็นหนังสือภายใน
สามสิบวันนับแต่วันท่ีปิดประกาศ หรือนับแต่วันท่ีย้ายสถานประกอบกิจการในกรณีท่ี
นายจ้างมิได้ปิดประกาศตามวรรคหนง่ึ และให้ถือว่าสัญญาจ้างส้นิ สดุ ลงในวันท่ีนายจ้างย้าย
สถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าอัตราค่าชดเชยท่ี
ลกู จา้ งพึงมีสทิ ธิไดร้ บั ตามมาตรา 118

ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามวรรคสอง หรือ
คา่ ชดเชยพิเศษตามวรรคสามให้แก่ลูกจา้ งภายในเจ็ดวันนบั แตว่ นั ท่สี ญั ญาจ้างสน้ิ สุด

17

ในกรณีท่ีนายจ้างไม่เห็นด้วยกับเหตุผลของลูกจา้ งตามวรรคสาม ให้นายจ้างยื่นคา
รอ้ งตอ่ คณะกรรมการสวสั ดกิ ารแรงงานภายในสามสิบวันนับแตว่ ันท่ีไดร้ บั แจ้งเป็นหนงั สือ”

มาตรา 17 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา 120/1 และมาตรา 120/2 แห่ง
พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

“มาตรา 120/1 เมื่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาคาร้องตามมาตรา
120 วรรคห้าแล้วเห็นว่าลูกจา้ งมีสทิ ธไิ ด้รับค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้าหรอื
ค่าชดเชยพิเศษให้คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเซยพิเศษแทน
การบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษแล้ว แต่กรณี ให้แก่ลูกจ้างภายในสามสิบวันนับ
แตว่ นั ท่ีนายจ้างทราบคาสง่ั

ในกรณีที่คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาแล้ว เห็นว่าลูกจ้างไม่มีสิทธิ
ได้รับค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษ แล้วแต่กรณี ให้
คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานแจ้งคาส่ังให้นายจา้ งและลูกจ้างทราบ

ในการพิจารณาและมีคาสั่งของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานให้ดาเนินการให้
แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับคาร้อง และแจ้งคาสั่งให้นายจ้างและลูกจ้าง
ทราบภายในสบิ ห้าวันนับแตว่ ันทมี่ คี าสัง่

คาส่ังของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานให้เป็นท่ีสุด เว้นแต่นายจ้างหรือลูกจ้าง
จะอุทธรณ์คาสั่งต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ทราบคาสั่ง ในกรณีที่นายจ้างเป็น
ฝ่ายนาคดีไปสู่ศาล นายจ้างต้องวางหลักประกันต่อศาลตามจานวนท่ีต้องจ่ายตามคาสง่ั น้ัน
จงึ จะฟอ้ งคดีได้

การส่งคาสงั่ ของคณะกรรมการสวัสดกิ ารแรงงานใหน้ ามาตรา 143 มาใช้บังคับโดย
อนุโลม

มาตรา 120/2 ในกรณีท่ีนายจ้างได้อุทธรณ์คาสั่งของคณะกรรมการสวัสดิการ
แรงงานต่อศาลภายในระยะเวลาที่กาหนดตามมาตรา 120/1 วรรคสี่ และได้ปฏิบัติตามคา
พพิ ากษาหรอื คาส่งั ของศาลแล้ว การดาเนินคดีอาญาตอ่ นายจ้างให้เปน็ อันระงบั ไป”

18

มาตรา 18 ให้ยกเลิกความในมาตรา 124/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551
และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน

“มาตรา 124/1 ในกรณีที่นายจ้างได้ปฏิบัติตามคาส่ังของพนักงานตรวจแรงงาน
ตามมาตรา 124 ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด การดาเนินคดีอาญาต่อนายจ้างให้เป็นอันระงับ
ไป”

มาตรา 19 ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 125/1 ของหมวด 12 การยื่นคาร้อง
และการพจิ ารณาคาร้องแห่งพระราชบัญญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

“มาตรา 125/1 ในกรณที ่นี ายจ้างไดน้ าคดีไปสู่ศาลภายในระยะเวลาท่ีกาหนดตาม
มาตรา 125 และได้ปฏิบัติตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลแล้วการดาเนินคดีอาญาต่อ
นายจ้างใหเ้ ป็นอันระงับไป”

มาตรา 20 ให้ยกเลิกความใน (1) ของมาตรา 144 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6)
พ.ศ. 2560 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน

“(1) มาตรา 10 มาตรา 17/1 มาตรา 23 วรรคสอง มาตรา 24 มาตรา 25 มาตรา
26 มาตรา 37 มาตรา 38 มาตรา 39 มาตรา 39/1 มาตรา 40 มาตรา 42 มาตรา 43
มาตรา 46 มาตรา 47 มาตรา 48 มาตรา 51 มาตรา 57/1 มาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา
63 มาตรา 64 มาตรา 67 มาตรา 70 มาตรา 71 มาตรา 72 มาตรา 76 มาตรา 90 วรรค
หน่ึงมาตรา 118 วรรคหนึง่ หรือมาตรา 118/1 วรรคสอง”

มาตรา 21 ให้ยกเลิกความใน (2) ของมาตรา 144 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“(2) มาตรา 120 มาตรา 120/1 มาตรา 121 หรือมาตรา 122 ในส่วนที่เก่ียวกับ
การไมจ่ ่ายคา่ ชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วลว่ งหน้าหรอื ค่าชดเชยพเิ ศษ”

มาตรา 22 ให้ยกเลิกความในมาตรา 145 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน

19

“มาตรา 145 นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 23 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม ต้อง
ระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้าพันบาท”

มาตรา 23 ให้ยกเลิกความในมาตรา 146 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2553
และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้ีแทน

“มาตรา 146 นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 15 มาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา
29 มาตรา 30 วรรคหน่ึง มาตรา 45 มาตรา 53 มาตรา 54 มาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา
58 มาตรา 59 มาตรา 65 มาตรา 66 มาตรา 73 มาตรา 74 มาตรา 75 วรรคหน่ึง มาตรา
77 มาตรา 99 มาตรา 108 มาตรา 111 มาตรา 112 มาตรา 113 มาตรา 114 มาตรา 115
มาตรา 117 หรือไม่บอกกล่าวล่วงหน้า ตามมาตรา 121 วรรคหน่ึง หรือมาตรา 139 (2)
หรือ (3) ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินสองหมืน่ บาท”

มาตรา 24 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา 151 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี
4) พ.ศ. 2553 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน

“ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของพนักงานตรวจแรงงานท่ีส่ังตามมาตรา 124 ต้อง
ระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหนงึ่ ปี หรอื ปรับไมเ่ กินสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาท้ังปรับ”

มาตรา 25 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 1551/1 แหง่ พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551
และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนีแ้ ทน

“มาตรา 155/1 นายจ้างผู้ใดไม่ยืนหรือไม่แจ้งแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพ
การทางานตามมาตรา 115/1 ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินสองหม่นื บาท”

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องจาก
พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ใชบ้ งั คับมาเปน็ เวลานาน ทาใหบ้ ทบัญญตั ิบาง
ประการไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันและไม่เอ้ือประโยชน์ต่อการดาเนินการเพ่ือให้
ความคุ้มครองลูกจ้าง สมควรแก้ไขเพิ่มเติมโดยกาหนดให้การเปล่ียนแปลงตัวนายจ้างต้อง
ได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง กาหนดให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพ่ือกิจธุระอันจาเป็นหน่ึงไม่น้อย

20

กว่าสามวันทางาน กาหนดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์สามารถลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อน
คลอดบุตรได้โดยให้ถือเป็นวันลาเพื่อคลอดบุตร เพิ่มอัตราค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งทางาน
ติดต่อกันครบยี่สิบปีข้ึนไป กาหนดให้การย้ายสถานประกอบกิจการ ให้รวมท้ังการย้าย
สถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานท่ีใหม่ หรือสถานท่ีอื่นของนายจ้าง และแก้ไขให้
นายจ้างกาหนดคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทางานในวนั หยุด และค่าลว่ งเวลาในวนั หยุดในอัตรา
เท่ากันท้ังลูกจ้างชายและหญิงในงานที่มีค่าเท่าเทียมกันเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ (พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี 7). (2562
เมษายน 5). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ 136 ตอนท่ี 43 ก)

งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
เจษฎา นกน้อย และวรรณกรณ์ บริพันธ์ (2557) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการ

ทางานของแรงงานข้ามชาติท่ีทางานในสถานประกอบการจังหวัดสงขลา พบว่า กลุ่ม
ตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตการทางานด้านการได้รับค่าตอบแทนท่ีเพียงพอและยุติธรรม สภาพ
การทางานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพโอกาสในการพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง
การทางานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน สิทธิส่วนบุคคล จังหวะชีวิต และความ
เป็นประโยชน์ต่อสังคมอยู่ในระดับสูง มีเพียงคุณภาพชีวิตการทางานด้านความก้าวหน้า
และม่ันคงในงานเท่าน้ันที่อยู่ในระดับปานกลาง ท้ังน้ี ภาพรวมระดับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของแรงงานข้ามชาติอยู่ในระดับสูง และการเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการ
ทางานของแรงงานข้ามชาติจาแนกตามปัจจัยด้านการทางานการเปรียบเทียบระดับ
คุณภาพชีวิตการทางานของแรงงานข้ามชาติท่ีทางานในสถานประกอบการจังหวัดสงขลา
จาแนกตามปัจจัยดา้ นการทางาน พบว่า ระดับคุณภาพชีวิตการทางานของแรงงานตา่ งชาติ
ท่ีทางานในสถานประกอบการจังหวัดสงขลาแตกต่างกันระหว่างแรงงานท่ีได้รับใบอนุญาต
ทางานกบั แรงงานที่ไม่ได้รับใบอนุญาตทางาน โดยพบวา่ แรงงานขา้ มชาติที่ได้รับใบอนุญาต
ทางานมีระดบั คุณภาพชีวติ การทางานสงู กวา่ แรงงานข้ามชาตทิ ่ไี ม่ได้รบั ส่วนบนของฟอรม์

สนิท สัตโยภาส (2559) ศึกษาเร่ือง แรงงานงานต่างด้าวกับความม่ังคงทางสังคม
พบว่า 1. มิติด้านการมีงานทาและรายได้ ชาวไทใหญ่จะปรับตัวด้วยการยอมรับลักษณะ

21

งานและค่าแรงตามกติกาและรายได้ท่ีนายจ้างกาหนด และเพม่ิ รายไดใ้ ห้ได้เงนิ คา่ แรงต่อวัน
ให้มากข้ึนด้วยการทางานล่วงเวลากับสถานประกอบการเดิม หรือรับจ้างทาความสะอาด
บ้านหรืองานเกษตรตามบ้านคนไทยที่คุ้นเคยกัน 2. มิติด้านครอบครัว ชาวไทใหญ่ที่เข้ามา
หางานทาฝ่ังไทยท่ีเข้ามาทั้งครอบครัวจะปรับตัวน้อยในด้านน้ี แต่ถ้าข้ามมาคนเดียวอาจ
เป็นฝ่ายสามี บทบาทท่ีต้องทาคือส่งเงินไปเลี้ยงดูลูกเมียท่ีฝ่ังพม่าส่วนบทบาทด้านการ
คุ้มครองครอบครัวก็ยุติลง แต่แรงงานที่ยังโสดเม่ือเข้ามาทางานฝั่งไทยจะมีอิสระในการ
ตัดสินใจทาการต่าง ๆ เองและถ้าแต่งงานกับคนไทยสถานะด้านครอบครัวยอมปรับเข้าสู่
สังคมไทยพร้อมกับการตัดสินใจอยู่ฝ่ังไทยตลอดไป 3. มิติด้านความมั่นคง ส่วนบุคคลการ
ปรับตัวด้านนี้แรงงานชาวไทใหญ่จะกระทาโดยการแสดงความอ่อนน้อมถ่อมตนปฏิบัตติ าม
ระเบียบกฎกติกาต่าง ๆ ของหน่วยงานที่มีปฏิสัมพันธ์และชมุ ชนท่ีอาศัยร่วมกัน จึงส่งผลให้
พวกเขาได้รับการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกชุมชนและเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนก่อให้เกิด
ความรู้สึกมันคงแก่พวกเขามากข้ึน 4. มิติด้านการสนับสนุนทางสังคม การปรับตัวด้าน
สังคมของชาวไทใหญ่กระทาโดยการรวมกลุ่มชาวไทใหญ่เพ่ือช่วยเหลอื กันเองในด้านตา่ ง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการหางานทาการศึกษาเล่าเรียน การช่วยเหลอื ยามเจบ็ ป่วย การส่งข่าวสารถึง
กัน และในขณะเดียวกันก็ไม่ท้ิงที่จะสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับคนไทยในท้องถ่ินทั้งหมดนี้ย่อม
สง่ ผลดีดา้ นความมน่ั คงให้เกิดในจิตใจของท้ังแรงงานข้ามชาตแิ ละคนไทยในชุมชนนั้น ๆ

ณิษาอร พิหูสูตร ณภัคอร ปุณยภาภัสสร และภัทรี ฟรีสตัด (2562) ศึกษาเร่ือง
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติท่ีได้รับอนุญาตให้เข้ามาอยู่ใน
ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษสาหรบั สัญชาติ เมียนมาร์ ลาว และกัมพูชาในภาคตะวันออก
ของประเทศไทย พบว่า ด้านนโยบายการส่งเสริมสุขภาพ รัฐบาลมีแนวทางในการส่งเสริม
สุขภาพแรงงานข้ามชาติ ๆ เหมือนกันโดยแรงงานข้ามชาติทุกคนท่ีเข้าเมืองอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมายจะได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเหมือนกันและได้สิทธิ์ด้านประกัน
สุขภาพทุกคน ด้านปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพ ส่ิงท้าทายคือ ภาษาที่ใช้สื่อสาร
ระหว่างบุคลากรทางด้านสาธารณสุขกับแรงงานข้ามชาติ และเร่ืองความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การส่งเสริมสุขภาพของแรงงานแต่ละคนที่มีผลต่อความเช่ือและการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง
“กระทรวงมีนโยบายการส่งเสริมสุขภาพสุขภาพแรงงานข้ามชาติของ 3 สัญชาติเมียนมาร์

22

ลาว และกัมพูชา ไม่แตกต่างกันไม่มีการเลือกปฏิบัติ ด้านนโยบายของรัฐบาล เมื่อเปล่ียน
รัฐบาลนโยบายก็จะเปลี่ยนแปลงไป กระทรวงสาธารณสุขต้องมีการปรับเปล่ียนนโยบาย
ควรสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหส้ อดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล"

กันยปริณ ทองสามสี อิสระ ทองสามสี และณรรช หลักชัยกุล (2563) ศึกษาเรื่อง
ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การคุ้มครองแรงงานข้ามชาติตามสิทธิกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงิน
ทดแทน พบว่า ความรู้เรื่องสิทธิแรงงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ
(β = .263, t = 3.332) การสนับสนุนทางสังคมมีอิทธิพลเชิงลบต่อการคุ้มครองแรงงาน
ขา้ มชาติ (β = -.288, t = 5.071) และการรับรู้ความเดือดร้อนจากการทางานมีอทิ ธิพลเชิง
ลบต่อการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ (β = -.240, t = 4.797) ท้ังน้ี เม่ือพิจารณาค่า
สัมประสิทธิ์ความถูกต้องของการพยากรณ์พบว่า ความรู้เร่ืองสิทธิแรงงาน การสนับสนุน
ทางสังคม และการรับรู้ความเดือดร้อนจากการทางาน ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของ
การคุ้มครองแรงงานข้ามชาติได้ร้อยละ 23.9 (R2 = .259) แสดงว่าตัวแปรแฝงภายนอกมี
ความถกู ต้องของการพยากรณต์ ัวแปรแฝงภายในระดบั น้อย

23

วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั

การวิจัยเร่ือง “การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลาในช่วงสถานการณ์
โควิด-19” การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา และ
แรงงานเมียนมาร์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ ใช้แบบสอบถามในการสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลได้เริ่มเก็บต้ังแต่
ธันวาคม 2563 ถึง มีนาคม 2564

เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาแบ่งออกมาเป็น 3 เครื่องมือ ได้แก่ การศึกษาชุมชน

แบบสัมภาษณ์ และเครื่องมอื ดา้ นอิเลก็ ทรอนิกส์ ดงั น้ี
3.3.1 การศึกษาชุมชน ศึกษาบริบทชุมชน ศึกษาทรัพยากรภายในชุมชน ศึกษา

การปรบั ตวั ของแรงงาน
3.3.2 แบบสมั ภาษณ์ แบ่งออกเปน็ 2 ตอน ไดแ้ ก่
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เชน่ เพศ อายุ ศาสนา อาชพี

สถานภาพ อายกุ ารทางาน
ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการปรับตัวในช่วงสถานการณ์

โควิด-19 สามารถแบ่งประเด็นออกเป็น 4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นการปรับตัวทางด้าน
กฎหมาย ประเด็นการปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นการปรับตัวทางด้านสังคม
ประเดน็ การปรบั ตัวทางด้านสาธารณสขุ

3.3.3 เคร่ืองมือดา้ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ โทรศัพท์ สมดุ จดบนั ทึก

วิธกี ารรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิจัยเอกสาร เป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ

(Secondary data) โดยผู้วิจยั ได้ศึกษาคน้ ควา้ และรวบรวมข้อมูลพ้นื ฐานในการทาวจิ ัย เช่น
บทความ วารสาร หนังสือ ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือทาความเข้าใจและ

24

ให้ได้ข้อมูลท่ีเก่ียวกับงานวิจัยให้มากท่ีสุด โดยเบื้องต้นผู้วิจัยจะเลือกใช้การสัมภาษณ์ เพ่ือ
ค้นหาข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล เมื่อการสัมภาษณ์ดาเนินมาจนได้ประเด็นท่ีน่าสนใจสาหรับ
งานวิจัย ผู้วิจัยเลือกใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) เพ่ือศึกษาข้อมูลท่ี
เจาะลึกมากข้ึน ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการบันทึกการเขียนการสัมภาษณ์ และพูดคุยแบบเป็น
กันเองกบั แรงงานกัมพชู าและแรงงานเมียนมาร์ เพ่อื นามาใชป้ ระกอบใช้ในการศกึ ษา

การพทิ กั ษส์ ทิ ธกิ ล่มุ ตวั อย่าง
การทาวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยทาการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงผู้วิจัยได้ชี้แจงให้

กลุ่มเป้าหมายทราบถึงวัตถุประสงค์ของการวิจยั การปกปดิ ข้อมูลและการรักษาความลับขอ
ความร่วมมือในการเข้าร่วมวจิ ยั ดว้ ยความสมัครใจอธิบายถึงสทิ ธใิ นการถอนตวั ออกจากการ
วจิ ัยได้ทกุ เวลาและการถอนตัวนั้นไม่มีผลเสียใด ๆ หากการเขา้ รว่ มวิจยั ในคร้ังนีท้ าให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามเกิดความไมส่ บายใจรู้สึกเป็นทกุ ข์

การวิเคราะหข์ ้อมูล
ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ศึกษาการปรับตัวของแรงงานกัมพูชา และแรงงานเมียนมาร์

ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดสงขลา ผู้วิจัยได้ใช้กระบวนการวิเคราะห์ผลเชิงคุณภาพ
โดยดาเนนิ การวิเคราะห์ตา่ ง ๆ ดังน้ี

1. วิเคราะห์ข้อมูลกานศึกษาชุมชนโดยใช้เคร่ืองมือชุมชน โดยใช้เครื่องมือชุมชน
ดังน้ี 1) แผนที่ชุมชน 2) ดอกไม้ในใจฉัน 3) ใยแมงมุมปัญหา 4) การประเมินชุมชนและหา
ทางออก 5) ชุมชนในฝนั ในการศึกษาและเกบ็ ข้อมลู ชมุ ชน แลว้ นามาตรวจสอบข้อมลู อ่าน
ขอ้ มลู ที่ได้ และแยกแยะจดั หมวดหมู่ข้อมูลท่ีได้มา

2. วิเคราะห์ข้อมูลแบบสัมภาษณ์เจาะลึก การเก็บข้อมูลที่เป็นการสัมภาษณ์เชิง
ลึก โดยการสัมภาษณ์แรงงานกัมพูชา และแรงงานเมียนมาร์ ที่ทางานบริเวณท่าเทียบ
เรือประมงใหม่สงขลา ชุมชนโคกไร่ หมู่ที่ 8 ตาบลพะวง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา และ
ชุมชนกูโบร์ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยสามารถแบ่งแบบสัมภาษณ์
ออกเป็น 4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นการปรับตัวทางด้านกฎหมาย ประเด็นการปรับตัว

25

ทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นการปรับตัวทางด้านสังคม ประเด็นการปรับตัวทางด้าน
สาธารณสุข แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์เจาะลึก มาค้นหา
ความสัมพนั ธเ์ ช่ือมโยง ใหค้ าอธบิ าย/ตคี วาม และวิเคราะหส์ รปุ แก่นเน้อื หา

3. วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้มาจากทฤษฎีต่าง ๆ นาทฤษฎีและข้อมูลต่าง ๆ มา
ตรวจสอบความอิ่มตัวของข้อมูลเพื่อเติมเต็มในการปรับตัวของแรงงานกัมพูชาและแรงงาน
เมียนมารใ์ นช่วงสถานการณ์โควดิ -19

26

ผลการวจิ ัย

ผูว้ ิจยั นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เรื่อง การปรับตวั ของแรงงานข้ามชาติ จงั หวัด
สงขลาในช่วงสถานการณ์โควิด-19 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปรับตัวของแรงงาน
กมั พชู า และแรงงานเมยี นมารใ์ นชว่ งสถานการณโ์ ควดิ -19 ในจงั หวดั สงขลา ซง่ึ เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่ได้รับ
การปรับตัวของแรงงานข้ามชาติ จังหวัดสงขลาในช่วงสถานการณ์โควิด-19 โดยใช้การ
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) เพื่อศึกษาข้อมูลที่เจาะลึกมากข้ึนของกลุ่มผู้ให้
ขอ้ มูล (informant) และวเิ คราะหข์ ้อมลู จากแบบสัมภาษณ์ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลมีดงั นี้

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป
ส่วนท่ี 2 แบบสัมภาษณ์เก่ียวกับการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 แบ่ง
ออกเป็น 4 ด้านได้แก่ ประเด็นการปรับตัวทางด้านกฎหมาย ประเด็นการปรับตัวทางด้าน
เศรษฐกิจ ประเด็นการปรับตัวทางดา้ นสังคม ประเดน็ การปรบั ตัวทางด้านสาธารณสขุ

สว่ นที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป
จากการลงพื้นท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลมีผู้ให้ข้อมูลวิจัย จานวน 20 คน คือ แรงงาน

กัมพูชา 10 คน และแรงงานเมียนมาร์ 10 คน สามารถสรุปเป็นข้อมูลส่วนบุคคล (นาม
สมมติ) ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา อาชีพ สถานภาพ อายุการทางาน ดังปรากฏดัง
ตารางต่อไปนี้
ตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มูลทัว่ ไปของแรงงานกมั พชู า

ชื่อ-สกุล เพศ อายุ ศาสนา อาชพี สถานภาพ อายุการ
(ปี) ทางาน (ปี)

มาไล หญิง 40 อสิ ลาม ตอ่ เนอ่ื งประมง แต่งงาน 8
สีมะ หญงิ 37 อิสลาม ตอ่ เนื่องประมง แต่งงาน 10
มาซตี อห์ หญิง 34 อิสลาม ต่อเนอ่ื งประมง แตง่ งาน 11
วนิ วงศ์ ชาย 29 พทุ ธ ต่อเนือ่ งประมง แตง่ งาน 10

27

ชือ่ -สกุล เพศ อายุ ศาสนา อาชีพ สถานภาพ อายกุ าร
(ปี) ทางาน (ปี)

โกย เฮง ชาย 35 พุทธ ต่อเน่อื งประมง แตง่ งาน 5

ไก่ ซอและ ชาย 30 อิสลาม ตอ่ เนอ่ื งประมง แตง่ งาน 7

เตียว ไหวเยด็ หญิง 38 อสิ ลาม ตอ่ เน่ืองประมง โสด 10

สมอน งอน หญิง 25 พทุ ธ พนกั งานโรงงาน แต่งงาน 10

ตนิ สด ชาย 26 พุทธ พนักงานโรงงาน แตง่ งาน 7

เท พอม ชาย 48 พทุ ธ พนักงานโรงงาน แตง่ งาน 2

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสมั ภาษณเ์ ป็นหญงิ 5 คน ชาย 5 คน มอี ายตุ ั้งแต่

25-48 ปี นับถือศาสนาอิสลาม 5 คน ศาสนาพุทธ 5 คน อาชีพต่อเน่ืองประมง 7 คน

พนักงานโรงงาน 3 คน สถานภาพแต่งงาน 9 คน โสด 1 คน และอายุการทางานมีตั้งแต่

2-11 ปี

ตารางที่ 2 แสดงขอ้ มูลทัว่ ไปของแรงงานเมยี นมาร์

ช่อื -สกลุ เพศ อายุ (ป)ี ศาสนา อาชีพ สถานภาพ อายุการ
ทางาน (ป)ี

เล ชาย 33 พทุ ธ ตอ่ เนือ่ งประมง แต่งงาน 10

สุ หญงิ 28 พทุ ธ ต่อเนื่องประมง แต่งงาน 5

โจ้ ชาย 33 พุทธ ตอ่ เน่อื งประมง แตง่ งาน 11

กชู ิ ชาย 45 พทุ ธ พนักงานโรงงาน แต่งงาน 8

โซ หญิง 42 พุทธ พนักงานโรงงาน แต่งงาน 5

ตู ชาย 28 พทุ ธ พนักงานโรงงาน โสด 2

โม้ ชาย 32 พทุ ธ พนกั งานโรงงาน แต่งงาน 4

อา้ ว ชาย 45 พุทธ พนกั งานโรงงาน แต่งงาน 2

มีโจ้ ชาย 46 พุทธ ลูกเรือประมง แต่งงาน 1

ไทลนี ชาย 25 พุทธ ลูกเรอื ประมง แต่งงาน 1

28

จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสัมภาษณ์เป็นหญิง 2 คน ชาย 8 คน
มีอายุต้ังแต่ 25-46 ปี นับถือ ศาสนาพุทธ อาชีพต่อเนื่องประมง 3 คน พนักงานโรงงาน 5
คน ลูกเรือประมง 2 คน สถานภาพแต่งงาน 9 คน โสด 1 คน และอายุการทางานมีต้ังแต่
1-11 ปี

จากการสงั เกตสภาพความเป็นอย่ขู องแรงงานจะพกั อาศยั ในบรเิ วณทีน่ ายจา้ งได้จัดให้
โดยนายจ้างจะปล่อยเช่าให้ลูกจ้างแรงงานได้เช่าเข้าไปพัก ซึ่งในห้องหนึ่งจะขึ้นอยู่กับขนาด
ความกว้างยาวของแต่ละห้อง ถ้าขนาดเล็กสามารถอยู่ได้ไม่เกิน 2-3 คน ถ้าหากภายใน
ครอบครัวมีลูกเล็กก็จะพักอยู่กับพ่อแม่แต่เม่ือโตขึ้นจะต้องแยกเช่าห้องใหม่ ซ่ึงจะอยู่บริเวณ
เดยี วกบั ท่พี ักของพ่อแม่ แตถ่ ้าขนาดของหอ้ งกว้างหน่อยก็จะอยไู่ ดไ้ มเ่ กนิ 5-6 คน ซง่ึ ทพ่ี ักของ
แรงงานจะอยู่บริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ทางาน บางคนสามารถเดินไปทางานได้ บางคนก็ขับ
รถมอเตอร์ไซค์ไปทางาน บางคนปั่นจักรยานไป ขึ้นอยู่กับความสะดวกของแรงงานด้วย
สาหรบั แรงงานกัมพชู าทีม่ ีลกู เพอื่ ท่เี วลาไปทางานแล้วกลัวว่าลูกจะอยู่บา้ นแล้วไม่ปลอดภัย ก็
จะไปสง่ ลูกทีห่ อ้ งเรียนรู้ เพอ่ื เดก็ และครอบครัวแรงงานเพือ่ นบ้าน

ส่วนที่ 2 แบบสัมภาษณ์เก่ียวกับการปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด-19 สามารถแบ่ง
ประเด็นออกเป็น 4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นการปรับตัวทางด้านกฎหมาย ประเด็นการ
ปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นการปรับตัวทางด้านสังคม ประเด็นการปรับตัว
ทางด้านสาธารณสุข

2.1 ประเดน็ การปรับตวั ทางด้านกฎหมาย
จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านกฎหมายของกลุ่มแรงงานกัมพูชา

พบว่า การที่ศบค. ออกกม.ปิดประเทศส่งผลให้จะต้องจัดการเอกสารต่าง ๆ เพ่ือท่ีจะได้อยู่
ประเทศไทยอย่างถูกกฎหมาย แต่เน่ืองด้วยเศรษฐกิจปัจจุบัน และค่าใช้จ่ายในการต่อ
เอกสารเพิ่มข้ึน อีกท้ังปกติแรงงานที่เข้ามาทางานในประเทศมักจะกลับบ้านปีละครั้ง แต่
เนื่องจากสถานการณ์ที่ปิดประเทศทาให้ไม่สามารถกลับบ้านได้ ส่งผลกับการปรับตัวของ
แรงงาน สอดคลอ้ งกับการสัมภาษณว์ า่

29

“…ดีที่ให้ต่อเอกสาร จะได้อยู่ประเทศไทยแบบถูกกฎหมาย แล้วถ้า
สถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ไม่อยากกลับบ้าน แต่ถ้าโควิดไม่มีก็
อยากกลับบ้าน พอปิดนาน ทาให้ส่งผลต่อการใช้ชีวิต เช่น บางทีมีธุระ
จาเป็นก็ไปไหนไม่ได้ จะกลับบ้านที่กัมพูชากลับไปดูเกษตรท่ีบ้านก็ไป
ดูไม่ทัน แตบ่ างคร้งั กด็ ีเหมือนกันท่ไี ปไหนไม่ได้ เพราะจะได้ไม่เส่ียงต่อการ
ตดิ เชอ้ื …”

(มาไล (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ ้อมลู ในประเดน็ เก่ียวขอ้ งกบั การปรบั ตัวทางดา้ นกฎหมายทว่ี ่า
“…ไม่ดีที่ให้ทาเอกสาร เพราะต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น แล้วถ้าสถานการณ์
โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ยังไม่คิดที่จะกลับบ้าน แต่ถ้าไม่มีโควิดก็อยากท่ี
จะกลับบ้าน…”
(สีมะ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเด็นเก่ียวขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางดา้ นกฎหมายทีว่ า่
“…ดีที่ให้ทาเอกสาร แต่คนท่ีจาเป็น เขาไม่มีเงิน สาหรับกะแล้วจะทา
ส่วนเรอื่ งเงินถ้าเอามารวมกับของแฟนกพ็ อที่จะใช้ทาเอกสาร แตจ่ ะไม่พอ
กับที่จะเอาไปใช้ทาอย่างอ่ืน แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ ก็
ยังไมค่ ิดท่ีจะกลับบา้ น แตถ่ า้ กลับบา้ นไดก้ จ็ ะกลบั แล้วถ้ากลับบา้ นแล้วถา้
มีงานทาต่อก็จะกลับมาทางานที่ไทยต่อ แต่ถ้าไม่มีงานทาก็จะไม่กลับมา
ทา เพราะอยู่ท่ีไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายเยอะ เช่น ค่าห้อง ต้องซื้อของ
ด้วย...”
(มาซีตอห์ (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 15 มกราคม 2564)

30

สอดคล้องกับผู้ใหข้ อ้ มูลในประเด็นเก่ยี วข้องกับการปรบั ตวั ทางดา้ นกฎหมายที่ว่า
“...ดีท่ีให้ทาเอกสาร เพราะตัวเองก็จะทา แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19
ยังอยู่แบบนี้ ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน ถึงแม้ว่าโควิดจะไม่มีแล้วก็จะยัง
ไม่กลบั เพราะกลบั ไปทบ่ี า้ นกไ็ ม่มงี าน ทางานทไ่ี ทยง่ายกว่า...”
(วนิ วงศ์ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเด็นเก่ียวขอ้ งกบั การปรบั ตัวทางด้านกฎหมายท่ีว่า
“...ก็ต้องทาเอกสาร แต่พอดีบัตรท่ีจะต่อยังไม่หมดอายุเลยปีนี้ไม่ต้องทา
แลว้ ต้องทาปหี นา้ ต่อ แล้วถ้าสถานการณโ์ ควดิ -19 ยงั อยู่แบบน้ี กย็ ังไม่คิด
ท่ีจะกลับบ้าน รอให้ด่านเปิดก่อนแล้วค่อยกลับถ้ากลับบ้านก็จะอยู่บ้าน
กอ่ นเดือนสองเดือนแลว้ คอ่ ยกลับมาทางานทีไ่ ทย...”
(โกย เฮง (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 18 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ให้ขอ้ มูลในประเด็นเกยี่ วข้องกบั การปรบั ตัวทางด้านกฎหมายทว่ี ่า
“...จะทาเอกสาร ให้นายหน้าทาให้ แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่
แบบน้ี ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน แต่ถ้าด่านเปิดก็จะกลับ กลับไปอยู่บ้าน
2-3 คืน แล้วคอ่ ยกลับมาท่ีไทยใหม.่ ..”
(ไก่ ซอและ (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเด็นเกี่ยวขอ้ งกบั การปรบั ตัวทางด้านกฎหมายทว่ี า่
“...จะทาเอกสาร แต่งานไม่มีไม่รู้จะเอาเงินมาจากไหน ต้องเอาเงินท่ีเก็บ
มาทาเอกสาร แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ยังไม่คิดที่จะ
กลับบ้าน รอให้ด่านเปิดก่อนแล้วค่อยกลับ ถ้าช่วงโควิดลดลงแต่ถ้ามีงาน
ทาตอ่ ก็จะกลบั บา้ น แล้วมาทางานท่ไี ทยต่อ แต่ถา้ กลับบ้านแลว้ ท่ไี ทยไม่มี
งานให้ทากจ็ ะไม่กลบั มาท่ไี ทยแลว้ ...”
(เตียว ไหวเยด็ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

31

จากการสัมภาษณ์ มาไล, สมี ะ, มาซีตอห์, วิน วงศ์, โกย เฮง, ไก่ ซอและ และเตยี ว
ไหวเยด็ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคลอ้ งกนั อันเนอ่ื งมาจากการทางานทม่ี ีลักษณะของงาน
ทีเ่ หมือนกนั

“...ไม่ต้องทาเอกสารก็ได้ เพราะได้ทาไว้ล่วงหน้าแล้วก่อนท่ีจะมีประกาศ
จากรัฐบาล แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับ
บ้าน ถึงแม้ว่าโควิดจะไม่มีแล้ว ด่านเปิดให้กลับประเทศได้ก็ยังไม่กลับ
ยังไม่ได้วางแผนที่จะกลับไปที่บ้าน ยังอยากที่จะทางานที่ไทยต่อ แต่ใน
อนาคตกจ็ ะกลับบา้ น...”

(สมอน งอน (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผ้ใู หข้ อ้ มูลในประเด็นเก่ียวข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านกฎหมายท่วี า่
“...ไม่ต้องทาเอกสารแล้ว เพราะได้ทาล่วงหน้าก่อนหน้าน้ีแล้ว แล้วถ้า
สถานการณ์โควิด-19 ยงั อยแู่ บบนี้ กย็ งั ไม่คดิ ท่ีจะกลับบา้ น รอให้โควิดหาย
ก่อนแล้วคอ่ ยกลับไปเยยี่ มบ้าน แล้วจะกลบั มาทางานต่อท่ีไทย...”
(ตนิ สด (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผู้ให้ขอ้ มลู ในประเด็นเกีย่ วขอ้ งกบั การปรับตวั ทางด้านกฎหมายทวี่ ่า
“...ดีเหมือนกันจะได้ไปทาพาสปอร์ต เพราะพาสปอร์สใกล้หมดอายุแล้ว
แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน แต่ถ้า
ดา่ นเปิดใหก้ ลบั ก็จะกลบั รอให้ด่านเปดิ ก่อน...”
(เท พอม (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ สมอน, ตินสด และเท พอม จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้อง
กัน อันเนื่องมาจากการทางานท่ีมีลกั ษณะของงานทเี่ หมอื นกัน

32

จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านกฎหมายของกลุ่มแรงงานเมียนมาร์ พบว่า
การที่ศบค. ออกกม.ปิดประเทศส่งผลให้จะต้องจัดการเอกสารต่าง ๆ เพ่ือที่จะได้อยู่
ประเทศไทยอย่างถูกกฎหมาย แต่เนื่องด้วยเศรษฐกิจปัจจุบัน และค่าใช้จ่ายในการต่อ
เอกสารเพิ่มขึ้น อีกทั้งปกติแรงงานที่เข้ามาทางานในประเทศมักจะกลับบ้านปีละครั้ง แต่
เนื่องจากสถานการณ์ที่ปิดประเทศทาให้ไม่สามารถกลับบ้านได้ ส่งผลกับการปรับตัวของ
แรงงาน สอดคลอ้ งกบั การสัมภาษณว์ ่า

“...จะทาเอกสารจะได้อยู่ประเทศไทยแบบถูกกฎหมาย แล้วถ้า
สถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ ก็ยังไม่คิดที่จะกลับบ้าน ถึงแม้ว่า
โควิด-19 จะหายไปแล้วก็ยังไม่คิดที่จะบ้านเหมือนกัน อยากจะเก็บเงิน
ก่อนแต่ถ้าต้องกลับก็จะมาใหม่อีกรอบต้องดูสถานการณ์ไปก่อน...”

(เล (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ใหข้ อ้ มูลในประเดน็ เก่ยี วข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านกฎหมายท่วี า่
“...จะทาเอกสาร นายจ้างพาไปทา แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่
แบบนี้ ก็ยังไม่คิดที่จะกลับบ้าน ให้หายก่อนค่อยคุยกับแฟนว่าจะกลับ
บ้านไหม แต่ถ้ากลับก็จะกลับไปทาบัตรประชาชนก่อนแล้วค่อยกลับมา
ทางานท่ีไทยต่อ...”
(สุ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ หข้ ้อมูลในประเด็นเกี่ยวข้องกบั การปรับตัวทางดา้ นกฎหมายท่วี ่า
“...จะทาเอกสาร ถ้าทานายหน้าจะทาให้ ทาเอกสารให้ แต่ถ้าจะต้องไป
ติดต่อนายจ้างจะพาไป แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ก็ยังไม่
คิดท่ีจะกลับบ้าน แต่ถ้าจะกลับก็จะมาต่อ เพราะอยู่ที่ไทยมีงานทาแต่ถ้า
กลบั บ้านไมม่ ีงานทา...”
(โจ้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

33

จากการสัมภาษณ์ เล , สุ และโจ้ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อันเนอื่ งมาจากการทางานทีม่ ลี ักษณะของงานท่เี หมือนกนั

“...ให้นายจ้างต่อเอกสารให้ ตัวเองทาไม่เป็น แล้วก็ถ้าสถานการณ์
โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ยังไม่คิดจะกลับ แต่ถ้าด่านเปิดแล้วจะก็กลับบ้าน
สว่ นจะมาทางานที่ไทยต่อไหมดูก่อนวา่ ถ้ากลับไปแล้วมาได้ไหม ถา้ มาได้ก็
จะมาทางานต่อ...”

(กูชิ (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ใหข้ ้อมูลในประเด็นเกี่ยวขอ้ งกบั การปรบั ตวั ทางด้านกฎหมายท่ีวา่
“...นายจ้างจะต่อเอกสารให้ เพราะตัวเองอ่านภาษาไทยไม่ออก แล้วถ้า
สถานการณโ์ ควิด-19 ยงั อยแู่ บบน้ี ก็ยังไม่คดิ ที่จะกลบั บ้าน แต่ถ้าด่านเปิด
ก็ยังไมค่ ดิ ที่จะกลับ ตอนนก้ี าลงั เก็บเงนิ ยงั ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะกลับบ้าน...”
(โซ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ให้ขอ้ มูลในประเด็นเกีย่ วข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านกฎหมายที่วา่
“...ถ้าต้องต่อเอกสาร นายจ้างจะทาให้ แต่พ่ีเองก็ยังไม่แน่ใจว่าจะทาไหม
แล้วถ้าสถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบนี้ ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน
ถึงโควิด-19 หมดแล้วก็ยังไม่ได้คิดท่ีจะกลับบ้าน ให้เอกสารหมดอายุก่อน
แล้วค่อยกลับ แล้วถ้ากลับบ้านแล้วก็ไม่มาแล้วจะกลับไปอยู่บ้านถาวร
เพราะวา่ จากครอบครวั 5-6 ปีแล้วคดิ ถึงครอบครัว...”
(ตู (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

34

สอดคล้องกบั ผ้ใู หข้ ้อมลู ในประเดน็ เก่ียวข้องกบั การปรับตัวทางด้านกฎหมายทวี่ า่
“...เราต้องต่อเอกสารเอง ต้องไปบอกนายจ้างให้ทา แล้วถ้าสถานการณ์
โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ยังไม่คิดท่ีจะกลับบ้าน แต่ถ้ากลับบ้านก็จะกลับ
ถาวรไมม่ าแล้ว จะหางานทเี่ มยี นมารแ์ ทน...”
(โม้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผู้ใหข้ ้อมูลในประเดน็ เกยี่ วข้องกบั การปรับตวั ทางด้านกฎหมายทวี่ ่า
“...ถา้ ทาจะต้องใชเ้ งินตวั เองนายจ้างทาให้ ต้องทา 2 คน กบั แฟน แลว้ ถ้า
สถานการณ์โควิด-19 ยังอยู่แบบน้ี ก็ยังไม่คิดที่จะกลับบ้าน แต่ถ้ากลับ
บ้านได้ก็จะกลับ กลับไปอยู่บ้าน 2-3 เดือนก็จะกลับมาที่ไทยต่อ ยังไม่ได้
คิดทจ่ี ะกลบั บา้ นถาวรใหม้ ีเงนิ เกบ็ กอ่ นแลว้ ค่อยกลบั ...”
(อา้ ว (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ กูชิ, โซ, ต,ู โม้ และอ้าว จะตอบแบบสัมภาษณส์ อดคลอ้ งกัน อนั
เนอ่ื งมาจากการทางานที่มีลกั ษณะของงานท่ีเหมือนกนั

“...ต้องต่อเอกสารเอง ให้นายจ้างทาให้แต่ต้องใช้เงินตัวเอง ต้องต่อ
เอกสารบัตรวซี า่ แล้วถ้าสถานการณโ์ ควิด-19 ยังอยแู่ บบนี้ กย็ งั ไมค่ ดิ ท่ีจะ
กลบั บ้าน ถงึ โควดิ -19 หมดแลว้ กย็ ังไมไ่ ดค้ ดิ ที่จะกลบั บ้าน...”

(มีโจ้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ ห้ขอ้ มูลในประเดน็ เกยี่ วขอ้ งกับการปรบั ตวั ทางด้านกฎหมายทว่ี า่
“...ทาเอกสาร นายจา้ งจะทาให้ แลว้ ถ้าสถานการณ์โควดิ -19 ยงั อย่แู บบน้ี
ก็ยงั ไม่คิดท่ีจะกลับบา้ น ถงึ โควดิ -19 หมดแลว้ ก็ยงั ไม่ไดค้ ิดทจี่ ะกลบั บ้าน...”
(ไทลีน (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 25 มกราคม 2564)

35

จากการสัมภาษณ์ มีโจ้ และไทลีน จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกัน
อันเนอื่ งมาจากการทางานท่มี ีลักษณะของงานทีเ่ หมือนกัน

2.2 ประเด็นการปรับตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ
จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจของกลุ่มแรงงานกัมพูชา

พบว่า ช่วงสถานการณ์โควิด-19 ทาให้ค่าแรง งานที่ทา ค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ เช่น ค่าต่อเอกสาร
ค่าใช้จ่ายภายในบ้านท่ีต้องแบกรับ หรือแม้แต่การรับมือในช่วงสถานการณ์ ยังมีผลกับการ
ปรบั ตัวของแรงงาน สอดคลอ้ งกบั การสัมภาษณว์ า่

“...สามารถทางานได้ปกติ ตอนท่ีทางานก็จะอยู่ห่างกัน มีการให้ล้างมือ
ใส่หน้ากากปกติ นายจ้างก็มีการบอกให้ระวังตัว ไม่ให้ไปไหนให้อยู่บ้าน
แล้วให้เอาข้อมูลไปบอกต่อ ๆ ให้คนรอบตัว คนใกล้ชิดบอกต่อ ๆ กัน แต่
มีภาระในการซื้อหน้ากาก ซื้อสบู่เพิ่ม ซื้อของกินล่วงหน้า เก็บไว้ล่วงหน้า
แลว้ ก็การงานกม็ โี อกาสที่จะตกงาน แลว้ ถ้าตกงานแล้วก็จะไม่มีเงินชดเชย
ให้ เพราะท่ที างานก็เปน็ แบบว่า ถา้ ทางานกจ็ ะได้เงิน แต่ถา้ ไม่ทางานก็จะ
ไม่ได้เงิน ไหนจะค่าเอกสาร แต่ยังมีเงินเก็บ แต่ถ้าไม่มีเงินจะต้องขอกับ
นายจ้าง แลว้ จะทาใหเ้ ป็นหนแ้ี ต่ถา้ เรามกี ็คอ่ ยจ่ายให้นายจา้ ง...”

(มาไล (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผู้ให้ขอ้ มลู ในประเดน็ เกี่ยวขอ้ งกบั การปรบั ตวั ทางดา้ นเศรษฐกิจทวี่ า่
“...เวลามีโควิดแย่ ใช้ชีวิตไม่ปกติ ทางานลาบาก งานมีบ้างไม่มีบ้าง
วันเดียวได้ 300 บาท อาทิตย์หนึ่งทางาน 3-2 วัน ไม่พอ ต้องส่งให้ที่บ้าน
อีก ค่าเช่าห้องอีก 2,500 บาทต่อเดือน ลาบากมาก ตอนท่ีไม่มีโควิด
สามารถทางานได้ทุกวัน แต่พอมีโควิดงานไม่ค่อยเยอะ ท่ีทางานก็จะ
ทางานห่างกัน มีให้ล้างมือ ใส่หน้ากาก จะมีคนควบคุมให้เราล้างมือ
ใส่หน้ากาก ภาระก็มีต้องซ้ือกับข้าว เงินก็ไม่พอ ทาได้แค่ประหยัด แต่ถ้า
ไม่มีจริง ๆ ที่บ้านที่กัมพูชาก็จะส่งเงินกลับมาส่วนค่าเอกสารไม่มีเงินทา

36

ตอนน้ีก็ยังไม่รู้จะเอาเงินจากไหนมาทา แล้วตอนน้ีไม่แน่ใจว่านายจ้าง
จะชว่ ยไหม เพราะนายจ้างเองกล็ าบาก พี่เองกล็ าบาก...”

(สีมะ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 14 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกับผ้ใู ห้ข้อมลู ในประเด็นเกีย่ วข้องกบั การปรบั ตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ท่ีวา่
“...เม่อื กอ่ นไมม่ โี ควดิ ทางานได้ กิโล 10 บาท ช่วงท่มี ีโควดิ ไดแ้ ค่ 5-2 บาท
ต่อกิโล แล้วถ้าไม่ทาก็ต้องหางานอื่นทา เลยทาให้ต้องยอมทางานต่อ
ถึงแม้รายได้จะได้น้อยลง รอบท่ีมีโควิดรอบแรกงานเยอะ แต่รอบนี้งาน
น้อยสุด ลูกค้าก็จะประหยัดไม่ค่อยมาซื้อ เช่น เม่ือก่อนซื้อ 10 กิโล แต่
เด๋ียวน้ีซื้อแต่ 3-5 กิโล แล้วท่ีทางานก็ไม่มีเงินชดเชยให้ ไม่มีการเลิกงาน
หรือว่างงาน แต่มีงานให้ทาแต่น้องลง รายได้ก็น้อยลง แต่สามารถทางาน
ได้ทกุ วัน แตถ่ า้ ติดโควิดงานจะนอ้ ยลงหรอื อาจจะปิด...”
(มาซีตอห์ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 15 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผ้ใู หข้ ้อมูลในประเดน็ เกย่ี วข้องกบั การปรบั ตวั ทางด้านเศรษฐกจิ ทีว่ ่า
“...ยังไม่ส่งผลกระทบ สามารถทางานได้ปกติ ทางานรับเหมาทาเป็นกิโล
รายไดเ้ ลยเหมือนเดิมกับชว่ งที่ไมม่ ีโควิด ถา้ เราทางานกจ็ ะได้เงิน แตถ่ า้ ไม่
ทางานก็จะไม่ได้ ที่โรงงานมีที่ให้ล้างมือ จะทางานต้องใส่หน้ากาก
เว้นระยะห่าง พอกลับบ้านก็จะอาบน้าเลยเพื่อความปลอดภัย แต่มีภาระ
ท่ีจะต้องซ้ือของใช้เพิ่ม เช่น หน้ากาก เจลล้างมือ ของใช้ ของกินต่าง ๆ
ซ่ึงไม่พอกับท่ีนายจ้างและที่ศูนย์ได้ให้ แล้วก็ท่ีทางานก็ไม่มีเงินชดเชยให้
ส่วนค่าเอกสารที่ต้องต่อต้องเอาเงินตัวเองทายืมนายจ้างไม่ได้ ซึ่งค่าทา
เอกสารก็พอกับเงินเก็บ แล้วยังมีเงินเหลือจากการทาเอกสารไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน...”
(วิน วงศ์ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

37

สอดคลอ้ งกับผใู้ หข้ อ้ มลู ในประเดน็ เกี่ยวขอ้ งกับการปรับตัวทางดา้ นเศรษฐกจิ ทวี่ า่
“...รอบแรกยังสามารถทางานได้ปกติแต่พอระลอกใหม่มางานเร่มิ นอ้ ยลง
เรือก็ไม่ค่อยมี ด้วยที่ว่าตัวเองทางานแบบรับเหมาเป็นกิโล ปกติตอนท่ีไม่
มีโควิดจะได้ 500-400 บาทต่อวัน แต่พอมีโควิดได้แค่ 200-300 บาทต่อ
วัน เรือเองก็ไม่ค่อยได้เข้ามาฝั่ง ทาให้เงินพอ แต่จะต้องประหยัด มีแบบ
พอดีไม่เหลือให้เก็บ เงินเก็บที่มีตอนน้ีก็อยู่ได้แค่เดือนสองเดือน
ถ้ามากกว่านี้ก็ไม่มแี ล้ว...”
(โกย เฮง (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 18 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผู้ให้ข้อมลู ในประเดน็ เกี่ยวข้องกบั การปรบั ตัวทางด้านเศรษฐกจิ ที่วา่
“...งานน้อยลง อาทิตย์หน่ึงทางาน 5 วัน ปกติตอนท่ีไม่มีโควิดทางาน
ทุกวัน แล้วก็ตอนทางานรับเหมาเป็นกโิ ล ทาได้เยอะกไ็ ด้เงินเยอะแต่ถ้าได้
ช่ังกิโลแล้วได้น้อยก็ได้เงินน้อย ราคาท่ีได้ตอนชั่งกิโลก็เหมือนเดิมกับตอน
ท่ีไม่มีโควิด ไม่มีการลดน้อยลงหรือเพิ่มขึ้น แล้วก็โควิดระลอกใหม่ก็
ทางานได้ปกตเิ หมือนกบั รอบท่ีแล้วท่ีมาใหม่ ๆ ถ้าเรือเขา้ ก็ได้ถ้าเรือไม่เข้า
ก็ทางานไม่ได้ ท่ีทางานไม่มีทา OT รอเรือเข้าอย่างเดียว ถ้าเรือเข้าเอา
กลับปลามาเยอะแล้วทาเยอะชั่งกิโลได้เยอะก็ได้ แต่เดียวน้ีน้อยลง แต่ยัง
มีภาระที่ต้องซ้ือเพ่ิม เช่น ต้องซื้อหน้ากาก สบู่ล้างมือ ของใช้อีก รายได้
แบบน้ีพอใช้บ้างไม่พอบ้าง ถ้าไม่พอใช้ก็ต้องประหยัด ส่วนค่าเอกสาร
จ้างนายหน้า 10,000 บาทเฉพาะต่อวีซ่า 2 คน แพงแต่ไม่มีทางเลือก
เพราะต้องทา บางคนได้ยินมาว่าค่าใช้จ่ายเอกสารแพง บางคนก็ไม่ทาแต่
โดยส่วนตัวแลว้ จะต้องทา เพราะจาเป็น...”
(ไก่ ซอและ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

38

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ ห้ขอ้ มลู ในประเด็นเก่ียวขอ้ งกบั การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจท่ีว่า
“งานน้อยลง แต่ต้องใช้กินปกติ ทาให้ไม่พอ งานท่ีทาเป็นแบบรับเหมา
เป็นกิโล ถ้าของมาก็ทาถ้าของไม่มาก็ไม่ทา ด้วยงานท่ีน้อยลงที่มีภาระท่ี
เพ่ิมขึ้น เช่น ต้องซ้ือหน้ากาก ซ้ือสบู่ล้างมือ ทาให้ต้องประหยัด ท่ีทางาน
เองก็ไม่มีเงินชดเชยให้ แต่ว่าน่าจะไม่มีโอกาสตกงานหรือว่างงาน แต่งาน
น่าจะน้อยลง เงินที่ได้ตอนนี้ก็พอท่ีจะใช้แต่ไม่มีเงินเก็บ แล้วก็ท่ีบ้านกับที่
ทางานไม่นา่ จะมีโควิด เพราะมีการดูแลตวั เองดี...”
(เตียว ไหวเย็ด (นามสมมต)ิ , สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ มาไล, สมี ะ, มาซตี อห์, วิน วงศ์, โกย เฮง, ไก่ ซอและ และเตยี ว
ไหวเยด็ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคลอ้ งกนั อันเนือ่ งมาจากการทางานทมี่ ีลักษณะของงาน
ท่ีเหมือนกัน

“...ตอนท่ีโควิดรอบแรกมาท่ีทางานมีการพักงานพนักงาน 3 เดือน แต่มี
ประกันสังคมชดเชยให้ แล้วตัวเองก็ไม่ได้ไปหางานอื่นทาแต่อยู่ท่ีบ้านแทน
พอโควดิ ระลอกใหม่มารายได้น้อยลง งานน้อยลง พอใช้ในแตล่ ะวัน แตไ่ ม่มี
เงินเก็บมาใช้ แล้วก็ถ้าที่โรงงานจะปิดก็จะแจ้งล่วงหน้าว่าให้เก็บเงิน
พลาง ๆ เพราะไม่รู้ว่าโรงงานจะปิดเมื่อไร ถ้าปิดโรงงานก็ไม่มีเงินชดเชยให้
ภาระก็มีเพิ่มขึ้นจากเดิม เช่น ต้องซื้อหน้ากาก เจลล้างมือ น้าล้างมือ แต่มี
การเกบ็ ซือ้ ของใชไ้ วแ้ ล้วสว่ นหนึ่ง เกบ็ เผือ่ ไว้ก่อน...”

(สมอน งอน (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ ห้ข้อมลู ในประเด็นเก่ยี วขอ้ งกับการปรับตวั ทางดา้ นเศรษฐกิจทีว่ ่า
“...งานท่ีโรงงานน้อยลง รายได้น้อยลงแต่ยังพอใช้ แต่ถ้าโรงงานปิดก็จะ
ลาบากมากกว่าน้ี แต่ช่วงโควิดรอบแรกโรงงานได้ปิด 3 เดือน แต่ตอนนี้
สามารถทางานได้ปกติ แต่งานน้อยลง อาทิตย์หนึ่งทางา น 6 วัน
เหมือนเดิม การดูแลของนายจ้างยังเหมือนเดิมกับรอบแรกที่โควิดมา

39

แต่น้ีเองก็ยังพอมีเงินเก็บมาใช้อยู่เพราะโรงงานเองก็ยังไม่มีประกาศปิด
หรือว่าให้พนักงานพักงาน แต่ถ้าโรงงานสั่งปิดเงินท่ีเก็บอยู่ตอนน้ีก็น่า
จะไม่พอใช้...”

(ตินสด (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผู้ให้ขอ้ มูลในประเด็นเกี่ยวข้องกบั การปรบั ตวั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ทวี่ ่า
“...ยังสามารถทางานไดเ้ หมือนเดิมปกติ รายได้ก็ยังได้เหมือนเดิม แต่ช่วง
โควิดรอบแรกโรงงานได้ปิด 3 เดือน ไม่ให้ทางานให้อยู่แต่ที่บ้าน แต่พอ
โควิดระลอกใหม่มาต้องทางานทุกวัน วันละนิดก็ยังดี จะได้เอาไว้ใช้ใน
ชวี ิตประจาวัน สว่ นคา่ เอกสารก็เอาตวั เอง แต่ก็ทาใหบ้ างคนที่มีเงินไม่พอ
เดือดร้อน เพราะด้วยงานท่ีน้อยลง เงินเก็บไม่มีทาให้ไม่มีเงินออกไป
ทาเอกสาร บางคนไม่แน่ใจว่าถ้าทาเอกสารแล้วนายจ้างจะมีงานให้ทาต่อ
ไหม งานไม่ม่นั คงด้วยสภาพเศรษฐกิจของปัจจบุ ัน...”
(เท พอม (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 16 มกราคม 2564)

จากการสัมภาษณ์ สมอน, ตินสด และเท พอม จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้อง
กนั อนั เนื่องมาจากการทางานที่มลี กั ษณะของงานท่เี หมอื นกัน

จากการสัมภาษณ์การปรับตัวทางด้านเศรษฐกิจของกลุ่มแรงงานเมียนมาร์ พบว่า
ช่วงสถานการณ์โควิด-19 ทาให้ค่าแรง งานท่ีทา ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ค่าต่อเอกสาร
ค่าใช้จ่ายภายในบ้านที่ต้องแบกรับ หรือแม้แต่การรับมือในช่วงสถานการณ์ ยังมีผลกับการ
ปรับตัวของแรงงาน สอดคลอ้ งกบั การสัมภาษณ์ว่า

“...ไม่มกี ารเลกิ จา้ งหรือวา่ พักงาน แตง่ านจะน้อยลง เมอ่ื กอ่ นท่ีจะมีโควิด-
19 รายได้ต่อวนั จะได้ 500-600 บาทต่อวัน แต่พอมโี ควดิ -19 ไดแ้ ค่ 200-
300 บาทต่อวัน แต่ว่าท่ีโรงงานก็มีการดูแล มีการวัดอุณหภูมิ ให้ใส่
หน้ากากทุกคร้ัง ลา้ งมือตลอด เว้นระยะห่างตลอดการทางาน การทางาน
ของตัวเองเป็นแบบรับเหมา ช่ังเป็นกิโล แล้วแต่ว่ามีปลาเยอะเท่าไร ไม่มี

40

การทา OT ทาให้อัตราการเลิกจ้างมีน้อย ส่วนเรื่องการต่อเอกสารต้อง
เอาเงนิ นายจ้างจ่ายไปก่อน แลว้ คอ่ ยหกั จากรายไดท้ ีท่ างานในรายวนั ...”

(เล (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคล้องกับผู้ให้ข้อมูลในประเด็นเก่ียวข้องกับการปรบั ตัวทางดา้ นเศรษฐกจิ ทว่ี ่า
“...จะทางานเป็นกิโล รับเหมา ถ้าทางานก็จะได้เงิน แต่ถ้าไม่ทางานก็จะ
ไมไ่ ด้ เมือ่ กอ่ นท่ีไมม่ โี ควิด-19 จะได้ 500-600 บาทตอ่ วนั แตพ่ อมโี ควิดได้
200-350 บาทต่อวัน ขึ้นอยู่ว่าวันน้ันปลาเยอะหรือว่านิดเดียว ปกติตอน
ไม่มโี ควดิ ทางานเกอื บทุกวัน น้อยสุดก็ทางาน 5 วนั ต่อสปั ดาห์ แตเ่ ดย๋ี วนี้
น้อยสุดทางาน 3 วันต่อสัปดาห์ การทางานก็สามารถทางานได้ปกติ
ขึ้นอยู่ว่าปลามีน้อยหรือว่าเยอะ การเลิกจ้างหรือว่าว่างงานไม่มี ไม่มีการ
ทา OT ปกติจะทางานต้ังแต่ 6-7 โมง เสร็จไม่ตรงเวลา แต่ช่วงนี้จะเสร็จ
4-5 โมงเย็น บ่อยเพราะปลาไม่ค่อยมี แต่มภี าระท่ีตอ้ งส่งเงินให้ครอบครัว
ท่ีเมียนมาร์ แต่ตอนน้ีไม่ได้ส่ง ไม่ค่อยมีเงิน เริ่มหายากมากขึ้น ไม่เหมือน
เมื่อก่อนเงินหาง่าย ส่วนค่าเอกสารท่ีต้องต่อจ่ายนายจ้างออกให้ก่อน
แล้วค่อยมาหักมีการพูดคุยก่อนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างว่าจะหักเงิน
ยงั ไม.่ ..”
(สุ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)

สอดคลอ้ งกบั ผใู้ ห้ข้อมลู ในประเด็นเกีย่ วข้องกับการปรบั ตวั ทางด้านเศรษฐกิจท่วี ่า
“...ปกติทางานได้ 700-800 บาทต่อวัน แต่พอมีโควิด-19 ได้ 500-600
บาทต่อวัน แต่ยังพอมีเงินเก็บอีก ซ่ึงเงินเก็บสามารถใช้ได้ หนึ่งถึงสอง
เดือนถา้ หากไม่มงี านจรงิ ๆ การทางานก็ปกติจะรับเหมาทาให้โอกาสท่ีจะ
เลิกงาน วา่ งงานจึงไมม่ ี เพราะปลาจะมตี ลอด แต่มนี ้อยมีมากขนึ้ อยู่กับวัน

41

ส่วนค่าเอกสารท่ีต้องต่อนายจ้างจะออกให้ก่อนแล้วค่อยหักเงินจากที่เรา
ทางาน แต่จะมีการพูดคยุ กันก่อนกับนายจา้ งเรื่องเงินท่ีจะหกั ...”

(โจ้ (นามสมมติ), สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2564)
จากการสัมภาษณ์ เล, สุ และโจ้ จะตอบแบบสัมภาษณ์สอดคล้องกันอัน
เนื่องมาจากการทางานทมี่ ีลักษณะของงานท่เี หมือนกัน

“...ทางานปกติ ได้ 325 บาทต่อวัน แต่รายได้น้อยลง เพราะส่งของออก
นอกไม่ได้ ของยังอยู่ในห้องเย็น แล้วก็น้อยลงจาก OT บางครั้งก็มี
บางคร้ังก็ไม่มี OT ชั่วโมงละ 60 บาท ทาได้ 2-3 ชั่วโมง แล้วแต่ของเยอะ
หรือว่าน้อย ส่วนค่าต่อเอกสารต้องใช้เงินตัวเอง นายจ้างไม่ออกให้แต่ดีที่
มีเงินเกบ็ แต่ถา้ เอาไปใชท้ าเอกสารแล้ว กจ็ ะเหลือใช้ไม่ถงึ 1 อาทติ ย์...”

(กูชิ (นามสมมต)ิ , สัมภาษณ์ 24 มกราคม 2564)

สอดคล้องกบั ผใู้ หข้ ้อมลู ในประเดน็ เก่ยี วขอ้ งกับการปรบั ตัวทางดา้ นเศรษฐกิจท่วี ่า
“...งานน้อยลง สินค้าส่งออกไม่ได้ ต้องเอาไปแช่ในห้องเย็น เพราะสินค้า
จะต้องส่งไปจังหวัดอื่น แต่จังหวัดท่ีส่งปิดเลยส่งออกไม่ได้ ได้ค่าแรงเป็น
รายวัน วันละ 325 บาท ตอนที่มีโควิดกับไม่มีโควิดก็ได้ค่าแรงเหมือนกัน
แต่ OT ลดลงเพราะโควิดระลอกใหม่ รายได้ที่ได้กับรายจ่ายท่ีต้องจ่ายไม่
พอทาให้ต้องประหยัด แต่ที่ทางานเองก็ยังสามารถทางานได้ปกติ ยังไม่
การเลิกจ้าง ว่างงาน หรือว่าพักงานสาหรับพนักงาน ส่วนค่าเอกสารต้อง
เอาเงินตัวเอง ไหนจะต้องส่งให้ท่ีบ้านที่เมียนมาร์อีก เงินเก็บก็เหลือแค่
2,000-3,000 บาท อย่ไู ด้ประมาณเดือนหนึง่ เลยจะต้องประหยดั ...”
(โซ (นามสมมติ), สมั ภาษณ์ 24 มกราคม 2564)


Click to View FlipBook Version