The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ติว Brands วิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wanitphat4395, 2022-05-11 23:52:23

ติว Brands วิชาภาษาไทย

ติว Brands วิชาภาษาไทย

สุดยอดการติวสด

• พเิ ศษ เก็งขอสอบกวา 800 ขอ
• รวมสดุ ยอดตวิ เตอรชอ่ื ดังระดับประเทศ
• ติวเขม 8 วชิ า 6 วันเต็ม 4 ชองทาง วันท่ี 1-6 ตุลาคม 2558
1. ตวิ สด ณ อาคารจักรพนั ธเ พ็ญศริ ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร
และสงสญั ญาณผา นเครือขา ยนนทรีเนต็ www.ku.ac.th ไปยงั อีก
3 วิทยาเขต คอื นครปฐม ชลบุรี และสกลนคร
2. ตวิ พรอ มกันผานสัญญาณดาวเทยี ม
- ภาคเหนือ คณะเภสชั ศาสตร ม.เชียงใหม
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะเภสัชศาสตร ม.ขอนแกน
- ภาคใต คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครนิ ทร (หาดใหญ)

และมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ.ยะลา
3. ตวิ ผา นสญั ญาณดาวเทยี มสามารถเขาดไู ดท ่ีชอ งทางการรับชมสถานีโทรทัศน

ดาวเทียม MCOT 1 (Live)
- กลอง GMM Z ชอ ง 279
- กลอง PSI ชอ ง 227
- กลอง True MPEG 4 ชอ ง 78
- กลอง True MPEG 2 ชอ ง 106
- กลอ ง CTH ชอ ง 180
- กลอง Sun Box ชอ ง 83
- กลอ ง Infosat ชอง 245
4. ตวิ ผานอนิ เตอรเนตท่ี https://www.facebook.com/BRANDSWorldThailand
5. ดยู อ นหลังผานทางสถานีวิทยโุ ทรทัศนก ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม สศทท.
วงั ไกลกงั วล ชอ ง สศทท.14 วนั ที่ 15-20 ตุลาคม 2558

รับรหสั เพื่อดาวนโหลดหนังสอื เก็งขอสอบ
แบรนดซ มั เมอรแ คมปไ ดท ี่

สอบครั้งสำคญั ...ทำใหเต็มท่ี สู สู



สรปุ ภาษาไทย

๑. โครงสรางพยางค นักเรยี นยงั จําไดไหมคะ ?
โครงสรางพยางคมี
๑. พยัญชนะ
๒. สระ
๓. วรรณยกุ ต
แลว อะไรคะ ท่เี ปนเอกลักษณข องชาตไิ ทย
⇒ วรรณยกุ ตค ะ (ชนะเลศิ ! ทีต่ อบถูก)

๒. พยญั ชนะทา ย บางพยางคม ี บางพยางคไ มมกี ไ็ ด นะคะ
๓. โครงสรางพยางคเ หมอื นหรือตา งกนั ใหด ทู ่ีพยัญชนะทา ย

พยางคใด มี เสียงพยัญชนะทา ยนนั้ คอื พยางคปด
พยางคใด ไมม ี เสียงพยัญชนะทายเปนพยางคเ ปด
๔. ทง้ั พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต ตัวสะกด มีท้งั รปู และเสยี ง แตข อสอบจะเนน เสียงนะคะ
๕. พยญั ชนะมี ๔๔ รูป จัดเปน เสยี งมี ๒๑ เสียง เพราะหลายรปู น้นั นบั เปน เสียงเดยี ว
เชน ท ธ ฑ ฒ ฐ ถ ทง้ั ๖ รปู นับเปนเสยี งเดียว คอื เสียง ทอ

(มินา ละ ถึงเหลือจาํ นวนเสยี งนอ ย ก็เพราะอยา งน้นี ี่เอง)
๖. พยญั ชนะตน ๔๔ รูป แบง เปน ๓ หมู เรียกวา อกั ษร ๓ หมู หรอื ไตรยางศ
๗. อกั ษรกลาง ทองวา ไก จิก เด็ก ตาย บน ปาก โอง

(ก จ ด ฎ ต ฏ บ ป อ)
๘. อักษรสงู ทอ งวา ผี ฝาก ถงุ ขาว สาร ให ฉนั

(ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ส ศ ษ ห ฉ)
ภาษาไทย (2)_____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๙. อกั ษรตํ่าคู ทอ งวา พ่ี แฟน เธอ คง แซว เฮีย ชัน้
(พ ภ ฟ ธ ฑ ฒ ท ค ฅ ฆ ซ ฮ ช ฌ)

๑๐. อักษรตํา่ เด่ยี ว ทอ งวา งู ใหญ นอน อยู ณ รมิ วดั โม ฬี โลก
(ง ญ ณ น ย ร ว ม ฬ ล)

๑๑. ท่ีเรียกอักษร ตํ่าคู เพราะเสยี งจะเหมือนอักษรสงู เปนคูๆ เชน ผ กับ พ
๑๒. เสยี งควบกลํา้ ของไทยดง้ั เดิมจะมี ๑๑ เสียง

ตร พร ปร กร คร
พล ปล กล คล
กว คว

เสียง /พล/ เชน “ครชู อบรอ งเพลง กบั นอ งพลบั ชอบเลน ดอกไมเ พลิง”
๑๓. ถา ขน้ึ ตนดว ยอักษรตวั อน่ื จะเปนเสียงควบกลํ้าจากตางประเทศ

เชน บร บล ฟร ฟล ดร
บร เชน “ครูใชผ งซกั ฟอกยหี่ อ บรีส”
บล เชน “นาํ้ หวานเฮลสบ ลูบอย”
ฟร เชน “ใครๆ ก็ชอบของฟร”ี
ดร เชน “ครูไดเปนดรัมเมเยอร”

๑๔. ควบกล้ําไมแ ท มี ๒ แบบ
๑. ไมออกเสียง ร ออกเสียงเฉพาะตวั หนา เชน จรงิ สรา ง สรอย
๒. ทร ออกเสยี งเปน ซ เชน ทรวด ทรง ทราบ ทราม ทราย

๑๕. ทร สามารถเปน ทง้ั ควบกลาํ้ แท และควบกล้าํ ไมแท ได
เชน นิทรา (แท) ทรวดทรง (ไมแ ท)

๑๖. สระมี ๒๑ รปู
๑๗. อกั ษรไทยทเ่ี ปน สระไดมี อ ว ย
๑๘. เสยี งสระมี ๒๑ เสยี ง
๑๙. สระเดยี่ วมี ๑๘ เสียง จดั เปนคไู ด ๙ คสู ระ ๑๘ เสียงมันจับคเู ปน คูกนั แลว ๙ คู
๒๐. สระประสมมี ๓ เสยี ง เอยี อวั เอือ ทอ งวา เมียกลวั เรอื
๒๑. อาํ ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ถูกจัดวา เปนพยางค ไมใชส ระ
๒๒. อํา ใอ ไอ เอา มตี วั สะกดเสมอ ทองวา จําใจไปเอา
๒๓. อาํ สะกดดวย ม อ + อะ + ม
๒๔. ใอ สะกดดวย ย อ + อะ + ย
๒๕. ไอ สะกดดวย ย อ + อะ + ย
๒๖. เอา สะกดดว ย ว อ + อะ + ว
๒๗. สระสามารถออกเสยี งไมต รงกบั รปู ได เชน รปู ยาวออกเสียงสั้น รปู ส้นั ออกเสียงยาว
๒๘. ทาน ออกเสียงเปน ท่นั
๒๙. กิโล ออกเสียงเปน กโี ล

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ____________________________________________ ภาษาไทย (3)

๓๐. สระบางรปู ไมอ อกเสียง ก็ได เชน เหตุ ธาตุ
๓๑. สระลดรูป คอื รูปสระหายไป เชน ตน สระโอะหายไป โตะ + น = ตน
๓๒. สระเปล่ยี นรปู คือสระเปลี่ยนเปนรปู สระอนื่

เชน วัด เปลย่ี นจากสระอะเปนไมหนั อากาศ วะ + ด = วดั
๓๓. เมือ่ มี ตัวสะกด เขามาจะเกิดการ ลดรูป และ เปลี่ยนรปู
๓๔. วรรณยุกตมี ๔ รูป ๕ เสียง เสยี งสามัญไมมรี ปู

วรรณยกุ ต คือ เสยี งดนตรีเปน เอกลกั ษณของภาษาไทยดว ยนะ
“จงภมู ใิ จเถดิ เปน ไทย…มีวรรณยกุ ตใชไ มเ หมือนชาตอิ ่ืน”

๓๕. ทุกพยางคในภาษาไทยตอ งมีเสยี งวรรณยกุ ตเ สมอ
๓๖. เปล่ียนรูปวรรณยุกตจ ะเปลี่ยนความหมายทนั ที

เชน ปา ปา ปา ปา ปา (คนื น้ีปามาดกึ จงั )
๓๗. วรรณยุกตม ใี นภาษาไทยและจีน
๓๘. ตัวอกั ษรไทยทไ่ี มส ามารถใชเ ปน ตัวสะกดไดมี ๗ ตัว ไมใชผีฝากถงุ ขาวสาร นะคะ

คือ ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ ทอ งวา ผี ฝาก เฌอ เอม ให ฉนั ฮะ
๓๙. ตวั สะกดมกี ี่แมค ะ เสียงตวั สะกดมีอยู ๘ เสียง ๘ แม แมก บ กับ แมก ด เปน เสียงอะไร

แมกด เสยี ง /ต/ แมก บ เสียง /ป/
๔๐. แมก ด คือ เสยี ง /ต/
๔๑. แมกบ คอื เสียง /ป/
๔๒. คําทไี่ มเคยไปบวกกบั คําใดเลย เรยี กวา คํามลู เชน ทุเรยี น แตทเุ รยี นกส็ ามารถแปลงรา งเปน
คําประสมกไ็ ด
๔๓. ทุเรียนกวน เปน คาํ ประสม เพราะเกดิ จาก ทเุ รียน + กวน
๔๔. คํามลู มีหลายพยางคกไ็ ด เชน ดิฉนั มะละกอ ขจี ฯลฯ (ตองพูดพรอ มกนั ทง้ั ๓ พยางค มะละกอ
แยกจากกนั ไมได)
๔๕. คาํ ประสม คําซอน คาํ ซํ้า คําสมาส คาํ สนธิ คาํ ๕ คําทก่ี ลาวมา เกิดจากการรวมกนั ของคาํ
ต้งั แต ๒ คาํ ขึ้นไป เปน การสรางคาํ ใหมข ้นึ มาใหม

“สม ซอ น ซา้ํ ” แตงงานกนั ท่ีไทย แต สมาส สนธิ แตงงานกนั ท่อี นิ เดยี
๔๖. คาํ ประสมกับคําซอนหนา ตาจะคลา ยๆ กัน

(เฮ! ครูขาแลว หนจู ะสังเกตอยา งไร)
๔๗. ผคู น เรอื แพ พอ แม เปน คาํ ซอ น เพราะความหมายตอ งเหมือน ตองคลายและ ตองตรงขา ม
๔๘. ผแู ทน เรือดว น พอครวั เปน คาํ ประสม เพราะความหมายไมเ หมอื น ไมคลาย และ ไมตรงขาม
๔๙. คาํ ๒ คาํ ที่เอามาซอนกนั ตองมีความหมายเหมือนกัน คลา ยกัน หรอื ตรงขา มกไ็ ด
๕๐. คํา ๒ คาํ ที่เอามาประสมตองมคี วามหมาย ไมเ หมอื นกนั ไมคลา ยกัน และไมตรงขาม
๕๑. คําซอนเอามารวมกันแลวจะไมเกิดความหมายใหม แตคําประสมเอามารวมกันแลวจะเกิด
ความหมายใหม
๕๒. คาํ ประสมความหมายหลักอยทู ่ีคาํ หนา (คาํ ตน ) เชน บานเชา (ความหมายตอ งอยูท ่ีบานกอน)

ภาษาไทย (4)_____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

๕๓. ความหมายของคาํ ซอ นอยทู ่คี าํ ทัง้ สองไมมีใครเดนกวาใคร
๕๔. ถา ขอ สอบถามวา โครงสรางคาํ ประสมดอู ยา งไร

ก็ใหดูแตล ะคําวา เปน นาม กรยิ า หรอื วิเศษณ เอามารวมกนั เชน
รถไฟ เกิดจาก นาม + นาม
เรือดวน เกดิ จาก นาม + วเิ ศษณ
ตมยํา เกดิ จาก กริยา + กรยิ า

๕๕. ถา ขอสอบถามวาโครงสรา งคําซอ นดอู ยา งไร
ใหดทู ค่ี าํ สองคาํ ความหมายเหมือนกัน คลายกันหรอื ตรงขามกัน

๕๖. คาํ ซ้าํ ตองเปน คําเดยี วกนั จึงจะซํ้าได “ยางลบลบกระดาษขาด”
คาํ วาลบเปน คําซํ้าไมไ ดเ พราะ เปนคนละคํา คนละความหมาย

๕๗. ถาถามวา คาํ ซํา้ ขอใดตา งจากขออน่ื ใหดูวาคําซํ้าคาํ น้ันความหมายแปลวาอะไร หรอื ดใู นดา น
หนา ทวี่ าขยายอะไร ขยายนามหรอื ขยายกรยิ า

๕๘. คําสมาสเกิดจากการชน คาํ สนธิเกิดจากการเชื่อม ทอ งวา สมาสชน สนธเิ ช่ือม
๕๙. ธรรมศาสตรเ ปน คาํ สมาส มาจาก ธรรม + ศาสตร
๖๐. จุฬาลงกรณเปน คาํ สนธิ มาจาก จฬุ า + อลงกรณ

ABAC ไมไดเ ปนคาํ สมาสนะคะ
๖๑. คาํ สนธิเวลาแยกแลว สวนใหญค าํ หลงั จะขึน้ ตน ดว ย อ. อา งนะคะ
๖๒. คําสมาสสนธิเกิดจากการรวมกันของภาษาบาลี สันสกฤตเทาน้นั หามเอาภาษาอืน่ ปน ไทย
เขมร อังกฤษ ปนไมไ ด
๖๓. การทบั ศพั ทคาํ ภาษาตางประเทศ จะทบั ศัพทไดก็ตอเม่อื ภาษาไทยยังไมไ ดมีบญั ญตั ไิ ว
๖๔. วิธกี ารดูสํานวนตางประเทศมักจะข้นึ ตน ดวย กรรม หรอื เปน ลกั ษณะ Passive Voice

เชน ภราดรถกู เชิญโดยคณะกรรมการจดั การแขง ขนั
ตองแกเปน “คณะกรรมการจัดการแขง ขนั เชญิ ภราดร”

๖๕. การใชคําฟมุ เฟอย มีคําดงั ตอไปนี้ กจ็ ัดเปน สาํ นวนตา งประเทศ
มีการ มีความ ในการ ในความ ใหการ ใหค วาม ทําการ ทาํ ความ
ทองวา มี ใน ให ทํา คูณดว ย การและความ
“ครมู คี วามยินดกี ับนักเรียน” ฟมุ เฟอ ยไป พดู แคนี้กพ็ อ “ครูยินดีกบั นกั เรยี น”

๖๖. ความหมายของคาํ แบง ออกเปน ๒ ดาน
๑. ความหมายนยั ตรง
๒. ความหมายนยั เปรียบเทยี บ
“คนื น้มี ีดาวเต็มทอ งฟา ” ดาวคอื ความหมายนัยตรง
“งานเลยี้ งคืนน้ีมีดาวเดินกันเตม็ งาน” ดาวเปน ความหมายเปรียบเทยี บ

๖๗. ความหมายนัยเปรยี บเทียบ มักเรียกอีกอยางวา ความหมายโดยนยั หรอื ความหมายโดยอปุ มา ก็ได

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ____________________________________________ ภาษาไทย (5)

๖๘. ใชค าํ ผิดหนา ท่ี เชนตวั อยางตอไปน้ี
“เขาพฒั นาการหมูบานของเขา”
พฒั นาการ (X) ผิดหนาท่ี ตองใชพัฒนา (√) ตําแหนงนี้ตองใสก รยิ าจงึ จะถกู
“ฉันไปหลับนอน หรือนอนหลบั บานเขา”
(นอนหลับคะ ถา หลับนอนละก็ คํานีผ้ ิดความหมาย)

๖๙. คําเช่อื มเราหมายถึงบพุ บท สันธาน และประพันธสรรพนาม
๗๐. บุพบทเชือ่ มคํา
๗๑. สันธานเชอ่ื มประโยค
๗๒. ประพนั ธสรรพนาม (ผ,ู ที่, ซ่งึ , อัน) ใชเ ชอื่ มในประโยคความซอ น
๗๓. แก + ผูรับ
๗๔. กับ + ทาํ รวมกัน
๗๕. แด + ผรู ับทีเ่ ปนอาวโุ ส
๗๖. สันธานมี ๔ ดานหลัก คือ และ หรอื แต เพราะ
๗๗. และ ใชเชอื่ มความคลอยตามกัน “ฉันชอบกินขนมและดูหนังไปพรอมๆ กนั ”
๗๘. หรอื ใหเ ลอื ก “คุณจะกนิ ขาวหรอื ซักผา”
๗๙. แต ใชในประโยคขัดแยง “แมคะนองลีอ่ ยากประกวดแตน องลก่ี ลัวคะ”
๘๐. เพราะ ใชเ ช่อื มความเปนเหตุเปนผล “นักเรียนของครูทกุ คนสอบตดิ เพราะนักเรยี นขยัน”
๘๑. และ หรอื แต เพราะ สามารถทาํ หนาท่เี ช่อื มคํา เหมอื นเปนบุพบทกไ็ ด
๘๒. ประโยคตา งชนิด หรอื ชนิดของประโยค หมายถึง ความเดยี ว ความรวม ความซอน

เดยี ว แปลวา หนง่ึ , รวม แปลวา สอง, ซอ น แปลวา ขยาย และสว นขยายกเ็ ปนประโยค
๘๓. ประโยคความเดยี ว ตอ งมีกรยิ าตวั เดยี ว ประธานตวั เดียว
๘๔. ประโยคความเดียวสามารถมีสวนขยายยาวๆ ได แตสวนขยายนั้นตอ งเปนแค กลุมคํา หรอื วลี

เชน “แมวนอยตวั อวนจบั หนนู าตัวเขอื่ งได ๒ ตัว”
๘๕. ประโยคความรวม ใหดูท่ีมสี ันธานเชอ่ื ม
๘๖. ประโยคความซอนใหด ู ผู ที่ ซึ่ง อัน วา ให จน เพ่ือ เชื่อม
๘๗. ประโยคความรวมตอ งเจอเลข ๒ ไมประธาน ๒ ตวั กก็ รยิ า ๒ ตัว

S๑V๒ / S๒V๑ / S๒V๒
๘๘. ประโยคความซอ น

ซอ นแปลวาขยาย โดยสวนขยายนั้นเปนประโยค
“พอฉนั ทํางานหนักจนตองเขาโรงพยาบาล”
(พอฉนั ทํางานหนัก หนกั แคไ หนคะ หนกั จนตอ งเขา โรงพยาบาลเลยนะเธอ)
๘๙. ประโยคความซอน หลังคาํ วา ผู ที่ ซ่ึง อนั จะเปนประโยคขยาย
๙๐. ประโยคความรวมกับความซอน สามารถละตวั เชอื่ มได
๙๑. ประโยคกรรม ก็คือประโยคทเี่ อากรรมข้ึนตน หนาประโยค
ภาษาไทย (6)_____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

๙๒. ภาษามี ๕ ระดบั
๑. พธิ ีการ → เปนภาษาทีส่ งู สละสลวย ไพเราะ
๒. ทางการ → ภาษาที่ลงทา ยดว ยการ เชน ราชการ วชิ าการ
๓. กึง่ ทางการ
๔. ไมเปน ทางการ
๕. กนั เอง
(เวลาพูดกบั กระเปา รถเมลใ ชระดับ ไมเปน ทางการ ถากระเปารถเมลเ ปนแฟนเรา ใชกันเอง)

๙๓. ระวัง! ระดบั ที่อยูตดิ กนั จะใชสับสน
ระดบั ๒ กบั ระดบั ๓ ระดบั ๔ กับ ระดบั ๕

๙๔. ทางการกับกึ่งทางการ
กง่ึ ทางการจะเปน คําท่มี ีภาษาปาก ภาษาพดู ปนอยู

๙๕. ไมเ ปน ทางการกับกนั เอง
แตกตา งตรงที่ ไมเ ปน ทางการใชก ับคนไมส นทิ กนั เองใชก บั คนสนิท

๙๖. โวหารทางรอ ยแกวมี ๗ ชนิด
๙๗. บรรยายโวหาร คอื การเลา เรื่อง เหตกุ ารณ เร่อื งราว วา ใคร ทาํ อะไร ทไี่ หน เมอ่ื ไร อยา งไร
๕ W (WHO WHAT WHERE WHEN WHY) ลกั ษณะเหมือนรายงานขา ว
๙๘. พรรณนาโวหาร จะเนน ใหร ายละเอียดของภาพ บุคคล วตั ถุ สถานที่

จาํ วามี ๔ ว. วเิ ศษณ วจิ ิตร วิลิศมาหรา เวอรๆ จาํ ไวว าภาษาเหมอื นนวนิยาย
๙๙. อธบิ ายโวหาร ตอ งพยายามเขยี นหรอื พูดใหผ ูร ับสารเขาใจ
๑๐๐. สาธกโวหาร คือการยกตวั อยา ง
๑๐๑. เทศนาโวหาร คือการส่งั สอน
๑๐๒. อปุ มาโวหาร คือการเปรยี บเทียบ
๑๐๓. อภิปรายโวหาร คอื การโนม นา วใจ
๑๐๔. กลวิธอี ธบิ ายมี ๖ ชนดิ

๑. นิยาม
๒. ยกตัวอยา ง
๓. อธบิ ายตามลาํ ดบั ขั้น
๔. ใหเ หตผุ ล
๕. เปรยี บเทยี บใหเ หน็ ความแตกตา ง
๖. กลา วซาํ้ ดว ยถอ ยคําทง่ี า ยๆ
๑๐๕. การลําดบั คาํ และการขยายความในประโยค คาํ ขยายตอ งวางไวหลังคําหลกั
๑๐๖. แตบ างคร้ังคาํ ขยายอยหู างคาํ หลกั ก็ได
เชน “สมชายกินนาํ้ จุ” (จุขยายกนิ )
๑๐๗. ผู ท่ี ซง่ึ อนั ตองขยายคาํ นามทอี่ ยูขา งหนา แสดงวา
คําขางหนาคาํ วา ผู ท่ี ซ่งึ อัน ตอ งเปนคาํ นาม

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ____________________________________________ ภาษาไทย (7)

๑๐๘. การเขียนรายงานหรอื เรยี งความ ตองข้นึ ตนดว ย
คํานาํ เนอ้ื เร่ือง สรปุ

๑๐๙. คาํ นํา จะตอ งปพู ืน้ กวางๆ ของภาพรวม อยาใหร ายละเอียด
๑๑๐. เน้อื เรือ่ ง เปน การใหข อ มลู รายละเอยี ด ยกตัวอยาง
๑๑๑. สรุป คอื การขมวดปมสาํ คญั ใหข อ คดิ สรา งความประทับใจใหเ ราไงคะ

(เหมือนตอนจบของละครที่สรา งความประทับใจ)
๑๑๒. ประโยคฟุมเฟอ ยหรือประโยคไมกระชับ ตองตัดคาํ ทีแ่ ปลเหมอื นกนั ทง้ิ ไป

เชน “เคร่ืองบินตกที่เวียดนามผโู ดยสารตายหมด ไมมใี ครรอด” คําวา ไมม ีใครรอดไมต อ งใส
๑๑๓. ระวัง! ๘ คาํ ตอ ไปน้ี “มี ใน ให ทาํ คณู ดว ย การ และความ” มักจะฟุม เฟอย
๑๑๔. ประโยคไมส มบรู ณ คอื

ประโยคทอี่ าจจะขาดประธาน กรยิ าหรืออาจจะขาดอีก ๑ ประโยคก็ได
(อา นแลวรสู กึ วาแลว ไงตอ ละ)
๑๑๕. การพดู ในทป่ี ระชมุ กเ็ หมอื นกบั การสนทนาระหวางบคุ คล
(นกึ ถงึ อกเขาอกเราอยาตาํ หนหิ รอื วจิ ารณผ ูอ่ืนในทางลบ)
๑๑๖. ทอ งศพั ทเ กยี่ วกับการประชุมใหดี
๑๑๗. ระเบียบวาระท่ี ๑ ๒ ๓ เรียงลําดบั ใหถ กู ตองนะคะ
๑๑๘. วาระท่ี ๑ เปนการรับรองการประชุมครั้งกอ น
๑๑๙. วาระที่ ๒ เปนการสะสางเรือ่ งเกา
๑๒๐. วาระที่ ๓ ประชุมเรอื่ งใหม
๑๒๑. ถา เปน เร่ืองที่ประธานแจง ใหทราบตองพดู กอนวาระ ๑
๑๒๒. ประเด็นการโตแ ยง คือ หัวขอหรือเรอ่ื งทก่ี ําลังเถยี งกนั อยมู ักอยใู นรปู ประโยคคําถาม
เชน “ควรใชภาษาไทยสอบคัดเลือกในการสอบเขามหาวิทยาลัยระบบใหมห รอื ไม”
๑๒๓. โครงสรา งประโยค
ใหด กู ารเรียงลําดบั ของประธาน กริยา กรรม และสว นขยาย วาใครมากอ นมาหลัง
เชน “แมวอว นนอนในกะละมัง” จะเรียงโครงสรา งเปน ประธาน ขยายประธาน กรยิ า
บุพบท สถานที่
๑๒๔. อกรรมกรยิ า คือ
กรยิ าไมต อ งการกรรมมารับ เชน ยนื นอน เดนิ นงั่
๑๒๕. สกรรมกริยา คือ กรยิ าที่ตองการกรรมมารับ จึงจะเปน ประโยคทคี่ รบสมบรู ณฟงแลว รูเรื่อง
เชน กิน ตองมกี รรมมารบั วากนิ อะไร เชน ฉันตัด....ตัดไรคะ (งง)
๑๒๖. กลมุ คํากบั คําประสมแตกตางตรงที่
กลุมคาํ ไมไดเกดิ ความหมายใหม
คาํ ประสม เกิดความหมายใหม
๑๒๗. พอครับ เปน อะไรคะ → ตอบ กลุมคาํ
๑๒๘. พอคา เปน อะไรคะ → ตอบ คาํ ประสม

ภาษาไทย (8)_____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

๑๒๙. เกง นกั ใชไหมงนั้ พอ นอน เปนอะไรคะ → ตอบ ประโยค
๑๓๐. “พองรูป รปู เหมือน พอ งเสียง เสียงเหมอื น พอ งทงั้ รปู พอ งท้ังเสียง เหมือนทั้งรูป เหมือนทง้ั
เสียงแตค วามหมายไมเหมือน” ถา ความหมายเหมอื นกนั เราเรียกวา ”ไวพจน”

พองรปู คอื รูปเหมือน เชน เพลารถ กับ เพลาเย็น
๑๓๑. พองเสียง คือ เสยี งเหมอื น

เชน การ กาล กาฬ การณ กาญจน กานต กานท
๑๓๒. พอ งท้งั รปู พองทัง้ เสยี ง คอื

เหมือนทงั้ รูปเหมอื นท้ังเสียงแตความหมายไมเ หมอื น เชน ไกข ัน ขันนา้ํ
๑๓๓. คําทีม่ ีความหมายเหมอื นกันเรียกวา ไวพจนห รอื พอ งความหมาย หรอื หลากคาํ ก็ได

เชน นภา เวหา หาว โพยม แปลวาทองฟา
๑๓๔. ภาพพจนตอ งมีการเปรยี บเทียบอยา ไปใชผ ิดระหวา ง ภาพพจน กับ ภาพลักษณ นะคะ
๑๓๕. อปุ มา เปรียบโดยใชคําวาเหมือน
๑๓๖. อุปลักษณ เปรยี บโดยใชค ําวา เปน คือ หรอื ไมตอ งใสเปนกบั คอื กไ็ ด “เธอคือลมหายใจ”
๑๓๗. นอกจากอุปมาจะใชเหมอื นแลว ยงั มีคาํ ดงั ตอไปน้ี

เสมือน เปรียบเสมือน ดจุ เปรียบดจุ ประดุจ ประหน่งึ เพยี ง ราวกับ เฉก เชน เลห  ละมาย
คลา ย ฯลฯ

(มนี ักรอง ๒ คนของอารเ อส ทีเ่ ปน อปุ มา นกั เรียนวา เปน ใครคะ)
ตอบวา ดงั กับปาน
๑๓๘. ระวงั ! มคี าํ วาเปน กบั คือ บางครั้งก็ไมใชอ ุปลกั ษณ
เชน “ฉันเปนคร”ู อยางนีไ้ มไดเ ปรยี บเทยี บ
๑๓๙. อปุ ลักษณแ บบไมต อ งใสเปนกับคอื
เชน “เพชรนํ้าคาง” เปรยี บน้ําคางใสเปน เพชร
๑๔๐. บคุ คลวตั หรือบคุ คลสมมติ คอื การทําสิง่ ที่ไมใชคนใหม ีกรยิ าเหมือนคน
เชน “ฟา หวั เราะเยาะขา ”
๑๔๑. อตพิ จน คือ การกลา วเปรียบเทยี บเกนิ ความจรงิ
เชน “ฉนั คิดถึงเธอทุกลมหายใจ”
๑๔๒. อวพจน คือ การกลา วเปรยี บเทียบนอยกวา ความเปน จรงิ
เชน “ขนมกอนนี้เล็กเทาขตี้ า”
๑๔๓. สัทพจน คอื การเลียนเสยี งธรรมชาติ
เชน “เปร้ยี งเปร้ียงดังเสียงฟา ฟาด”
๑๔๔. ปฏิพากย คือ การกลา วโดยใชคําขัดแยงกนั
เชน “จักรวาลวนุ วายไรสาํ เนียง”

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ____________________________________________ ภาษาไทย (9)

๑๔๕. อปุ มานทิ ศั น คือ การเปรยี บเทยี บโดยใชประโยคยาวๆ หรอื เร่ืองราวยาวเขา มาเปรียบเทียบ เชน
“กรงุ รตั นโกสนิ ทร ถา เปรียบเปน ตน ไมก ็คือตนไมเ พิง่ แตกมาจากหนอ แขนงของตน เกา

ลาํ ตน ราก ใบ ยังออ นนัก ศัตรูชอบมาโยกคลอนฉดุ กระชากใหรากขาด ไมห ยดุ ไมหยอน”
แบบนี้ถอื วา ใชค าํ เปรยี บเทยี บโดยใชป ระโยคยาวมาก

๑๔๖. ภาพชดั เจนในวรรณคดี ดูจากใชค าํ ขยาย คาํ วิเศษณม ากๆ ยง่ิ ใสภ าพพจนย ่ิงเห็นภาพชดั เจน
๑๔๗. เสยี งไพเราะหรอื เลนเสยี ง หมายถงึ สัมผสั อักษร สัมผัสสระ
๑๔๘. การใชค าํ กวีโวหาร คือ ใชค าํ หรูหรา ภาษาวจิ ิตรที่กวใี ชแตง คาํ ประพันธ

เชน “สวุ รรณสุกเลือ่ มแกว”
๑๔๙. เลนคาํ เชน “ถงึ บางจากจากไปใจระบม” เลน คาํ วา จาก
๑๕๐. ซ้าํ คาํ คอื ทุกตวั จะความหมายเดียวกนั

เชน “ท้ังหนาวลมหนาวพรมนํ้าคา งพราว ไหนจะหนาวซากผาศิลาเยน็ ”
“เก็บตะวนั ท่เี คยสองฟา เกบ็ เอามาเก็บไวในใจ เกบ็ พลัง เก็บแรงแหง แสงย่ิงใหญ”

๑๕๑. หลากคาํ ก็คอื ไวพจน หรือ พองความหมาย นั้นเอง
เชน กุญชร ไอยรา คช หตั ถี ทั้งหมดแปลวา ชาง

๑๕๒. จนิ ตภาพ คือ ภาพทอ่ี ยูในจินตนาการ โดยกวตี องแตง ทาํ ใหผ อู าน อานแลว เกดิ ภาพใหได
จินตภาพมี ๓ ประการ
๑. จนิ ตภาพดา นเสยี ง เชน “ปะโทน ปะโทนปะโทน โทน ”
๒. จนิ ตภาพดานภาพ เชน “สุวรรณหงสท รงพหู อย งามชดชอ ยลอยหลังสินธุ”
๓. จินตภาพเคลื่อนไหว เชน “ลมระเรงิ ลหู วิวพล้วิ ระลอก”

๑๕๓. ใชค าํ ที่มีจังหวะดุจดนตรี
เชน “วนและว่งิ คืนและวนั หวัน่ และไหว” (จังหวะจะแบงไดทลี ะ ๓ ไดเ ทา ๆ กัน)

๑๕๔. ดลุ เสยี งและดุลความหมายเรียกอกี ชือ่ วาประโยคขนานความ
เชน “ในนาํ้ มีปลา ในนามีขาว” (ในแตละวรรคมีคําวา ใน มี เทากัน และตําแหนง เดยี วกัน)

๑๕๕. ถา โจทยถ ามวา ขอ ใดพรรณนาตา งจากขออ่ืน มีหลักในการดูดงั ตอไปนี้
๑. กวีกาํ ลังพูดถึงส่งิ ท่เี ปนคนหรอื ไมใชค น
๒. กวีกาํ ลงั พูดถึงวฒั นธรรมหรือธรรมชาติ
๓. กวพี ดู ถึงนางอันเปนที่รกั หรือกษัตริย
๔. กวมี ีการเปรียบเทยี บหรอื ไมไดเปรยี บเทยี บ
๕. เกิดจินตภาพหรอื ไม

๑๕๖. ความเชื่อในวรรณคดีจะมี ๒ แนวคือ พทุ ธศาสตรก ับไสยศาสตร
๑๕๗. ส่ิงทก่ี วีจะพรรณนาถึงก็คอื ดอกไม ปลา นก ตนไม ภเู ขา ทะเล ลาํ ธาร วัง วดั บานเรอื น ฯลฯ
๑๕๘. การพรรณนาฉากก็คอื พรรณนาสงิ่ แวดลอ มและสถานท่ี
๑๕๙. สงิ่ ท่ีไมใ ชฉ ากคอื ตัวละคร
๑๖๐. การเปล่ียนแปลงของฉากกค็ ือ การเปลี่ยนเวลาเชา เปนบาย บา ยเปนเยน็ , กลางวนั เปน กลางคืน
กลางคนื เปนกลางวัน
๑๖๑. คําราชาศพั ท คํานามเติมพระ กริยาเตมิ ทรง
ภาษาไทย (10)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

๑๖๒. พระบรมราช / พระบรม ใชก ับ กษตั รยิ  (พระราชวงศลําดับที่ ๑)
๑๖๓. พระราช ใชก บั ราชวงศล ําดับท่ี ๒
๑๖๔. พระ ใชก บั ราชวงศลําดบั ที่ ๓, ๔, ๕
๑๖๕. ทรง บวก ได ๓ อยา ง
ทรง + กริยาธรรมดา → ทรงวง่ิ
ทรง + นามธรรมดา → ทรงชา ง
ทรง + นามราชาศพั ท → ทรงพระราชนพิ นธ
๑๖๖. ทรง หา มบวกกับ กริยาราชาศพั ท
๑๖๗. เสดจ็ พระราชดาํ เนิน ใชกับ พระมหากษตั ริย และเจานายลาํ ดบั ชนั้ ๒
๑๖๘. เสด็จ ใชกับ เจานายลาํ ดบั ที่ ๓, ๔, ๕
๑๖๙. ทูลเกลา ทูลกระหมอมถวาย (ทลู เกลา ฯ ถวาย) ใชกบั ถวายของเล็กๆ
๑๗๐. นอมเกลา นอ มกระหมอมถวาย (นอ มเกลาฯ ถวาย) ใชก ับของใหญๆ
๑๗๑. ทรงมี ทรงเปน ตอ งตามดว ยคาํ สามัญธรรมดา หามเปน คาํ ราชาศพั ท เชน ทรงเปน อาจารย
๑๗๒. ถา มี กับ เปน ตอ งบวกดว ยคําราชาศัพท เชน เปน พระราชนัดดา
๑๗๓. ถวายการตอ นรบั ใชไมได ใหใ ช เฝาทลู ละอองธลุ พี ระบาทรบั เสด็จ
๑๗๔. กาพยฉ บงั มี ๑๖ พยางค
OOOOOO OOOO
OOOOOO
๑๗๕. กาพยส ุรางคนางคม ี ๒๘ พยางค
OOOO OOOO OOOO
OOOO OOOO OOOO OOOO
๑๗๖. กาพยยานีมี ๒๒ พยางค
OOOOO OOOOOO
OOOOO OOOOOO
๑๗๗. กลอนแปดมี ๓๒ พยางค
OOOOOOOO OOOOOOOO
OOOOOOOO OOOOOOOO
๑๗๘. โคลงสส่ี ภุ าพมี ๓๐ พยางคถ าใสคําสรอ ยก็จะเปน ๓๒ และ ๓๔ พยางคต ามลําดับ
OOOOO OO(OO)
OOOOO OO
OOOOO OO(OO)
OOOOO OO(OO)
๑๗๙. โคลงสามสุภาพจะมี ๒๑ พยางค
OOOOO OOOOO
OOOOO OOOO(OO)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (11)

๑๘๐. อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท ๑๑ จะมี ๒๒ พยางค โดยทตี่ าํ แหนง ๓ ๖ ๗ ๙ เปนลหุ ทเี่ หลอื เปนครุ
๑๘๑. การจับใจความสําคญั ตองจบั ใหไ ดห ลกั ๆ วา ใคร ทาํ อะไร และทําไมถึงทําอยา งนั้น กค็ อื
WHO WHAT WHY
๑๘๒. การตีความ ก็คอื

การตีความหมายท่ีผูเขียนกําลังสื่อถึงเราวาเขากําลังจะบอกอะไรกับเราโดยตองตีใหใกลเคียง
ความจริงใหมากทีส่ ดุ เชน ถา เขาบอกวา “ขาพเจารูสกึ โชคดีทีพ่ อ ขาพเจา มาขึน้ ฝง ทีเ่ มอื งไทยถาไปขึ้นที่ประเทศ
อ่ืน ชีวิตขาพเจาคงไมไดเปนอยางนี้แนๆ” อยางน้ีเราตองตีความวา ผูพูดเห็นวาประเทศไทยดีกวาประเทศ
เพอ่ื นบาน

ครขู อใหนักเรยี นทกุ คนตีความและจับใจความใหเ ปน ฝกทําขอสอบบอยๆ เรากจ็ ะเกง และมี
ทักษะมากขึน้ เพราะในการสอบแตล ะคร้งั จะมีขอ สอบเกย่ี วกับการตีความ และจบั ใจความเปน จํานวนมาก

ภาษาไทย (12)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

พยางค

๑. เสยี งพยญั ชนะตนเด่ยี ว ตรงขา มกบั เสียงพยัญชนะตน ควบกล้าํ
๒. ครูลลิ ลี่อยากถามหนูวา “สุวรรณมาศ” มเี สยี งพยญั ชนะตนกี่เสียง

ตอบ ๔ เสยี ง คอื /ส/ - /ว/ - /น/ - /ม/
๓. ตัว “ทร” พบท้งั ในภาษาเขมรและสนั สกฤต

“ทร” ในเขมร : ทราบ ไทร ทรุดโทรม แทรก ฉะเชงิ เทรา ทรวง ทรง ฯลฯ
“ทร” ในสันสกฤต : มทั รี ทรพั ย อินทรยี  นนทรี ฯลฯ
๔. หนๆู คะ เคยทํางาน อยาง “คลองแคลว ” ไหมคะ คุณครูลิลลอ่ี ยากทราบวา
“คลอ งแคลว ” มีโครงสรางพยางคด า นใดเหมือนกนั บา งคะ
ตอบ “คลอง” “แคลว”

๑. มีตัวสะกดทง้ั สองพยางค
๒. มเี สียงพยญั ชนะตน ควบกลํา้ ทัง้ สองพยางค
๓. ออกเสียงสระเสียงสน้ั ทั้งสองพยางค
๔. วรรณยกุ ตเ สยี งโทเหมอื นกันทง้ั สองพยางค
๕. “กระทรวงสาธารณสขุ ” กบั “กระทรวงคมนาคม”
ช่ือกระทรวงใดมจี าํ นวนพยางคมากกวากนั คะ
ตอบ กระทรวงสาธารณสขุ นบั ไดต ัง้ ๗ พยางค
๖. การออกเสยี งในภาษาไทย มี ๔ ขอ หลักๆ คอื
๑. ออกเสยี งเดย่ี วๆ “เรียงพยางค”

“ปรยิ าย” อา นวา ปะ-ริ-ยาย (อานวา ปริ-ยาย นาเกลยี ดแย! )
๒. ควบกล้าํ

“มะปราง” อา นวา มะ-ปราง
๓. อกั ษรนาํ

“ขนม” อา นวา ขะ-หนม
๔. สมาส

“ราชการ” อานวา ราด-ชะ-กาน (ไมใช ราด-กาน)
๗. เสียงควบกลาํ้ ท่มี าจากภาษาองั กฤษ มักจะขึน้ ตน ดวย บล บร ดร ฟร ฟล ทร
๘. “ฤ” อานวา รึ มีคา เทา กับเสียง “ร”

ถา ทาํ หนาท่เี ปน เสียงพยญั ชนะตน ก็ตอ งอา นวา “รึ”
เชน ฤดู คฤหาสน ฤทัย พฤหสั นฤมล ฤษี คฤหัสถ
ถา คาํ วา “องั กฤษ” ฤ ทําหนา ทเ่ี ปน สระเพราะไปผสมกับ ก และตัวสะกด ษ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (13)

๙. พยญั ชนะไมออกเสยี ง (มีดว ยเหรอ! ขีเ้ กยี จทาํ งานไมอ ยากใชเสยี ง )
พราหมณ = ห ณ ไมออกเสียง
จรงิ = ร ไมอ อกเสยี ง
หลาย = ห ไมออกเสยี ง
คนางค = ค ไมอ อกเสยี ง
วทิ ยายทุ ธ = ธ ไมออกเสยี ง
มิตร = ร ไมออกเสียง
โทรม = ทร ไมออกเสียง เปลี่ยนเปนเสยี งใหมคอื /ซ/
๑๐. เลน เสยี งคูสระ เปนอยา งไรคะคุณครู
ตอบ หมายถึง มีเสยี งคูสัน้ -ยาว อยดู ว ยกนั เชน
“สุวรรณหงสท รงพูหอย” มีการเลนเสยี งคูส ระ อุ อู ตรง สุ กับ พู
๑๑. “น้าํ ใจ น้าํ มัน นํ้าสุก น้ําซปุ ” นํา้ จะออกเสียงส้ันหมด
๑๒. “ควบควาย” ว ในคํา “ควบ” กับ “ควาย” เหมอื นกนั ไหม
ว ในคําวา “ควบ” เปน สระอวั แต ว ในคําวา “ควาย” เปน พยัญชนะควบกล้าํ
๑๓. คาํ ตาย ตองสะกดดวย แม กบด ทอ งสูตรวา “ใครกบฏมันตอ งตาย”
คําเปน ตองสะกดดวย แม มนงยว ทองสูตรวา “มะนงยะเวอะ เปนสาวชาวพมา เปนมือขวา
ของอองซานซูจี ขายธปู หอมแถวเจดยี ชเวดากอง” (ไมใ ชเ จดยี สามองคนะคะ)
๑๔. ถา ตัวสะกดไมมี เชน “กระทะ” จะเปน คําตาย เพราะประสมสระเสยี งส้นั
วิธกี ารจาํ ทองวา “อายุส้นั มนั ก็ตาย”
ถา ตวั สะกดไมมี เชน “ปนู า” จะเปน คาํ เปน เพราะประสมสระเสียงยาว
วิธกี ารจาํ ทอ งวา “อายุยนื ยาว มนั ก็เปน ”
๑๕. “อยทู ีเ่ รียนรู อยูท่ียอมรบั มนั ” มีคาํ เปน คาํ ตายเทา ไรคะ
ตอบ คาํ เปน = ๘ คํา อยู ท่ี เรียน รู อยู ท่ี ยอม มนั
คําตาย = ๑ คํา รบั
๑๖. ชื่อโรงเรยี นตอไปนีใ้ ครเปนศิษยเกา
เซนตโ ยฯ เซนตหลยุ ส
เซนตคาเบรียล เซนตจอหน
เซนตฟ รังฯ เซนตดอมินิก
“เซนต” ในชอ่ื โรงเรียนอะไรบา ง ออกเสียงตรงตามอกั ขรวิธไี ทย ชอ่ื ใดบางออกเสยี งแบบ
องั กฤษ
“เซนต” มาจาก “Saint” อานตามภาษาอังกฤษวา “เซน ” ถา อานตามอกั ขรวิธไี ทย จะอานตรง
ตามรูปท่เี ห็นวา เซนต อานวา “เซน”
หนรู แู ลว คะครลู ลิ ลี่ ขอตอบวา “เซนตโยฯ, เซนตค าเบรียล, เซนตฟรังฯ, เซนตหลยุ ส อา นแบบ
อกั ขรวธิ ีไทย” แต “เซนตจอหน กบั เซนตดอมนิ ิก อา นแบบอังกฤษ” แลวครอู ยากถามวา โรงเรยี นเกาคณุ ครู
อา นแบบไหน “เซนตล ุกซ” ไงจะ

ภาษาไทย (14)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

๑๗. “ที่ ลุม” หนูเหน็ วรรณยกุ ตไ หม เขาใสไมเ อก แตออกเสียงโท แสดงวาเราสามารถออกเสยี ง
วรรณยุกต ไมตรงกบั รูปกไ็ ด
๑๘. เสียงนาสกิ คอื อะไร ก็แปลนาสกิ ใหไดก อนสิคะ
นาสิก แปลวา จมูก
เสยี งนาสิก คือเสียงท่ีเปลง ออกมาแลวขนึ้ จมูก มี ๓ เสยี ง ม น ง
ทอ งวา มนง นาสกิ แตไ มเกี่ยวกับ มะนงยะเวอะ เดอ !
๑๙. นักเรยี นทราบใชไหมคะวา อกั ษรไทย ๗ ตวั ไมส ามารถเปนตัวสะกดไดมอี ะไรบาง
ตอบ ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ
ครูลลิ ล่มี สี ตู รการจําเกๆ มาฝากอกี แลว ฮะ ใหห นๆู ทอ งวา
“ผีฝาก______________________________________________________________”
๒๐. ครอู ยากคยุ กับหนูวา “สัญลักษณ” “ญ” ตวั น้ี ทําหนา ท่ีเปน ทงั้ ตัวสะกดและพยญั ชนะตน
หนูเช่ือครูไหม
สญั ลกั ษณ อา นวา สนั -ยะ-ลัก
“ญ” เปน ตัวสะกด ออกเสียง /น/ ในแม กน
“ญ” เปนพยัญชนะตน ออกเสยี ง /ย/ อานวา “ยะ”
๒๑. “ฤกษ” กบั “เทอด” มอี ะไรเหมือนกนั (อยาตอบนะคะวามอี กั ษรเหมือนกนั จะโดนไมใ ชน อ ย)
ตอบ สระ เออ เหมอื นกัน กบั เสยี งวรรณยุกต โท เหมือนกนั
๒๒. “น้ํา นอย แพ ไฟ” เอาเปน วาครูจะถามวา ส่ีกุมาร โอย! ไมใ ช ส่ีพยางค ใครมอี งคประกอบของ
พยางค ๓ สวนเอง
ใหตอบวา แพ เพราะแพม แี ค ๑. พยญั ชนะ ๒. สระ ๓. วรรณยุกต
เขาขาดเรอ่ื ง ตวั สะกด เขาจงึ แพไ ป (ฮิฮ)ิ
แต น้าํ นอ ย ไฟ มีองคป ระกอบ ๔ สว น มที ง้ั
๑. พยัญชนะตน นํา้ = น นอ ย = น ไฟ = ฟ
๒. สระ นํา้ = อะ นอย = ออ ไฟ = อะ
๓. วรรณยุกต นาํ้ = ตรี นอ ย = ตรี ไฟ = สามญั
๔. ตวั สะกด นํ้า = ม นอย = ย ไฟ = ย

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (15)

๒๓. รูปสระตอ ไปนขี้ ้เี กียจออกเสยี งเหมอื นกัน มเี หตผุ ล คือ เปน คาํ จากบาลี สนั สกฤต แลวพยัญชนะ
ตัวไหนเปนตัวสะกด แลว สระ อิ อุ นนั้ จะไมออกเสยี ง

ขดั สมาธิ อานวา ขดั -สะ-หมาด
ชาตินยิ ม อานวา ชาด-น-ิ ยม
ยาธาตุ อานวา ยา-ทาด
โลกธาตุ อานวา โลก-กะ-ทาด
ตัวพยาธิ อานวา ตวั -พะ-ยาด
ญาติพน่ี อง อานวา ยาด-พ-่ี นอง
ประวัติ อา นวา ประ-หวัด
เหตุ อา นวา เหด
เกตุ อา นวา เกด
มาตุ อา นวา มาด
เมรุ อา นวา เมน
๒๔. ภาษาไทยน้ันนะคะนักเรยี นมหี ลกั อยขู อหนงึ่ ของสระวา ออกเสียงสนั้ เสยี งยาวแลวความหมาย
อาจเปลย่ี นไปไดน ะคะ เชือ่ ครหู รือไมล องมาดูกันเลยนะคะ สงั เกตพยางคห นาลองออกเสียงไดท ้ังส้นั ทั้งยาว
แลว ความหมายเปลย่ี นไปหรือไม
สัมพันธ → สามพนั (Three Thousand)
ปรบั ทกุ ข → ปราบทกุ ข
วงั หิน → วางหนิ
มิดี → มีดี
วนั น้ี → วานนี้ (Yesterday จากตอนแรกวันนี้ Today)
ไขมนั → ขายมนั
ตักดิน → ตากดนิ
ตะราง → ตาราง
กงั ขา → กางขา (แหกขา...!)
ภาษาไทย (16)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

ถาขอ สอบถามเร่อื งโครงสรา งของทัง้ ๕ โครงสรางน้จี ะดูอยา งไร
โครงสรา งพยางค : ตอ งดูท่ีตัวสะกด เสยี งพยัญชนะตน เสยี งเด่ยี วหรือควบกลา้ํ สระเสยี งส้ันหรือยาว แลว
สดุ ทายดูวามีหรือไมม ีวรรณยุกตเสียงอะไร
โครงสรางคาํ ประสม : ตองดูทคี่ ํานาม - กรยิ า - วิเศษณ - บุพบท มาประสมกัน เชน
ตมยาํ = กรยิ า + กริยา
เรือดวน = นาม + วิเศษณ
โครงสรางคาํ ซอ น : ตองดทู ี่ความหมายเหมอื นกนั คลายกัน หรอื ตรงขา มกนั
พอ แม = ตรงขามกนั
บา นเรือน = เหมอื นกัน
พยางคปด = พยางคท่ีมีเสยี งพยญั ชนะทา ย เชน นอง ยาย ลงุ ฯลฯ
พยางคเ ปด = พยางคท ่ไี มม ีเสียงพยัญชนะทา ย เชน พ่ี ตา ปา ฯลฯ
โครงสรางประโยค : ตอ งดทู ่ี การเรียงลําดบั ของ ประธาน กริยา กรรม และสว นขยาย ใครมากอ นมาหลัง
ถามวา “แมทาํ ขนมปงไสไกอ รอ ยมาก” มีโครงสรา งประโยคเหมอื นประโยคใด ระหวาง
“พี่สาวถักผา ปูโตะสวยจริงๆ” กบั “คนสวนปลูกผักนานาชนดิ ที่หลังบาน”
ครขู อเฉลยวา โครงสรา งประโยคท่ีเหมือนกบั ประโยคตัวอยางที่ใหม า คอื ประโยค “พส่ี าว......” เพราะเรยี ง
ประธาน + กริยา + กรรม + ขยายกรรม + วิเศษณ + ขยายวิเศษณ
โครงสรา งเหตุผล : ตองดทู น่ี าํ เอาประโยคเหตุ หรอื ผลวางไวหนา - หลงั
๑. ปฏิบตั ิตามกฎ ชว ยลดอุบตั เิ หตุ (เหตุ + ผล)
๒. คนตายและติดคุก เพราะสนกุ คา ยาบา (ผล – เหต)ุ
๓. บา หวยหวงั รวยลดั จะวิบัติไมร ตู ัว (เหตุ – ผล)
แต “บา หวยหวังรวยลัด” เราจะไมส ามารถรูไดเลยวาประโยคนเ้ี ปน เหตุหรอื เปน ผล
เราอาจจะบา ! เสยี กอนจะไดคาํ ตอบ พอใสประโยค “จะวบิ ัตไิ มร ตู ัว” ทาํ ใหร เู ลยวา
ประโยค “บาหวย.....” เปน สาเหตุ ท่ที าํ ใหคนเราหายนะไมรูตวั

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (17)

คํา

๑. ระวงั นะคะคําตอ ไปนไี้ มใ ชคําสมาส คาํ สมาส-สนธิ จะตองเปนภาษาบาลี-สันสกฤตเทา นั้น
หา มนําภาษาอืน่ ไมว าจะ เปน ไทยแท เขมร องั กฤษ ปนไมไดนะคะ
พลเมือง เพราะ เมือง เปน คําไทย
ผลไม เพราะ ไม เปน คําไทย
คุณคา เพราะ คา เปน คาํ ไทย
ทนุ ทรัพย เพราะ ทุน เปน คําไทย
ราชวัง เพราะ วัง เปน คาํ ไทย
ราชดําเนิน เพราะ ดําเนิน เปน คาํ เขมร
พลความ เพราะ ความ เปน คําไทย
พลเรอื น เพราะ เรอื น เปน คําไทย
พระพุทธเจา เพราะ เจา เปน คาํ ไทย
ตรัสรู เพราะ รู เปน คําไทย
สรรพสิ่ง เพราะ ส่ิง เปน คาํ ไทย
มลู คา เพราะ คา เปน คาํ ไทย
ชาํ นาญการ เพราะ ชํานาญ เปน คาํ เขมร
เคมีภัณฑ เพราะ เคมี เปน คาํ อังกฤษ
ภมู ิลาํ เนา เพราะ ลาํ เนา เปน คําเขมร
เครือ่ งจกั ร เพราะ เครอ่ื ง เปน คําไทย
บายศรี เพราะ บาย เปน คําเขมร
กลเม็ด เพราะ เมด็ เปน คาํ ไทย
กรมทา เพราะ ทา เปน คาํ ไทย
เมรมุ าศ เพราะ มาศ เปน คาํ เขมร
กระยาสารท เพราะ กระยา เปน คาํ เขมร

ภาษาไทย (18)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

๒. คณุ ครูอยากถามหนูๆ วา คําตอไปนใี้ ครเปน คํามูล คําประสม คําซอน คําสมาส คําสนธิ วลี
และประโยค

รถ รถไฟ รถรา ราชรถ
รถพ่ี รถาภรณ รถเสีย

รถ = คํามลู เพราะเปน คําดง้ั เดิม คําๆ เดียวยงั ไมเ กิดการรวมคํากนั ข้ึน
รถไฟ = คาํ ประสม เพราะเปน คํา ๒ คาํ นํารวมกันแลวเกิดความหมายใหม แตย ังคงมี
เคา ความหมายเดมิ
รถรา = คาํ ซอน เพราะนาํ คาํ ๒ คาํ มาวางคกู ัน เนน ความไพเราะของเสียง รถราจัดเปน
คาํ ซอนเพือ่ เสียง
ราชรถ = คาํ สมาส เพราะเปนคํา ๒ คํา จากภาษาบาล-ี สันสกฤต นาํ มาชนกนั โดยออก
เสยี ง อะ ระหวา งคาํ
รถาภรณ = คาํ สนธิ เพราะเปนคํา ๒ คาํ ภาษาบาลี-สนั สกฤต นํามาเชือ่ มกนั โดยตรงรอยตอ
เกิดสระใหม
รถพี่ = วลี เพราะเปนกลุมคาํ หรอื ประโยคท่ไี มสมบูรณ ไมใชค าํ ประสมเพราะไมไ ด
เกดิ ความหมายใหม จะเปนประโยคก็ไมไดเพราะขาดภาคแสดง
รถเสยี = ประโยค เพราะมที ั้งภาคประธานและภาคแสดง
๓. คาํ ประสมกับคาํ ซอ นเพอื่ ความหมาย หนาตาจะคลายๆ กนั นกั เรียนวา คาํ ทีมไหนเปนคําซอน
คําทมี ไหนเปนคําประสม

ทมี ลิเวอรพลู ทมี แมนยฯู
๑. บา นเรอื น ๑. บา นเชา
๒. ผคู น ๒. ผแู ทน
๓. จานชาม ๓. จานดาวเทยี ม
๔. ลกู หลาน ๔. ลกู คา
๕. พอ แม ๕. พอ ครวั
๖. ใจคอ ๖. ใจดาํ
๗. จิตใจ ๗. ตดิ ใจ
๘. มดื คํ่า ๘. มืดหนา
๙. ชกั นาํ ๙. ชกั ใย
๑๐. ตดิ ขดั ๑๐. ตดิ ลม
๑๑. เรือแพ ๑๑. เรอื ดวน
ตกลงใหท ีมแมนยฯู หรอื ทมี ลเิ วอรพ ลู เปนคําซอ น คําประสมกันคะ
ตอบ คาํ ที่เปนผูเลน ๑๑ คน ในทีมลิเวอรพลู เปน คาํ ซอน เพราะความหมายคงเดิม
คาํ ที่เปนผูเลน ๑๑ คน ในทีมแมนยฯู เปน คาํ ประสม เพราะเกดิ ความหมายใหม

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (19)

๔. ความแตกตางระหวา งแมนยฯู กบั ลิเวอรพูล เอย! ไมใช ความแตกตา งระหวา งคาํ ประสมกับ
คาํ ซอน คอื

คาํ ประสม คาํ ซอน

๑. ตองเกิดความหมายใหม ๑. ไมไดเกิดความหมายใหม
๒. ๒ คาํ ท่มี ารวมกนั ตอ งมีความหมาย ๒. ๒ คําที่มารวมกัน ความหมาย
ไมเหมือน ไมค ลา ย และไมต รงขาม ตอ งเหมอื น ตองคลาย และตองตรงขา ม
๓. นํ้าหนักของคําเนนตัวหนา (คําตน) ๓. นาํ้ หนักของคาํ เนนทั้ง ๒ คํา

๕. คาํ ประสมสามารถมีความหมายใหม แปลเปรยี บเทยี บ จดั เขา ขา ยเปนสาํ นวนก็ได เชน
คอตก อาการที่หวั งดุ ลงมาแสดงอาการผิดหวงั
ออกนอกหนา แสดงความรูสกึ ใหป รากฏทางสีหนา แสดงอาการใหปรากฏอยางชัดแจง
จับตาย จบั ตัวมาใหไ ดแมวาจะตอ งทําใหตาย
ตาคม ตาท่มี ีลกั ษณะอยา งของมคี ม อาจบาดหรอื แทงใจได
หวั นอก ทีน่ ิยมแบบฝรั่ง, ที่มคี วามคิดอานแบบฝร่ัง, ทนี่ ิยมของทีผ่ ลิตจากตา งประเทศ
ปากแข็ง พดู ยืนยันหรอื เถยี งอยา งดื้อดนั ไมยอมจาํ นนขอ เท็จจรงิ
เดินหนา กาวหนา หรอื พัฒนา ลุลวงไป
มา ใช คนข่ีมาสาํ หรบั รบั ใช, คนเร็วสาํ หรบั สงขาวสาร, คนรบั ใชติดตอ
แกะดาํ คนท่ที ําอะไรผิดเพ่ือนผิดฝงู ในกลมุ นั้นๆ (ใชใ นทางไมดี)
กาฝาก คนทถ่ี ว งความเจริญผูอ่ืน
แมวมอง ผูที่คอยสังเกตหรือซุมดูวามีใครสวยหรือเลนกีฬาเกงแลวแนะนําใหวงการท่ี
เกี่ยวของ ชกั ชวนมาเปน ดารา ประกวดความงาม หรอื รวมแขง ขันกีฬาเปนตน
หนา มา ผูทีท่ าํ เลห เ หล่ยี มเปนเหมอื นคนซ้ือหรอื คนเลนการพนนั เปนตน เพ่อื เปนส่อื จงู ใจ
ใหค นหลงซ้อื หรอื เลนการพนนั ดวย โดยปริยายใชเ รียกคนทหี่ ากนิ ในลักษณะ
คลายคลึงเชน นั้น
ลูกหมอ โดยปรยิ ายหมายถึงผูท่ีมีวิชาชีพโดยสืบตอเช้ือสายกันมาหรือทํางานในสังกัด
นน้ั ๆ มาต้งั แตเ ดมิ
ตีนแมว โจร หรอื พวกยองเบา
ถอื หาง เขา ทางฝายทต่ี นพอใจ (มาจากภาษาชนไก ยึดเอาไกตวั ใดตัวหน่ึงในการตอ รอง)
หัวหมนุ งง, สับสน, หวั หมนุ เปนลกู ขา งกว็ า
เจาะขา ว ตง้ั ใจเฉพาะ, มุงไปท่ีการทําขาว
ตายดาน หมดความรสู ึกทางสัมผัส, ไมม คี วามรสู ึกเหมอื นอยางท่ีเคยม,ี โดยปริยาย
หมายความวา หยุดเจริญกาวหนาคิดอยแู คน ั้น
ปด ปาก ไมพ ูดหรือไมใหพดู เชน ปด ปากเงียบ พยานถกู ฆา ปดปาก
สั่งเสยี เตือน, กําชบั , บอกใหเขา ใจ
ใจแตก ประพฤตไิ ปตามทต่ี นนิยมในทางท่ีผดิ หรอื นอกโอวาทจนเคยตวั
นอ ยใจ รสู กึ เสยี ใจที่ไมไดร ับความเปนธรรมเปน ตน

ภาษาไทย (20)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๖. โครงสรางคําประสม ใหดูทว่ี าคาํ ประสมนัน้ เกดิ จากคํามูลทเี่ ปน นาม กรยิ า วิเศษณ บุพบท
นาํ มารวมกัน เชน
เขม็ กลัด, ขา วตม, สมตํา → เกดิ จาก นาม + กรยิ า
น้าํ หวาน, ใจดาํ , นาํ้ หอม → เกดิ จาก นาม + วเิ ศษณ
ตกแตง, ตดิ ตั้ง, เลอื กตัง้ → เกดิ จาก กริยา + กริยา
เบีย้ ลา ง, ของกลาง, นางใน → เกิดจาก นาม + บพุ บท
๗. โครงสรา งคําซอ นใหด ทู ่ี คํา ๒ คูนั้นมคี วามหมายอยา งไร เหมอื นกนั คลายกนั หรอื ตรงขามกัน
ความหมายเหมือนกัน = บานเรือน แสวงหา ผคู น จติ ใจ มดื ค่ํา โงเ ขลา อว นพี ฯลฯ
ความหมายคลา ยกนั = วัวควาย จานชาม ลูกหลาน โกรธแคน ใกลชดิ ดดู ดมื่ ไรน า ฯลฯ
ความหมายตรงขามกัน = ผิดถกู พอ แม สงู ตา่ํ ชวั่ ดี ซ้อื ขาย ไดเสีย เทจ็ จรงิ สน้ั ยาว ฯลฯ
๘. คาํ ซอนไมจาํ เปนตอ ง ๒ คําเสมอไป ตง้ั แต ๓-๔ คาํ นาํ มาซอนกันก็ได
“ปูยา ตายาย ตื้นลึกหนาบาง ใหญโตโอฬาร เยอื่ ใยไมตรี ปด บังซอ นเรน
ปดกวาดเชด็ ถู ลืมตาอาปาก อุปถมั ภค ้ําจนุ เคารพนบนอบ ขบั ไลไ สสง
ลม หายตายจาก ถวยโถโอชาม เสาะแสวงหา แตงเสรมิ เตมิ ตอ ”
๙. “ปยู าตายาย กหู นย้ี ืมสิน ทาํ ไรไ ถนา กอรา งสรา งตัว เกดิ ดอกออกผล” ครูลลิ ลี่อยากถามวา
คาํ ซอ นคาํ ใดตา งจากพวกในแงความหมาย
ตอบ ปยู า ตายาย เพราะเกิดจากคําทม่ี ีความหมายตรงขา มกันแตค ําซอ นทเี่ หลอื เกิดจากคาํ ทม่ี ี
ความหมายคลายๆ กนั
๑๐. ชนดิ ของคาํ ท่สี รา งคาํ ซอ นตอไปนใ้ี หน กั เรยี นลองหาวาใครสรางเหมอื นคาํ วา “ปด กวาดเชด็ ถ”ู
ระหวา ง “ปด บงั ซอนเรน ” กับ “ลืมตาอา ปาก” ชนิดของคาํ เราก็ดวู า เปน นาม กรยิ า วเิ ศษณ . ..
ตอบวา ปด กวาดเช็ดถู มชี นิดของคาํ เหมือน ปด บงั ซอนเรน เพราะเกิดจากกริยา ๔ ตัว
เรียงติดกนั แต ลืมตาอา ปาก เกิดจาก กริยา + นาม + กริยา + นาม
๑๑.
คําเปน ใหด ูตวั สะกดอันดับแรก
คําตาย
คาํ ตาย สะกดดว ยแมก ก, แมกบ, แมกด = ทองวา กบด ใครกบฏมันตอ งตาย
คาํ เปน สะกดดวยแมก ม, แมกน, แมกง, แมเกย, แมเกอว = ทองวา มนงยว (มะนงยะเวอะ)
๑๒. กรอ นเสียง เชน หมากพราว → มะพราว (ทาํ ใหเสียงสั้นลง หดลง)
๑๓. กลืนเสียง เชน อยางน้ี → อยา งง้ี (รวมเสียง)
๑๔. ตดั คํา เชน คอนโดมิเนยี ม → คอนโด (ตัดบางพยางคออกไปเพื่อสะดวกใหพดู เร็วขึ้น)
๑๕. คาํ ท่ีมีความหมายแคบกวาง เชน ผลไม กับ สม
ผลไม ความหมายกวา ง สม ความหมายแคบ
๑๖. พอ งรูป = รูปเหมือน = เพลารถ เพลาเยน็ (เวลาอา นจะอานไมเ หมือนกนั )
เพลารถ = ควบกลํา้
เพลาเย็น = เพ-ลา
๑๗. พองเสียง = เสียงเหมอื น = การ กาล กาฬ กานท กานต กาญจน

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (21)

๑๘. พอ งทง้ั รปู พอ งทั้งเสยี ง = เหมือนทงั้ รูปเหมอื นทัง้ เสียง ทั้ง ๓ พองน้ี ความหมายจะ
ไมเ หมือนกัน ถาความหมายเหมอื นกนั เราเรยี กวา พองความหมาย (ไวพจน, หลากคํา) คําพอ งความหมาย
เชน กุญชร ไอยรา คช หตั ถี = ชา ง
๑๙. คําที่มีความหมายใกลเ คยี งกนั = เคลอ่ื นยา ยกบั โยกยาย ใชตา งกัน เชน เคล่ือนยา ยกําลงั พล
โยกยายตําแหนง
๒๐. คําที่มคี วามหมายตรงขามกัน = สุรยิ ัน - จันทรา ดวงอาทิตย - ดวงจนั ทร
(แตต อ งใชภาษาระดบั เดยี วกนั หาม! สุรยิ ัน - ดวงจนั ทร)
๒๑. หา มพดู ภาษาวรรณคดีในชวี ติ ประจําวนั นะคะ เชน คุณแมค ะ ไปซอื้ สุวรรณท่ีเยาวราชกนั ดี
ไหมคะ (ถาพดู แบบนี้อาจโดนแมฟาดไดค ะ )
๒๒. ความหมายนยั ตรง = แปลตรงตามพจนานกุ รม
๒๓. ความหมายนัยเปรยี บเทียบ = แปลไมตรงตัวมีความหมายอกี นยั หนึง่ ทสี่ งั คมไทยทว่ั ไปจะรจู ักกัน
จับ = นยั ตรง แปลวา สัมผสั
จับ = เปรียบเทียบ แปลวา หลอกใชใครคนใดคนหนงึ่ , หลอกกิน
เชน หลอ นคดิ จะจับลูกนักการเมอื ง
๒๔. คําซํ้าในวรรณคดี จะไมใสไ มยมก (ๆ)
“เรอ่ื ยเรือ่ ยมาเรยี งเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหม”ู
เขยี น เรอ่ื ยเร่อื ย เรยี งเรยี ง ไมต องเขยี นเรื่อยๆ เรียงๆ
๒๕. คาํ สมาส-คําสนธิ สามารถรวมคาํ มากกวา สองคาํ ขึ้นไปก็ได เชน
= เอก + อคั ร + ราช + ทตู
เอกอคั รราชทูต = พระ + บรม + ราช + อุบาย

พระบรมราโชบาย = มห + พฤฒ + อาราม

มหาพฤฒาราม = ไตร + โลก + นาถ

ไตรโลกนาถ
ราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม = ราช + บพธิ + สถติ + มหา + สมี า + อาราม

ภาษาไทย (22)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ประโยค

๑. มนี ักเรยี นกลมุ ใหญว ่ิงหนาตาต่นื เหมอื นโดนอะไรสักอยา งหลอกหลอนมา เขามาถามครูลิลลว่ี า
“ผมจะดปู ระโยคสํานวนตา งประเทศไดอยางไรครบั ขนาดประโยคภาษาไทยยังยากเลยครับ” ครลู ลิ ลกี่ ็เกิดปญ ญา
ไดวาถา จะสอนใหเดก็ ๆ ดูประโยคท่ีมสี ํานวนการเขยี นแบบตางประเทศนน้ั ตอ งใหน กั เรยี นเจอหนา ตาประโยค
ทมี่ ีโครงสรางหรอื สาํ นวนตา งประเทศเอง เขาจะไดประมวลความคดิ แลว นึกถงึ ความแตกตางกับการเรยี ง
ประโยคภาษาไทย

ตอไปน้ีจะเลาถงึ โครงสรา งประโยคตางประเทศ ทีอ่ ยูในภาษาไทยนะคะ สังเกตดๆี นะ
๑. สมบูรณถูกทาํ โทษโดยครใู หญ
๒. เรื่องนงี้ า ยตอการเขาใจ
๓. งานเขยี นของเขาเปน ทีน่ าสนใจของคนหมูมาก
๔. ทกุ ส่ิงทกุ อยา งจบลงดวยความตายของตวั เอก
๕. เยาวชนเปนผูท ีน่ าํ มาซึง่ ความหวงั ของสังคม
๖. ปจจุบันการแพรร ะบาดของยาบาไดข ยายตวั เพม่ิ ข้ึน
๗. วัคซีนชนดิ นแ้ี มวา จะมขี อ ดี แตก ็ไมควรใชในผูใหญว ยั ชรา
๘. ฉนั ไดย ินขาววา เขาจะไปองั กฤษในอนาคตอันใกลน ้ี
๙. มันเปนอะไรที่สวยงามจนผมนึกไมถงึ
๑๐. ผมเต็มใจใหค วามชวยเหลอื เต็มที่
๑๑. ผลงานของคณุ เปนท่ีนาพอใจมาก
๑๒. มนั เปน การยากที่คนเราจะเหน็ ขอบกพรองของตนเอง
๑๓. เราขอแสดงความยนิ ดที ค่ี ณุ นําความสาํ เรจ็ และนาํ ชอ่ื เสียงมาสปู ระเทศไทย
๑๔. งานกาวไกลไทยทาํ จดั ขนึ้ โดยคณะกรรมการสง เสรมิ การลงทนุ
๑๕. ชาวตา งชาติมกั จะกลา ววา วชิ าภาษาไทยยากแกก ารเรยี น
๑๖. คณะกรรมการชมรมนกั เรยี นเกา ชดุ นีถ้ ูกจับตามองจากสมาชิกตลอดเวลา
๑๗. การนําชาวบา นมาชมุ นุมประทว งครัง้ นท้ี าํ ใหป ระเทศไดร บั ความเสยี หายมาก
๑๘. ในอดีตแหลงน้ําของไทยมอี ยอู ยา งเพยี งพอตอการใชป ระโยชน
๑๙. การทอ งเท่ียวของไทยในปจ จบุ นั ไดป รบั เปลยี่ นไปสูการทองเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม
๒๐. ปจ จบุ นั โทรศพั ทไ ดวิวัฒนาการใหมคี วามสามารถในการใชทีท่ ันสมัยขนึ้
๒๑. โรคตับอักเสบในผูใหญมอี าการรุนแรงและเปน นานกวา ในเดก็ เลก็
๒๒. เราควรเลือกซอ้ื ผักที่มรี พู รนุ จากการถกู แมลงกัดกินบางจะดกี วา
๒๓. วธิ ที าํ ไมยากเม่อื ผกั สกุ ตกั ออกแชน ํ้าเย็นเพอื่ หยดุ การสุกของผกั
๒๔. นวนิยายเรอ่ื งคูกรรมแตง โดยทมยนั ตี
๒๕. มันเปน เวลาบา ยทีข่ า พเจาเดินทางมาถงึ สยามสแควร

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (23)

๒๖. ๒ โจรถกู จับเมื่อวานนี้ท่ีชลบุรี
๒๗. ไมเ ปนการยากทเ่ี ราจะสง ประวัตขิ องเขา
๒๘. ในความคิดเห็นของผม ผมคดิ วา หลอ นเหมาะจะลงหนา ปก
๒๙. เมอื่ พจิ ารณาใหดีแลว จะเหน็ วา ปญ หาน้นี ํามาซง่ึ ปญหา อกี หลายๆ ดาน
๓๐. รฐั บาลภายใตการนําของนายกฯ ทักษณิ ชนิ วัตร ทาํ งานกนั อยา งแขง็ ขนั
๓๑. แดงเขาใจผิดดํามาก
๓๒. เขาเสียใจกบั การสอบไลต กของเพอ่ื น
๓๓. หองนาํ้ เตม็ ไปดว ยฝนุ
๓๔. หลอ นพบตวั เองอยใู นหองคนเดยี ว
๓๕. หลอนซอนรางในชดุ นอนสขี าว
๓๖. พ่เี บิรด จะมาในเพลงแฟนจา
๓๗. มหี กโรครายทคี่ ุกคามชีวิตของทารกนับลา นในแตละป
๓๘. ฉนั ใชชวี ติ อยทู โ่ี คราชนานมาก
๓๙. สถานตากอากาศแหง น้ีไดร ับความสนใจและการรจู ักของคนเปน จํานวนมาก
๔๐. การเดินขบวนประทว งของนกั ศกึ ษาพมา เปนการปน ปวนเสถยี รภาพของรัฐบาล
ครูวาพวกหนูๆ คงจะเห็นตัวอยางสํานวนการใชโครงสรางของตางประเทศ ในประโยค
ภาษาไทยหลายคนอาจไดแนวคิด มุมมองหลากหลาย บางคนยังมองไมออก ไหนเราลองไปดูวิธีการแกใหเปน
ประโยคภาษาไทย นกั เรียนจะไดเ ห็นความแตกตา งระหวา ง ตมยาํ กุงกับแฮมเบอรเกอร
๑. ครใู หญตีสมบรู ณ (ตอ งเรยี ง ประธาน + กริยา + กรรม)
๒. เรือ่ งนเี้ ขา ใจงา ย (งายไปขยาย เขา ใจ สวนขยายตอ งวางขางหลัง)
๓. คนหมูมากสนใจงานเขยี นของเขา (ประธาน + กรยิ า + กรรม)
๔. เม่ือตัวเอกตาย ทุกสง่ิ ทกุ อยางก็จบลง (ใชหลักประโยคความรวมเขามาชว ย เมือ่ ...ก็)
๕. เยาวชนเปนความหวังของสังคม (ใชกริยา เปน แสดงไปเลยวาเปนอะไร ไมต อ งใสน ํามาซงึ่ )
๖. ปจ จบุ นั ยาบาแพรร ะบาดไดขยายตวั เพิม่ ขน้ึ (เราจะใหป ระธาน เปนผูแ สดงอาการกระทาํ เลย)
๗. ..........แตก ไ็ มค วรใชก บั ผูใหญว ัยชรา (ใน ผใู หญว ยั ชรา จะเหมอื นกับ in adult)
๘. ฉันไดย ินขา ววา เขาจะไปองั กฤษเร็วๆ น้ี (ในอนาคตอันใกลนี้ เปนสาํ นวนฝร่ัง)
๙. ผมนึกไมถ ึงวามันจะสวยงาม (ตองเรยี งจากประธาน ผม เปนผกู ระทําขน้ึ ตน ประโยค)
๑๐. ผมเต็มใจชวยเหลอื เตม็ ท่ี (ไมตองใสพ วกใหความ มคี วาม ในความ ทําความ)
๑๑. ผลงานของคุณนาพอใจมาก (การใส เปนท่ี จะทาํ ใหประโยคฟมุ เฟอย ภาษาไทยไมน ยิ ม
ทาํ ใหป ระโยค ฟมุ เฟอ ย)
๑๒. คนเราจะเหน็ ขอบกพรอ งของตนเองยาก (ยาก เปน สว นขยายตองวางขา งหลัง)
๑๓. เรายนิ ดีทีค่ ุณประสบความสาํ เรจ็ และสรา งช่ือเสยี งมาสูป ระเทศไทย
๑๔. คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนจัดงานกาวไกลไทยทาํ (ประโยคภาษาไทยจะเรียงแบบ
Active Voice)

ภาษาไทย (24)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

๑๕. ชาวตา งชาตมิ ักจะกลา ววา วชิ าภาษาไทยเรียนยาก (หา มใช ยากแกก ารเรียน = Hard to learn)
๑๖. สมาชิกจบั ตามองคณะกรรมการชมรมนักเรียนเกาชดุ นี้ (นักเรยี นตองพลิกกลบั ไปกลบั มา
ท้ังหนา ประโยคสํานวนตางประเทศ และประโยคสํานวนไทย เพอื่ จะไดเหน็ ความแตกตา งนะคะ)
๑๗. ชาวบานมาชุมนุมประทวงครง้ั นี้ทําใหป ระเทศเสียหายมาก (ตัด การนาํ ท้ิง ตดั ไดรับ
ความ ท้งิ )
๑๘. ในอดีตแหลง นํา้ ของไทยมีใชอยางเพยี งพอ (ประโยคของเดมิ จะจัดวา ฟมุ เฟอ ย)
๑๙. .......... ปรบั เปล่ียนเปน การทองเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม (ใชก รยิ า เปน จะถอื วา เรามีกริยาการ
บอกสภาพ)
๒๐. ปจจุบันโทรศัพทมีวิวัฒนาการความสามารถที่ทันสมัยข้ึน (เพราะประโยคเดิมฟุมเฟอย
ตรง ใหมี ในการใช)
๒๑. ผูใหญท่ีเปน โรคตบั อักเสบมีอาการรนุ แรงและเปนนานกวา เดก็ เล็ก (ตดั ใน ท้ิง และใช
สว นขยายวางขา งหลงั )
๒๒. เราควรเลอื กซือ้ ผกั ที่แมลงกดั กนิ เปนรพู รุน (ใชประโยคความซอนมาขยายผัก)
๒๓. .......... ตกั ออกแชน้าํ เย็น เพอ่ื ไมใ หผ กั สกุ เกินไป (หยดุ การสกุ ของผัก เปนสํานวนเฉพาะ
ของฝร่งั )
๒๔. ทมยันตีแตงนวนยิ ายเรอื่ งคูกรรม (ถา แตงโดย = Composed by)
๒๕. ขา พเจามาถึงสยามสแควรเ วลาบาย (มันเปนเวลาบา ย = สํานวนวา It’s)
๒๖. โจร ๒ คนถกู จบั เมื่อวานน้ีทชี่ ลบุรี (ลักษณะภาษาไทยตองมีลักษณนามตามหลังจํานวนนบั )
๒๗. เราจะสงประวตั ิของเขาไมยากเลย (สวนขยายก็วางไวข างหลงั )
๒๘. ผมคดิ วาหลอนเหมาะจะลงหนาปก (ในความคดิ เหน็ ของผม = In my opinion)
๒๙. ........ ปญ หาน้ีกอ ใหเ กิดปญ หาอีกหลายๆ ดาน (ใชคาํ นี้ แทน นํามาซ่ึงจะดดู ีกวา)
๓๐. รฐั บาลของนายกฯ ทกั ษณิ ชินวัตร ทาํ งานกันอยา งแขง็ ขนั (ภายใตก ารนํา = สาํ นวนตาง
ประเทศ)
๓๑. แดงเขาใจดําผดิ มาก (ถา พดู เขาใจผดิ ดํา = misunderstand)
๓๒. เขาเสียใจท่ีเพื่อนสอบไลตก (กับการสอบไลตกของเพ่ือน เรียงคําเปนกลุมคําแบบนี้
คนไทยไมนิยม)
๓๓. หอ งน้าํ มฝี ุนมาก (เต็มไปดวยฝุน = full of…)
๓๔. หลอ นอยใู นหอ งคนเดียว (พบตวั เอง = found herself)
๓๕. หลอนใสชุดนอนสขี าว (ซอนรา ง เปนสาํ นวนตางประเทศ)
๓๖. พ่ีเบิรด จะรอ งเพลงแฟนจา (จะมาในเพลง เปน สาํ นวนตางประเทศ)
๓๗. มีโรครายหกโรคที่คกุ คามชีวิตของทารก.... (ภาษาไทยตอ งมลี กั ษณนามนะคะ)
๓๘. ฉนั อยโู คราชนานมาก (ใชชีวติ อยู = สาํ นวนตา งประเทศ)
๓๙. คนเปนจํานวนมากสนใจและรูจักสถานตากอากาศแหงน้ี (ตองเรียงภาษาไทยแบบ
ActiveVoice)
๔๐. การเดินขบวนประทว งของนักศกึ ษาพมา ทาํ ใหเ สถียรภาพของรฐั บาลปนปว น (ปน ปว น
เปนสวนขยาย ตองวางไวขา งหลงั )
โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (25)

๒. ชนดิ ประโยค คอื ความเดยี ว ความรวม ความซอ น
๓. ประโยคกรรม คอื เอากรรมวางหนาประโยค เชน “กระทงใบนีค้ ุณยายเยบ็ เอง” (กระทงถกู เย็บ)
๔. ประโยคละประธาน ละกรรม เชน “วนั น้ีแมจะกลับบานเย็นคงไมม เี วลาทํากับขา ว พอ จะทาํ เอง”
หนาคําวา “คง” ละคําวา “แม” (ประธาน) หลังคาํ วา “ทาํ ” ละคําวา “กับขา ว” (กรรม)
๕. ประโยควางสว นขยายผดิ ที่ “สตรีมีครรภและเปน เบาหวานมคี วามเส่ยี งทจ่ี ะแทง หรือมีลูกพกิ ล
พิการมาก”

มาก ไมควรจะขยาย “พกิ ารมาก” ตอ งขยาย “เสยี่ งมาก” เพราะดจู ากเน้อื ความเธอทั้ง
มคี รรภและเปนเบาหวานดวย นาจะมีความเส่ียงมาก ตา งหาก

๖. ประโยคท่ีมีโครงสรา งเปน สํานวนตางประเทศ
๑. วางสวนขยายหนาคําหลัก
๒. ใชคําฟุมเฟอย เยน่ิ เยอ
๓. วางกรรมขึ้นตน ประโยค เขาขา ย (Passive Voice)

๗. การโนม นาวใจ : หา มออกคําส่งั ขู บงั คับ ประชดประชนั
๘. อุปนัย : การสรุปแบบไมแนนอน อาจจะเกดิ หรอื ไมเกดิ ก็ได
๙. นิรนัย : การสรุปแบบแนน อน เกดิ แนๆ
๑๐. อนุมานจากเหตุ → ผล เชน “กนิ ยาไปแลว เดี๋ยวก็คงดขี ึ้น”
๑๑. อนมุ านจากผล → เหตุ เชน “ฉันปวดทอ งเหลอื เกิน คงเปน เพราะสมตําม้อื เทย่ี งแนๆ”
๑๒. อนุมานจากผล → ผล เชน “บราซลิ เปน แชมปฟุตบอลโลกสมยั หนา ก็คงครองแชมปอ กี ”
๑๓. ทรรศนะ : การแสดงความคิดเหน็ ตรงกนั ขา มกบั ขอเท็จจริง
๑๔. สกรรมกริยา = กรยิ าทต่ี องการกรรมมาวางทาย เพอ่ื ใหป ระโยคสมบรู ณ : เขาฆา ... (ตอ งใส
กรรมจึงจะรูเรือ่ ง)
๑๕. อกรรมกริยา = กรยิ าไมตอ งการกรรมมาวางทาย มันก็ทาํ ใหประโยคสมบูรณแ ลว : เขานอน
(ไมต องการกรรม)
๑๖. ประโยคไมสมบรู ณ = ขาดสวนใดสวนหน่ึง ไมว า จะขาดประธาน ขาดภาคแสดง หรือขาด
อกี ๑ ประโยคกไ็ ด เชน

“การเสนอผลงานวิจยั เม่อื วานนี้” ขาดภาคแสดง แลวไงตอละจะบอกอะไรหรอื
“มอี ิทธพิ ลตอ เยาวชนไทยเปนอยางมาก” ขาดประธาน ไมรวู าใครมีอทิ ธพิ ล
“แมวา เขาจะไมอา นหนงั สือ” ขาดอกี ๑ ประโยค มาตอ ใครครบสมบูรณ เพราะเรานํา
สันธานมาแลว ตอ งมาเชอื่ มประโยค ๒ ประโยค
๑๗. ประโยคฟมุ เฟอ ย : มคี วามเกนิ เขา มาโดยไมจาํ เปน ตองตดั ทิ้งไป เพราะมนั มคี วามหมาย
เหมอื นกัน
“การกอสรางในซอยน้ี นายชางผูควบคุมการกอสรางควรจะมาดูแลการกอสรางบาง
เพ่ือความเรียบรอ ยของงาน”
แกเปน “นายชางผคู วบคมุ การกอสรางในซอยน้คี วรจะมาดูแลบา งเพ่อื ความเรียบรอ ยของงาน”

“เขาใหก ารชว ยเหลือเดก็ ยากจน” → “เขาชวยเหลือเดก็ ยากจน”
แต “เขาใหการตอศาล” ประโยคนถี้ ือวา ใหการไมฟ ุมเฟอ ยเพราะใหเปน กรยิ าแท
การ = กรรม
ภาษาไทย (26)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๑๘. ประโยคกาํ กวม = ตีความหมายไดมากกวา ๑ ความหมาย ความหมายไมชัดเจน
“แมบ อกใหนอ งกนิ ขาวเอง” ไมร วู า แมบอกเอง หรือ นอ งกินเอง
“หนงั สือพิมพมาแลวตง้ั แตเม่อื วาน” ไมร ูวา หนังสือพมิ พทแี่ ปลวา newspaper หรือหนังสือ

book (หนงั สอื พิมพ)
“นดิ อานหนังสือทเี่ ขาเขยี นเองท่ีสโมสรทกุ วนั ” ไมรูว า อา นทสี่ โมสร หรอื เขียนทส่ี โมสร
“ฉันอยากใหหัวหนาเหน็ ดว ย” ไมร ูว า ตกลงดว ย หรอื ดดู ว ย

๑๙. ประโยคทไ่ี มส มเหตุสมผล : มเี หตุผลทไี่ มเกี่ยวเนอ่ื ง คนละเรื่องกันเลย
“ภาษาไทยเปนภาษาท่ีดีเพราะมตี ัวอกั ษรและตวั เลขเปนของเราเอง”
ผดิ ตรงคําวา “ทดี่ ”ี ไมค อยมเี หตุผลเลย แบบนีท้ กุ ภาษาในโลกเขากอ็ า งไดเ หมอื นกนั วา เขาก็มี

ภาษาท่ีดเี หมอื นกนั เพราะเขากม็ ีตวั อักษรและตัวเลขเปนของตวั เอง
นักเรียนวา ควรใหเ หตผุ ลอยางไรดี ถา ไมใ ชคาํ วา “ทด่ี ”ี ครูคดิ วาควรใชค าํ วา เอกลกั ษณ จงึ จะ

เหมาะสมกวากัน เพราะมีตัวอักษรและมตี ัวเลขเปน ของตวั เองกต็ อ งเปน เอกลักษณ ลกั ษณะเฉพาะทไี่ มมใี คร
เหมือน และไมเหมือนใคร

๒๐. ประโยคกํากวม
๑. ปจ จบุ ันแพทยพ ยายามแนะนําการเลย้ี งเดก็ ใหไ ดขนาดพอดี
๒. ฉันไมชอบคนทีพ่ ูดมาก
๓. นายแดงจะรว มอภปิ รายเรอื่ งความสะอาดที่หอประชุมในวันน้ี
๔. อาหารจานนี้แมบอกใหนองกินเอง
๕. ชาวบานนิยมใชไ มไ ผสานเขงใสปลาสงขายกันจนเปนทร่ี จู ัก
๖. ขนมช้ันน้ใี ครหยิบไป
๗. รอนจังขอผา เชด็ หนาหนอย
๘. คนเปน ทาํ ไมไมท าํ
๙. เดยี๋ วนเ้ี ขาใหญมาก
๑๐. ตาคุณเปนอะไร
๑๑. เย็นแลวถึงจะแกไ ขกไ็ มท นั
๑๒. ฉันเหน็ เหมอื นคุณ
๑๓. บรษิ ทั น้ถี าเงนิ หาย เจา หนาทีต่ อ งออก
๑๔. ของมันๆ อยา งนใี้ ครจะไมช อบ
๑๕. ตดิ ไฟหรือยงั
๑๖. หนงั สอื เลมนอี้ า นแลวชกั ติด
๑๗. โคช ทีมชาตซิ อมนกั กีฬาของเขา
๑๘. เราตอ งทาํ งานอยางมีแผน
๑๙. ขา วเยน็ กินเยน็ ๆ
๒๐. เดก็ อะไรก็ไมร นู ิสัยเสียใชไ มได
๒๑. เอางานช้ินนีไ้ ปใหหัวหนา ดูซิ ฉนั อยากใหทา นเหน็ ดวย

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (27)

๒๒. พอพชี่ ายลุกขึ้น พวกหลอนกล็ กุ ไปตามเขา
๒๓. ใครตามตาํ รวจมา
๒๔. โจกอนุ หรือยงั คะ
๒๕. เขาเปน ลกู ตดิ แม
๒๖. พรุงนีไ้ มวางมนี ัดตองผา ตัด
๒๑. ประโยคทวี่ างสวนขยายผดิ ที่
๑. หามเด็ดขาดนั่งหลังคารถไฟ
๒. ครูเปนทรพั ยากรบุคคลในการสง เสรมิ การศึกษาทีส่ ําคัญ
๓. เขาเริ่มพฒั นาอยางเรง รีบเรื่องสาธารณูปโภคในหมบู า น
๔. ประวัตศิ าสตรแ บบอาณานคิ มไมนอ ย ใหอทิ ธพิ ลแกก ารศึกษาประวตั ศิ าสตรไทย
๕. ปรากฏวา เดก็ มีแผลฟกช้าํ ดาํ เขียวทตี่ น ขาจากการตรวจของแพทย
๖. กรุงเทพมหานครกําลังเรง แกไ ขอยา งเรงดว นเร่ืองปญหานํา้ ทวมขัง
๗. มนี กั ศึกษาหลายคนเขา รว มโครงการ “ถนนสขี าว” รวมทั้งชมรมอนรุ ักษสิ่งแวดลอม
๘. เวลาอยูต อหนาธารกาํ นลั กิริยามารยาทควรระวงั ใหเรียบรอย
๙. พรานปาไดฆาชางตวั ผแู ละตัวเมยี ซงึ่ มีลกู ออ นเพื่อเอางาอยางอาํ มหิตในเขตจังหวัดอุทัยธานี
๑๐. ขาวซึ่งแพรหลายออกไปท่วั โลกทน่ี าสลดใจน้ีเกิดขน้ึ เม่อื ปลายเดอื นกมุ ภาพันธ
๑๑. ผูวาราชการจังหวัดไดกลาววาพฤติการณทาทายกฎหมาย ท่ีอุกอาจและโหดเห้ียมเชนน้ี
ไมไดเ กดิ ขนึ้ เปน ครง้ั แรก
๑๒. ทหารเหลา นี้ไดร ับคาํ สัง่ ใหห ยดุ ยิงจากรฐั บาล
๑๓. พวกเขาไมไดต อ สูตามท่ีประกาศไวอ ยางสมศกั ด์ศิ รี
๑๔. เขาเปนคนดถี าเขาจะไมดม่ื เหลา
๑๕. คนไทยในชุมชนเมืองนยิ มอาหารตะวันตกซึ่งกอ ใหเ กิดปญ หาโรคอว นมาก
๑๖. คนไขค อยหมอทกุ คน
๑๗. ครูลิลลไ่ี ปเยีย่ มสามีชว่ั คราวทีอ่ ังกฤษ ๓ วนั
๑๘. การเดินทางใหความรแู กเ ราทางออม
๑๙. ฉนั วงิ่ ออกมาเซน็ ชื่อรับพัสดดุ ว ยเทา เปลา
๒๐. ไฟไดด บั ลงกอ นท่ีบานจะไหมห มดดว ยฝมือของตาํ รวจดับเพลงิ
๒๑. เขาเห็นเดก็ นอ ยขางชายหนมุ ท่ีกาํ ลงั กระโดดโลดเตน
๒๒. เธอปลอบความทุกขเ ขาใหค ลาย
ภาษาไทย (28)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๒๒. ประโยคอา นแบงวรรคตอนผิด
๑. แมพ ระมา
๒. ยายนอยบนถึงเสมอ
๓. พแ่ี กวอยูไ หน
๔. อยากันดีกวา
๕. นอยไปไหม
๖. บานหลังนขี้ ายใหลูกเขยคนอ่นื ไมเ กยี่ ว
๗. มีขาวพอกนิ ไหม
๘. ฉนั ขายบา นพ่ี
๙. อีกหากิโลกวาจะถงึ รบี เดินเร็วเขา
๑๐. ถาครูตกลงไปนกั เรียนจะเสยี ใจ
๑๑. ปลน รถทวั รระยอง-หนองคายคนขับไมย อมแจงตํารวจ
๑๒. ตอมาดนิ แดนสุวรรณภมู ิที่ติดกับพมา กก็ ลายเปน เมืองขนึ้
๑๓. ผชู ายใจเห้ยี ม ใชเ หล็กจิ้มหญิงตาบอด
๑๔. ชายผูนี้คืออาจารยน กั แตงเพลงผยู ิ่งใหญข องไทย
๑๕. พีเ่ ขด็ แลว ขายเส้อื ผา ท่ีจตุจักรเพราะขาดทนุ
๑๖. นา้ํ มันออกอยา งนจ้ี ะกนิ เขา ไปไดอ ยา งไร
๑๗. พี่สาวฉันไปอเมริกา ๔ ป กลบั มาไมมอี ะไรเหมอื นเดมิ
๑๘. พอไมพ อกต็ องมาหานองตม๋ิ อยเู รอ่ื ย
๑๙. ฉันไปเทย่ี วนครสวรรคกบั เพอ่ื นสองคน
๒๐. ออ เนอื้ สนุ ัขผมชอบกิน

๒๓. ประโยคฟมุ เฟอ ย
๑. ทางเดนิ ข้ึนภเู ขาขรุขระไมเ รียบทําใหเดินลําบาก
๒. เขาเดินไปจนสุดถนนก็พบบา นคนหลังหนง่ึ
๓. เดก็ นอ ยรอ งตะโกนเสียงดงั ล่นั
๔. เขาถกู ฆา ตายท่หี ลงั สวนเม่ือคนื วานน้ี
๕. ขอทา นไดโปรดกรุณารับทราบเร่อื งน้ีดวย
๖. อนชุ นรุนหลังควรรักษาศลิ ปวฒั นธรรมไทย
๗. มติมหาชนสวนใหญไมอ ยากใหร ัฐบาลขนึ้ ราคานํ้ามนั
๘. ครลู ิลลี่ทาํ การสอบต้งั แต ๖ โมงเชา
๙. ฝนตกตลอดวันต้งั แตเ ชา จรดเย็นจงึ ทําใหน ้ําทว ม
๑๐. ผคู นกาํ ลงั กระทาํ การรณรงคเ รอื่ ง ส.ส.ร.
๑๑. เขาเปน หวดั ในทกุ ครง้ั ทฝี่ นตก
๑๒. ทา นจะซอ้ื สินคา ซึง่ มรี าคาถูก
๑๓. เขามคี วามจาํ เปนตอ งรีบเดนิ ทาง

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (29)

๑๔. ศาสตรตางๆ ลวนอํานวยประโยชนแ กผ ูเ รยี นรูดว ยกนั ทกุ วชิ า
๑๕. นักกีฬาจีนวิ่งชนะเพ่อื นรว มชาติเดียวกนั
๑๖. กลว ยสกุ น้นั นํามาทําเปน ขนมไดห ลายชนิด
๑๗. พบศพชายไทยไมท ราบชือ่ ถูกยงิ ตามลําตัวนอนตายอยูรมิ ถนนวภิ าวดี
๑๘. คุณควรเอาใจใสด ูแลกบั ใบหนา ของคณุ ใหด ีท่สี ุด
๑๙. นักธุรกิจชาวเดนมารกใหค วามสนใจที่จะมารวมลงทุนกับนกั ธรุ กิจไทย
๒๐. พอ คา ตา งก็หลบเลยี่ งในเรอ่ื งของการตั้งราคาสนิ คา
๒๑. อันทจ่ี ริงเรื่องทฉี่ ันเลาใหฟงน้ีเปน เรอ่ื งจรงิ ท่ีเกดิ ข้นึ จรงิ ๆ
๒๒. ผลสบื เนอ่ื งอันเลวรายทีต่ ามมาคอื กรุงเทพฯ น้ําทว มท้ังเมอื ง
๒๓. ขอเชิญผสู นใจชมประติมากรรมกลางแจงนด้ี วยตาตนเองทถ่ี นนสลี ม
๒๔. โรงแรมขอขอบคณุ ทที่ านใหค วามสนใจในการใหบ รกิ ารของเรา
๒๔. ประโยคตอไปนม้ี ีทง้ั ขอเทจ็ จรงิ และทรรศนะ

ใหล กู ศษิ ยลองหาดนู ะคะ
“นํา้ ที่รา งกายตอ งการตองเปน น้าํ สะอาดปราศจากเช้อื โรคเราจงึ ควรด่มื น้ําทีต่ มแลว ”
ครูถามวา ทรรศนะอยหู นา หรอื หลัง
ตอบวา อยูตรง “เราควรดื่มนา้ํ ท่ีตม แลว”
๒๕. ประกาศอยางเปนทางการตอ งขึ้นดว ย
ประกาศ + หนว ยงาน เชน ประกาศ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
เรือ่ ง + ............ เรอื่ ง การปอ งกันโรคทางเดินอาหารฤดรู อนน้ี

ภาษาไทย (30)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

บทความ

ในบทความระวังเจอตวั เลอื กเปน หนา ตา ความหมาย ใกลเ คยี งกันอาจทําใหเรางงได
ระวงั ! นะคะ ครจู ะขอยกตัวอยางท่มี ักออกขอ สอบมาใหด กู นั
= ชี้แจงใหทาํ หรือปฏบิ ัต,ิ บอกใหร ูจักตามธรรมเนียม
๑. แนะนาํ = ติเตียน

๒. ตําหนิ
๓. เตือนสติ = เตือนใหร ตู ัว, เตือนใหไ ดสติ
= ขอใหชว ยเหลือ, ขอใหท าํ ตามท่ขี อ
๔. ขอรอ ง = เฝา รองขอ, รํ่าขอ, ขอดวยอาการออด, เฝา ขอรองใหท าํ ตามประสงค

๕. วิงวอน = พดู ใหร ,ู เลาใหฟง , บง ใหร ู

๖. บอก

๑. สับสน = ปะปนกนั , ยงุ ไมเ ปนระเบยี บ
๒. ฟงุ ซา น = ไมสงบ, พลา นไป, สา ยไป
๓. วา วุน = สบั สน
๔. ฟนเฟอ น = หลงใหล, เคลิบเคลิม้ , เผลอสติ, คุมดคี มุ รา ย

๑. สบายใจ = ไมมที กุ ขไ มมีรอน
๒. ประทบั ใจ = ตดิ อกติดใจ, ฝงอยใู นใจ
๓. กําลงั ใจ = สภาพของจติ ใจทม่ี คี วามเช่ือมัน่ และกระตือรอื รน พรอ มท่จี ะเผชญิ

๔. ภาคภมู ิใจ กบั เหตุการณทกุ อยา ง
๕. เห็นใจ = กระหย่มิ ใจ, รูสึกวา มีเกยี รตยิ ศ
= เห็นนํา้ ใจวาเปนอยา งไร เชน ดี หรือ ชั่ว, รว มรูสึกในความทกุ ขยาก

ของผูอนื่

๑. ประสาน = ทําใหเขา กันสนิท, เชอื่ ม
๒. ประมาณ = กะหรอื คะเนใหใ กลเ คยี งจํานวนจริงหรือใหพ อเหมาะพอควร, ราวๆ
๓. ประเมิน = การประมาณคา หรือราคาเทา ทคี่ วรจะเปน
๔. ประชมุ = มารวมกันหรือเรียกใหมารวมกันเพ่ือประโยชนอยางใดอยางหน่ึง,

มารว มพบกนั เพื่อประโยชนอ ยา งใดอยา งหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึง
เอาสงิ่ ทีเ่ ปนประเภทเดยี วกนั มารวมไว

๑. กระแนะกระแหน = พดู กระทบหรอื พูดเปนเชิงเสยี ดสี
๒. กระทบกระเทยี บ = เปรียบเปรยใหกระทบถึง
๓. ประชดประชนั = พูดหรือทําเปนเชิงกระทบกระแทกแดกดนั
๔. ประจบประแจง = พดู หรอื ทําใหเ ขารกั เขาชอบ

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (31)

๑. แจง ใหท ราบ = แสดงใหรู, บอกใหรู
๒. ถามใหต อบ = คําถาม
๓. บอกใหทํา = ออกคาํ ส่งั
๑. ขมขืน่ = รูสกึ ช้ําใจแตฝนไว เพราะไมส ามารถแสดงออกมาได
๒. ตัดพอ = พดู ตอวาดวยความนอยใจ, พอ ก็ได
๓. เคียดแคน = โกรธแคน , เคืองแคน
๔. ประชดประชัน = พูดหรือทําเปน เชิงกระทบกระแทก, แดกดัน
๑. หวาดหวนั่ = พรน่ั กลัว, สะดงุ กลวั , หว่นั หวาด
๒. หวาดกลัว = มีความรสู ึกกร่ิงเกรง, รสู ึกสะดงุ กลัว
๓. คึกคกั = แข็งแรง, กระปรกี้ ระเปรา, มชี วี ิตชวี า, ลกั ษณะทม่ี ีผูคนพลกุ พลา น

๔. ฮกึ เหมิ เขาๆ ออกๆ มากกวาปกติ
๑. ออนนอ ม = ลําพองใจดวยความคกึ คะนอง
๒. ถอ มตน = แสดงกริ ิยาวาจาอยางมีคารวะ, ยอมแพ, สวามิภกั ด์ิ
๓. ยําเกรง = แสดงฐานะหรือความรคู วามสามารถตํา่ กวาทเ่ี ปนจริง
๔. ทะนงในศกั ดิศ์ รี = เกรงกลัวเพราะเคารพนบั ถอื
๑. กระตอื รือรน = ทะนง-ถือตวั หยง่ิ ในเกยี รตขิ องตวั ศักดิ์ศรี-เกียรตศิ ักด์ิ
๒. ประมาท = รบี รอ น, เรง รบี , ขมขี มัน, มีใจฝกใฝ, เรงรอ น
= ขาดความรอบคอบ, ขาดความระมดั ระวังเพราะทะนงตวั ความ
๓. ยอ ทอ
๔. มองการณไกล เลินเลอ, การขาดความระมดั ระวัง
= ไมค ิดสเู พราะขาดกําลังใจ
๑. หดหู = คาดคะเนเหตกุ ารณล วงหนา ไดถ กู ตอ งหรือใกลเ คยี ง โดยอาศยั
๒. เสียดาย
เหตผุ ล หรือประสบการณ เปนตน, เห็นการณไ กล
๓. รงั เกยี จ = หอ เหย่ี วไมช ่ืนบาน, สลดใจ
๔. ปลงตก = รูส กึ อยากไดส่งิ ท่เี สยี ไปพลาดไป เปนตน ใหกลับคืนมา, รูสึก
๕. กลวั
พลาดโอกาสท่คี วรจะมจี ะได, รูส ึกไมอยากใหเ สียไปโดยไมได
ประโยชน, อาลยั ถึงสิง่ ที่จากไป
= เกลียดเพราะรูสึกขยะแขยงหรือไมชอบใจ
= พจิ ารณาจนเหน็ จรงิ แลว ปลอยไปตามสภาพ
= รสู ึกไมอ ยากประสบส่งิ ที่ไมด ีแกตัว, รสู ึกหวาดเพราะคาดวา จะ
ประสบภัย

ภาษาไทย (32)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

๑. ใหค วามรู = ความรู-สิ่งท่ีสั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน, การคนควาหรือ
ประสบการณ
๒. ใหกําลงั ใจ
= กําลังใจ-สภาพของจิตใจทม่ี ีความเชื่อมั่นและกระตือรือรนพรอม
๓. โนม นา วใจ ทีจ่ ะเผชิญกับเหตกุ ารณท ุกอยาง
๔. จรรโลงใจ
= ชกั ชวนใหเห็นดเี ห็นงามหรือใหโ อนออ นตาม
๑. อธิบาย = จรรโลง-พยงุ ไวไ มใหเซหรอื ไมใหล ม ลง, ผดงุ , คํ้าชู, บาํ รงุ รกั ษา
๒. บรรยาย
๓. พรรณนา และเชิดชไู วไมใ หเ สื่อม
๑. วเิ คราะห = ไขความ, ขยายความ, ชีแ้ จง
๒. สงั เคราะห = ช้แี จงหรอื อธบิ ายเรื่องใหฟ ง เปน ตน , เลา เรื่อง
๓. สนั นิษฐาน = กลา วเปนเร่ืองเปนราวอยางละเอยี ดใหผูฟงนึกเหน็ เปนภาพ
๔. ประเมินคา = ใครค รวญ, แยกออกเปน สว นๆ เพ่ือศกึ ษาใหถองแท
๕. เสนอแนะ = สรางขึน้ ใหม
= ลงความเหน็ เปนการคาดคะเนไวก อน
๖. ตีความ = ประเมนิ -กะประมาณคา หรอื ราคาเทา ที่ควรจะเปน
= เสนอ-ยื่นเรอ่ื งราวความเห็นเพ่ือใหท ราบใหพ ิจารณา หรือใหสั่ง
๗. จับประเด็น
การแสดงใหเห็น, แนะ-ชี้ทางหรือวิธกี ารใหรโู ดยตรงหรือโดยออ ม
๑. เตอื นสติ = ช้ีหรือกําหนดความหมาย, ใหความหมายหรืออธิบาย, ใชหรือ
๒. ส่งั สอน
๓. ปลอบประโลม ปรับใหเ ขาใจเจตนาและความมุงหมายเพื่อความถูกตอง, วิเคราะห
๔. ปลงอนจิ จัง ถอยคําหรอื ถอยความในบทกฎหมายนิติกรรมสัญญา หรือเอกสาร
๑. กรรม อื่นๆ ท่ีมีปญหาสงสัย หรือท่ีมีความหมายไมชัดเจน เพ่ือกําหนด
๒. อนจิ จัง ความหมายอนั แทจริงของถอ ยคาํ หรือขอ ความนัน้
= ประเด็น-ขอความสําคัญของเรื่องท่ีแยกหยิบยกขึ้นมาพิจารณา,
๓. สจั ธรรม ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย อันเปนสาระสําคัญท่ีคูความยกข้ึน
๔. สงั สารวฏั เปน ขออา งไดใ นคดี
= เตอื นใหรูตัว, เตอื นใหไ ดส ติ
= ช้แี จงใหเ ขา ใจและบอกใหทาํ
= ปลอบ-พดู เอาอกเอาใจใหคลายอารมณข ุนหมอง
= รูส ึกสงั เวชใจวา ไมนา จะเปนถึงเชน นั้น
= การ, การกระทํา, การงาน, กิจ, ผูถูกกระทํา
= ไมเที่ยง, ไมแ นน อน, เปลี่ยนแปลงอยเู สมอ, คําท่ีเปลงออกมา
แสดงความสงสารสังเวช เปนตน
= ความจรงิ แท
= การเวียนวา ยตายเกิด, สังสารวฏั หรือวฏั สงสารกไ็ ด

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (33)

๑. คําคม = ถอยคาํ ที่หลักแหลมชวนใหค ิด
๒. คําขวญั = ถอ ยคําท่แี ตงขึ้นเพือ่ เตือนใจหรอื เพื่อใหเ ปน สิริมงคล
๓. ภาษิต = ถอ ยคาํ หรือขอ ความทกี่ ลา วตอ กนั มาชา นานแลว มีความหมายเปน คติ
๔. สํานวน = ถอยคําท่เี รยี บเรียง, โวหาร บางทกี ็ใชวา สาํ นวนโวหาร,ถอ ยคาํ

๑. ขอ สงั เกต หรอื ขอความทก่ี ลา วสืบตอกันมาชา นานแลว มีความหมายไมตรง
๒. คาดคะเน ตามตวั หรอื มคี วามหมายอ่ืนแอบแฝงอยู
๓. ขอ เตือนใจ = ส่งิ ท่ีกาํ หนดไวใหสนใจเปน พเิ ศษ
๔. การตดั สินใจ = คะเน-คาํ นวณเอาอยางหยาบๆ
๑. ประโยชนนยิ ม = เตอื นใจ-สะกดิ ใจ, ทาํ ใหระลึกได
= ตัดสนิ ใจ-ตกลงใจ
๒. อาํ นาจนยิ ม = นยิ มประโยชน, สง่ิ ท่มี ีผลใชไ ดดีสมกบั ทีค่ ิดมงุ หมายไว, ผลที่ได
ตามตองการ
๓. วตั ถุนยิ ม = นยิ มอาํ นาจ-สิทธิ, อิทธพิ ลทีจ่ ะบังคบั ใหผอู ื่นตอ งยอมทาํ ตาม
๔. สมัยนิยม ไมวา จะดว ยความสมัครใจหรอื ไม
๑. ถอ มตวั = การใหคุณคาแกสง่ิ ทเ่ี ปนรปู ธรรมมากกวาสง่ิ ทเ่ี ปนนามธรรม
๒. ทาทาย = ความนยิ มในแตล ะสมยั
๓. รอบคอบ = แสดงฐานะหรือความรูความสามารถตํา่ กวา ที่เปน จรงิ
= ชวนวิวาท, ชวนใหทดลองความรคู วามสามารถ
๔. ใจกวาง = ทัว่ ถวนถ่ี เชน พจิ ารณาอยา งรอบคอบ, ระวงั เหตุการณข า งหนา
๑. แจง ขางหลังเสมอ, ไมเ ผอเรอ
๒. เตือน = มีความเอื้อเฟอ เผือ่ แผ
๓. เสนอ = แสดงใหร ู, บอกใหรู, กระจาง, สวาง, ชัด
= บอกใหร ลู ว งหนา, ทาํ ใหรูต วั , ทําใหรูสาํ นึก, ทักไมใหล ืม
๔. สอน = ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เปน ตน เพื่อใหท ราบ ใหพ ิจารณา
๑. บอกกลาว หรือใหส งั่ การ
๒. แนะนาํ = บอกวิชาความรใู ห
๓. ตกั เตือน = รอ งบอกใหผอู ื่นเปน พยานรับรูไว
๔. ส่งั สอน = ชแ้ี จงใหทําหรือปฏิบตั ,ิ บอกใหร จู กั กันตามธรรมเนียม
= สงั่ สอนใหรูสํานกึ ตัว
= ช้แี จงใหเ ขา ใจและบอกใหท าํ

ภาษาไทย (34)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๑. เอน็ ดู = มคี วามรกั ใคร, ปรานี
๒. ช่ืนชม = ปต ิยินดี
๓. เสยี ดสี = ถกู กนั , อาการทีว่ ากระทบกระเทียบเหนบ็ แนมดวยความอจิ ฉา
๔. เหยียดหยาม = ดูหมิน่

๑. ยกยอ ง = เชดิ ชู
๒. ชื่นชม = ปตยิ ินดี
๓. สงสาร = รสู ึกเห็นใจในความเดือดรอนหรือความทกุ ขข องผูอ น่ื , รูสกึ หว งใย

๔. เหน็ ใจ ดวยความเมตตากรุณา
= เห็นนํา้ ใจวาเปนอยา งไร เชน ดีหรือชั่ว, รวมรสู ึกในความทุกขยาก

ของผูอื่น

๑. ผดิ คาด = นกึ ไว, หมายไว, มักใชค ูกบั คะเน
๒. เสียดาย = รูสึกอยากไดส ิ่งที่พลาดไปเสียไป เปนตน ใหกลบั คืนมา
๓. ตําหนิ = ติเตยี น

๑. ประชด = แกลง ทาํ ใหเกนิ ควรหรอื พูดแดกดันเพราะความไมพอใจ
๒. โกรธแคน = แคน -โกรธเจบ็ ใจอยูไมหาย
๓. ดแู คลน = แสดงอาการเปนเชงิ ดหู ม่ิน หรือเหยียดหยามเขา
๔. เยย หยัน = พูดหรอื แสดงกิริยาดถู กู เยาะเยย ใหไ ดอ าย, ใหเ จ็บใจใหโ กรธ

๑. เหน็ ใจ = เหน็ นา้ํ ใจวาเปนอยา งไร เชนดี หรอื ช่วั , รวมรสู กึ ในความทกุ ขย าก
ของผอู ืน่
๒. คบั ขอ งใจ
๓. สลดใจ = คบั ใจ-อดึ อดั ใจ, รูสึกอัดอั้นตนั ใจ, รูสกึ คบั แคนอยใู นอกในใจ
๔. เสยี ใจ = รสู ึกเศรา ใจแกมสงั เวช, รูสึกหดหูใ จ
= ไมสบายใจเพราะมเี รื่องไมส มประสงค หรอื ผดิ ประสงค

๑. หดหู = อาการทร่ี ูสึกหอ เหี่ยวไมช ืน่ บาน, สลดใจ
๒. เสยี ดาย = รูสึกอยากไดส ่ิงท่พี ลาดไปเสยี ไป ใหก ลับคนื มา
๓. รงั เกียจ = เกลยี ดเพราะรูสึกขยะแขยงหรอื ไมช อบใจ เปนตน
๔. ปลงตก = พิจารณาจนเห็นจริงแลวปลอ ยไปตามสภาพ

การตคี วาม คาํ ศพั ท ในกรณที เี่ ราไมรจู กั ศัพทต ัวนั้นมากอ น หนจู ะทําอยางไร เปรยี บเทยี บกับชีวิตจริง
ถาสมมติตอ งทําความรูจักคนๆ หนง่ึ ภายในระยะเวลาอนั แสนสน้ั เรากค็ งไดแตส ังเกตจากการแตงกาย
การพูดจา รสนยิ มของคนๆ นัน้ เหมอื นกับการแปลคําศพั ทที่เราไมร ูจ ัก ครลู ิลลีจ่ ะสอนใหด บู รบิ ท

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (35)

บริบท คอื คําแวดลอม ลองมาตีความคาํ วา “บหุ ลัน” กนั ดกี วา วา แปลวา อะไร

“บหุ ลันเลอื่ นลอยฟาไมร าคี รศั มีสองสวางดงั กลางวนั ”

บหุ ลนั ตอ งเปน ส่งิ ท่อี ยบู นฟา มแี สงสวางเพราะดจู ากคําวา ไมราคี และมีแสงมากดว ยสอ งเหมอื นกบั

แสงอาทติ ยในเวลากลางวัน แสดงวาบหุ ลันจะตอ งอยูใ นเวลากลางคืน สรุปวา บหุ ลันตอ งเปนสิ่งท่ีมแี สงสวา ง

ในเวลากลางคนื และมแี สงมากดว ยนะคะ (นักเรยี นตอบวาอะไรกนั คะ ดาวเทยี มไมใ ช) ขอเฉลยวา บหุ ลนั คือ

พระจันทร แบบนค้ี ือการตคี วามโดยดูจากบริบท นักเรียนตองฝก แบบนบี้ อยๆ นะคะ

นกั เรียนขาเวลาอานคาํ ประพนั ธ หรือบทความกด็ ี นกั เรยี นมกั จะเจอคาํ ถามที่วา “ใหแนวคิด ใหขอคิด

ดา นใด” ครูจะลองใหห นูอานคําประพันธบทนีเ้ ปนชีวติ สุนทรภูนะคะ

“เหมือนบายศรมี ีงานทา นถนอม เจิมแปง หอมน้าํ มนั จนั ทนใ หหรรษา

พอเสรจ็ การทา นเอาลงทิง้ คงคา ตองลอยมาลอยไปเปน ใบตอง”

ครอู ยากถามวา กลอนบทนใ้ี หแ นวคิด ขอคิด ดา นใด ถา ครูมีตวั เลอื กใหหนูจะเอาไหมคะ ตัวชว ยคิด
ของครูมี ๔ คาํ ใหห นูลองเลือกดนู ะคะ
๑) พิธีกรรม ๒) ศลิ ปะไทย
๓) คาํ สอนทางศาสนาพุทธ ๔) ความเช่อื ทางไสยศาสตร

แนวคดิ หรือขอคิด จะไมเ หมอื นสาระสาํ คญั แนวคดิ จะซอนอยูภายในคาํ ที่ผเู ขียนไดแ ตง แตสาระ
สําคญั อยตู รงที่เราจับประเดน็ ไดไ หมวาใคร ทาํ อะไร ทาํ ไมถงึ ทําอยางนั้น

คําประพันธบทน้ี ถาถามวา สะทอ นแนวคดิ ใด ตองตอบวา คําสอนทางศาสนาพทุ ธ เพราะคาํ ประพันธ
บทน้เี ปน เรอ่ื ง อนิจจงั แลวใชกบั การนาํ ไปเปรียบเทียบกบั บายศรี วาตอนพธิ ีในวนั งานเทศกาลผา นมา ก็
กราบไหวบ ชู าบายศรี แตพ อหมดความสาํ คัญบายศรีกไ็ มมีคนมอง แสดงถึงความไมเ ทยี่ งแทแนนอน เขา
ต้ังใจจะสอนผูอ านวาคดิ แนวนไ้ี ดไหม

ถาตอบ พิธีกรรม ศลิ ปะไทย หรอื ความเช่ือทางไสยศาสตรก็จะเปนการมองผิวเผินแตเปลือกภายนอก
เรียนภาษาไทยตองเรียนแบบวิเคราะหดวยไมใชการทองจําแตอยางเดียว คิดไปเถิดสมองคนเราจะไดมี
ศักยภาพเวลาเจอเร่ืองราวรา ยๆ จะไดมปี ญญา

การอานบทความ บางคร้ังนักเรยี นจะตอ งเจอคาํ ทมี่ ีความหมายไมตรงตัว เราจะทําอยา งไรดี เชน
“ปากควรหารอื กระเพาะเสมอ” ถาคณุ ครูจะถามวา “หารอื ” จะหมายความวา อยางไร
๑) ประสาน ๒) ประมาณ ๓) ประเมนิ ๔) ประชุม

กําลังมองอยวู าทา นประชาจะมาตรวจหรือเปลา “หารือ” คํานีแ้ ปลตรงๆ ไมได เพราะปากกบั กระเพาะ
คยุ กันไมไ ดจ งึ ตัด ประชุม ออกเสียกอน

“การเลือกคําตอบในวิชาภาษาไทย ตองตดั ตัว ไมใช ออกไปกอน” เหลอื ประสาน ประมาณ ประเมิน
เราก็มาดบู รบิ ท ปาก กับ กระเพาะ เขาทําอาการ หารอื กนั เหมือนเขาพดู คยุ กนั เพราะทั้งสองเปน อวัยวะท่ี
ทาํ งานเกยี่ วขอ งกันตอ งเจอกนั เพราะดจู ากเขาใชคํา หารอื พูดคยุ ฉะนัน้

คําตอบ คือ ประสาน จริงไหมคะนักเรยี น (ใชค ะ ทัง้ สวย ทั้งเกง ลูกศษิ ยใ ครหวา)

ภาษาไทย (36)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

โวหารทางรอยแกว (กลวิธกี ารเขียน)
๑. อธบิ าย = การทําใหผรู ับสารเขา ใจ มี ๖ วธิ ี
๒. บรรยาย = การใหขอมลู
๓. พรรณนา = การใหร ายละเอยี ดของบคุ คล วัตถุ สถานท่ี
๔. สาธก = ยกตัวอยาง
๕. เทศนา = สัง่ สอน
๖. อปุ มา = เปรียบเทียบ
๗. อภปิ ราย = โนมนาวใจ

ทรรศนะผเู ขียน = ความคดิ เหน็ สวนตัวของผูเขยี นอาจจะเปนการเดา ประเมนิ หรือแนะนาํ สง่ั สอน
กไ็ ด
= คาดเดา
อนุมาน
สาระสาํ คญั = ประเด็นสําคัญของเรอ่ื งบทความวา ใคร ทําอะไร ทําไมถงึ ทํา
แนวคิด = ความคดิ ท่ไี ดจ ากการอา น ฟงเรื่องนน้ั ขอสอนใจประมาณน้ี

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (37)

วรรณคดี

๑. ไวพจนค ําตระกูล “ไมใช” ทม่ี ักใชในวรรณคดี วรรณกรรมบอ ยๆ คือ “บ หอน ไป ใช มิ วิ อะ”
๒. ทศิ ทงั้ แปด อยากรจู ังวา หรดี พายพั อาคเนย อยูตรงไหน ทอ งสูตรน้ี “อุ อี บู อา ทกั ห ประ พา”

แลว เรียงทศิ ตามเขม็ นาฬิกาแบบน้ี
พายพั อุดร อีสาน

ประจมิ บูรพา

หรดี ทกั ษิณ อาคเนย

๓. เสียงดุจดนตรี หมายถึง มวี รรณยกุ ตมากมาย หลายหลากเสียงในหน่งึ วรรค เชน
“โออนาถหนอเมอื งไทยสมัยน้ี ”
มเี สียงวรรณยุกตเรียงลําดับดังน้ี โท เอก เอก จตั วา สามัญ สามัญ เอก จัตวา ตรี
๔. “ปญ จมหานที” แมน้ํา ๕ สายในอนิ เดียมอี ะไรบา ง
สรภู อจริ วดี คงคา มหิ ยมุนา
๕. กลนื เสยี ง (รวม) เชน ดฉิ นั กลนื เสยี งเปน ดน้ั
อยางน้ี กลืนเสียงเปน อยา งงี้
อยางไร กลืนเสียงเปน อยา งไง
๖. กรอนเสยี ง (ตัด) เชน หมากมวง กรอ นเสียงเปน มะมว ง
หมากพรา ว กรอ นเสียงเปน มะพราว
ตวั ขาบ กรอนเสยี งเปน ตะขาบ
๗. แทรกเสยี ง (เสยี งอะอยกู ลาง) เชน
ลูกดมุ → ลูกกระดมุ
ลกู เดอื ก → ลูกกระเดือก
๘. จังหวะดุจดนตรี คือ แบง จังหวะการอาน แบง ชอ งไฟการอา นใหล งตัวพอดีกัน เทาๆ กนั เชน
“วนและว่ิงคนื และวนั หวัน่ และไหว” แบง ไดวรรคละ ๓ วนและวิง่ คืนและวัน หวั่นและไหว
๙. คร-ุ ลหุ พยางคเ สียงหนกั พยางคเ สยี งเบา
ลิลกบั ล่ี เปนคําครทุ ง้ั สองพยางค
คาํ ครุ คือ คาํ ท่มี เี สยี งตัวสะกด จะเปนแมอะไรก็ได ไมแบงแบบ กบด หรือ มะนงยะเวอะ
ถาตัวสะกดไมมีขอใหประสมเสียงสระยาว อยา งคําวา “ลี่” กถ็ อื วา เปน พยางค
หนักแลว
คาํ ลหุ คือ พยางคที่ไมมีเสียงตัวสะกดและตองผสมสระเสียงสั้นเทานั้น เชน มะลิ
ทงั้ มะ และ ลิ เปน ลหุทั้งคู

ภาษาไทย (38)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

๑๐. พระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริยในอดีตถึงปจจุบันมี ๒ ดา นสาํ คัญ คือ
๑. รฐั จักร บาํ รงุ ดแู ลบานเมอื งใหส งบเรยี บรอ ย ออกศกึ ทาํ สงคราม
๒. พุทธจกั ร บาํ รุงพระศาสนา

๑๑. บุคคล ๒ ทา นท่กี วีจะพรรณนาถงึ กม็ ี
๑. กษตั ริย
๒. นางอันเปนที่รกั

๑๒. สงิ่ ของท่ไี มใชบ ุคคลท่กี วจี ะพรรณนาถึงก็มี
๑. วฒั นธรรม (มนษุ ยสรางข้นึ = วดั วงั บา นเรอื น การแตงกาย ประเพณี การละเลน)
๒. ธรรมชาติ (เกดิ ขึน้ เอง = ปลา ตนไม นก ภเู ขา ทะเล แมน้าํ ลําธาร)

๑๓. ความเชือ่ ท่กี วีจะกลา วถงึ มี ๒ แนว คือ
๑. พุทธศาสตร (เช่ือเรื่องกฏแหง กรรม ทําดีไดดี ทาํ ช่วั ไดชว่ั )
๒. ไสยศาสตร (ภตู ผปี ศ าจ สิง่ ศักดส์ิ ทิ ธ)ิ์

๑๔. กลวิธีการแตง (กลวิธีการประพันธ) แบงออกเปน ๒ ดาน
๑. ภาพพจน

๑. อุปมา
๒. อปุ ลกั ษณ
๓. สญั ลักษณ
๔. นามนัย
๕. บุคคลวตั
๖. สัทพจน
๗. อธิพจน
๘. อวพจน
๙. ปฏิพากย
๑๐. อุปมานิทัศน (เอ! ครูคะอุปมากับอุปมานิทัศนตางกันอยางไร ออ! อุปมา
เปรยี บเทียบเปน คํา สว นอปุ มานิทศั น เปรียบเทยี บยาวๆ เปน ประโยคยาวๆ)
๒. ความงามวรรณศิลป
๑. สัมผัสสระ
๒. สัมผัสอกั ษร
๓. สัมผัสวรรณยุกต
๔. จนิ ตภาพ
๕. เสียงดจุ ดนตรี
๖. จังหวะดจุ ดนตรี
๗. ดลุ เสียงและดลุ ความหมาย
๘. เลน คาํ
๙. ซา้ํ คํา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (39)

๑๐. หลากคาํ
๑๑. พองเสยี ง
๑๒. กวโี วหาร = อลังการทางภาษา คําวจิ ติ ร คาํ วลิ ศิ มาหรา ศพั ทห รูหรา
๑๓. ภาพชัดเจน = ใหค าํ ขยายมากๆ วิเศษณมากมาย ถา มีการเปรยี บเทยี บเขา มาชวย

จะทําใหภาพชดั เจน
๑๕. พระบรมเดชานภุ าพของกษตั ริยด ไู ดจาก

๑. กองทพั ท่ยี ่งิ ใหญ
๒. เมอื งขนึ้ มากๆ
๑๖. ฉนั ทลกั ษณของโคลง กลอน กาพย ฉนั ท รา ย ท่คี วรรู
๑. กาพยฉบงั
๒. กาพยสรุ างคนางค
๓. กาพยยานี
๔. กลอนแปด
๕. กลอนหก
๖. โคลงสีส่ ุภาพ
๗. โคลงสามสุภาพ
๘. โคลงสองสุภาพ
๙. อินทรวเิ ชยี รฉันท
๑๐. วสนั ตดลิ กฉันท
๑๑. สยามมณีฉนั ท
๑๒. เปษณนาทฉันท
๑๓. รา ยกลบทกบเตน ตอยหอย
๑๔. รายกลบทสลักเพชร
๑๕. รายกลบทยตภิ งั ค
๑๖. รา ยกลบทนาคบริพนั ธ
๑๗. รายยาว
๑๗. ลกั ษณะนิราศ = เดินทาง → คิดถงึ นาง → เปรียบเทยี บ
๑๘. วถิ ีชีวิตคนไทยในอดตี
๑. ครอบครวั ขยาย
๒. ทํานา
๓. รกั ถนิ่ ฐานบานเกดิ
๔. นิยมใหลูกหลานบวช
๕. เรียนหนงั สอื กบั พระท่ีวดั
๖. นยิ มใหบ ตุ รหลานรบั ราชการ
๑๙. ใชค ําอัพภาสเลยี นเสยี งธรรมชาติ = “พลหัวหนา พะกนั แกวง ตาวฟน ฉะฉาด แกวงดาบฟน ฉะฉดั ”
ฉะฉาด ฉะฉัด เปน อัพภาส และเลียนเสียงการฟน ดาบดวย
ภาษาไทย (40)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

๒๐. เลนเสียง สมั ผัสสระ สัมผัสอักษร
เสียงไพเราะ
๒๑. ประโยคขนานความ = ดุลเสยี งและดุลความหมาย
“ในน้ํามีปลา ในนามขี าว”
๒ วรรคมจี าํ นวนคําเทากนั มคี าํ เดยี วกนั ทต่ี าํ แหนง เดยี วกนั “ใน, มี”
๒๒. ซ้ําความ = “กูบําเรอแกพอ กู กบู าํ เรอแกแมก”ู ซ้ําความจะเปนซํ้าประโยค การซ้ําคําจะเปนคํา
๒๓. การสบั เสยี งสระและพยัญชนะ คือ คําผวน เชน “ฝนหา ฝาหน”
๒๔. “ดังตรลบโลกแล ฤๅบร างรแู พ ชนะผใู ดดาล”
ดงั = ตรงน้ไี มไดเปรียบเทยี บจึงไมใชอ ุปมา
๒๕. นาฏการ = การรายราํ จดั เปนจนิ ตภาพเคลื่อนไหว

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (41)

ขอสอบวชิ าภาษาไทย

๑. คาํ ในขอใดมีโครงสรา งพยางคเหมือนคําวา “ทิวากร”

๑) องคมนตรี ๒) จนั ทรปุ ราคา

๓) ราชพฤกษ ๔) นริ าบาล

๒. คําคใู ดมีความหมายในทาํ นองเดยี วกนั ๒) ประเพณี - ประเวณี
๑) สุวรรณ - สุบรรณ ๔) โศก - เศรา
๓) วิสัยทัศน - ทศั นวิสยั

๓. เสยี งคําควบกลาํ้ ในขอ ใดไมมใี นระบบเสียงควบกลาํ้ ภาษาไทยแตดั้งเดิม

๑) ออสเตรเลยี ๒) ออสเตรยี

๓) บรไู น ๔) กรีก

๔. โครงสรางประโยคในขอใดตา งจากพวก ๒) น้ํานองเตม็ ตลิง่
๑) วนั เพ็ญเดือนสบิ สอง ๔) สนุกกนั จริงวนั ลอยกระทง
๓) เราทง้ั หลายชายหญิง

๕. คําวา “เพราะ” ในขอใดตางจากพวก
๑) ทาํ นองเพลงนีเ้ พราะจริงๆ
๒) ฉันนอนซมเพราะพษิ ไข
๓) เขาอา งวาทําการบานไมเสร็จเพราะฉนั
๔) คณุ พอ ไมไปทาํ งานเพราะไมสบายหลายวนั

๖. “สวุ รรณหงสท รงพหู อย” จากคาํ ประพนั ธวรรคนี้ ขอ ใดกลา วถกู ตอ ง

๑) สมั ผัสอักษรเดน ๒) นาฏการ

๓) เลน เสยี งคูสระ ๔) สัมผัสวรรณยุกต

๗. คําทับศพั ทในขอใดออกเสียงตรงตามอักขรวธิ ไี ทย

๑) คอนโดมเิ นียม ๒) คอมพวิ เตอร

๓) เบรก ๔) เมาท

๘. พยัญชนะในขอใดใชเปน ตวั สะกดไมไ ด ๒) ฬ อ
๑) ฑ ฆ ๔) ฌ ผ
๓) ฟ ธ

ภาษาไทย (42)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

๙. คาํ ซอ นในขอ ใดมีความหมายตางจากพวก ๒) บากบัน่
๑) อบรม ๔) บานเรอื น
๓) ตมตุน

๑๐. สาํ นวนคูใดกลาวไปในทํานองเดียวกนั
๑) คลืน่ กระทบฝง - คลืน่ ใตน้ํา
๒) กระตา ยต่ืนตูม - ตตี นไปกอ นไข
๓) จวกั ตกั แกง - ใกลเกลือกนิ ดาง
๔) นกสองหัว - จบั ปลาสองมือ

๑๑. “พริกเผ็ดผสมเขา กะปเ คลากระเทียมหอม” ขอ ใดกลา วถูกตอ ง
๑) มเี สียงพยญั ชนะตนควบกลํ้า ๒ เสยี ง
๒) ไมมีเสยี งสระเล่ือน
๓) มคี าํ ครทุ ่ีเปนคาํ ตาย
๔) ใชก วโี วหาร

๑๒. ขอ ใดกลาวไมถ ูกตอง
๑) กลอนสภุ าพมีบงั คับสมั ผัสนอก และเสยี งวรรณยกุ ตทา ยวรรค
๒) เสียงหนัก-เบา ใชคําประพันธประเภทฉันท
๓) รปู วรรณยุกตใ ชบ งั คับในโคลงสส่ี ุภาพ
๔) เสยี งวรรณยุกตใ ชบ งั คบั ในโคลงส่สี ภุ าพ

๑๓. “ชนื่ ตาฟา .................... เหน็ พระจันทรนวลผอง”

คําใดเหมาะสมทจ่ี ะเตมิ ลงในคาํ ประพันธข างตน

๑) เยน็ ๒) เดน

๓) เพ็ญ ๔) เชน

๑๔. ตวั ละครใดตอ ไปนจี้ ัดเขา ขา ยทํานอง “หมายขนั หมาก”

๑) วันทอง ๒) บษุ บา

๓) มทั รี ๔) สีดา

๑๕. ขอ ใดแสดงวาพจนข องคํานามมจี ํานวนช้นิ มากที่สดุ
๑) ฉันซื้อถงุ เทา ๕๐ คู
๒) แมซื้อผา ขาวมา ๗ กุลี
๓) นองซ้ือดนิ สอ ๑๐ โหล
๔) พอซือ้ ปากกา ๑ กรุ ุส

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (43)

๑๖. พยัญชนะในขอ ใดทเี่ ปน ทง้ั ตวั สะกดและพยญั ชนะตนทเ่ี ปนเสียงเดียวกนั

๑) ทศกัณฐ ๒) พัทยา

๓) รปู ธรรม ๔) กลั ยา

๑๗. โครงสรา งพยางคใ นขอ ใดตา งจากขอ อืน่ ๒) พระราม
๑) ขุนแผน ๔) พระรถ
๓) อิเหนา

๑๘. คําใดอานออกเสียงตางจากขออื่น ๒) ชลบุรี
๑) จนั ทบุรี ๔) เพชรบุรี
๓) ราชบรุ ี

๑๙. คาํ บาลี-สนั สกฤตท่ียืมมาใชใ นภาษาไทยคูใดมีความหมายตางกันมากทีส่ ดุ

๑) กฬี า - กรีฑา ๒) ภรยิ า - ภรรยา

๓) กัญญา - กลั ยา ๔) เขต - เกษตร

๒๐. “ชีวิตในตางแดนแสนสนุกและสบายไมพบใครมากมายโอช ีวีนีส้ ขุ จริง”

คาํ ประพันธข างตนเมื่อจดั เรยี งวรรคใหมจะเปน คําประพนั ธอ ะไร

๑) กาพยสุรางคนางค ๒) กาพยฉ บัง

๓) กาพยยานี ๔) อินทรวเิ ชยี รฉันท

๒๑. “ประเทศออสเตรเลยี เขม งวดเรอื่ งการนําเขา อาหารแปรรูปที่ทาํ มาจากเน้อื สตั วและผลไม โดยใหเหตผุ ล
วา อาจจะมีเชอ้ื โรคบางชนิดปะปนมากบั อาหารเหลา น้ัน งานหนักจึงตกกับดานตรวจคนเมือง เพราะ
ตอ งตรวจท้งั คนและอาหาร”
จากขอความนข้ี อ ใดอนุมานไมถ กู ตอง
๑) มกี ารอธบิ ายโดยใชส าเหตุ - ผลลัพธ
๒) มีการแสดงทรรศนะ
๓) มีบรรยายโวหารมากกวา อธบิ ายโวหาร
๔) มกี ารแสดงขอเทจ็ จรงิ

๒๒. จากขอ ความขางตนขอ ใดกลาวถูกตอ ง
๑) เม่ือเราจะนําอาหารจากประเทศไทย เขา ประเทศออสเตรเลียตอ งทําใหสุกกอ น
๒) เราควรนําอาหารแหงเขาประเทศออสเตรเลยี
๓) เราควรหลกี เล่ยี งการนาํ อาหารเขาประเทศออสเตรเลยี
๔) ออสเตรเลียหา มนําอาหารทุกชนดิ เขา ประเทศ

ภาษาไทย (44)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

๒๓. ก. เพราะความทุกขใจนัน้

ข. จนเราเองไมร ตู ัววาทาํ ไม ทกุ ขอ ยูก ับเราตลอดเวลา

ค. เศราไดแ ตอ ยา เศรา นาน

ง. จะกัดกรอนกนิ ความสุขในตวั เรา

จงเรียงลาํ ดบั ขอความขา งตน ใหไดใ จความ

๑) ค. - ก. - ง. - ข. ๒) ค. - ข. - ก. - ง.

๓) ค. - ง. - ก. - ข. ๔) ค. - ก. - ข. - ง.

๒๔. จากขอ ความขางตนเมอ่ื เรยี งลําดับแลวขอ ใดกลา วไมถ กู ตอ ง
๑) เปน ทรรศนะเชงิ นโยบาย
๒) เทศนาโวหาร
๓) ผูเ ขียนขอ ความน้ีเปน คนเหน็ ใจผอู ืน่
๔) เปนการแสดงประเดน็ การโตแ ยง

๒๕. “อพารตเมนทคุณปาดว น! เชาเดอื นละ ๓,๐๐๐ บาท เฟอรน เิ จอรพรอ มเขา อยู ไมไกลจากถนนใหญ

ไมมเี งินมดั จาํ ”

ประกาศขา งตนควรเพม่ิ ขอมูลเร่ืองใดมากที่สุด

๑) สถานท่ีต้งั ๒) เบอรโทรศพั ทตดิ ตอ

๓) วตั ถปุ ระสงค ๔) รายละเอียดการเชา

๒๖. “ดใี จเอยดีใจจังเขา ใกลถงึ ฝง ประสบพบความเปน จริงอดทนสูเขา นอ งหญงิ เอาชนะทุกสิ่งสมคําทพี่ ่อี วยชัย”

คําประพันธขา งตน เมื่อจัดเรยี งวรรคใหมจ ะเปนคําประพนั ธช นดิ ใด

๑) กลอนดอกสรอ ย ๒) กลอนสักวา

๓) กลอนสุภาพ ๔) กาพยฉบัง

๒๗. “เย็นหนาวเหน็บเจบ็ ขวั้ กลางใจ

เย็นยะเยอื กถึงใน อกขา

เย็นนี้จะมีไหม ใครอยู

เปนเพื่อนกบั คุณปา รอลงุ กลับมา”

ขอ ใดกลาวไมถ กู ตอ ง

๑) เขาขายทํานองหัวมังกุทายมงั กร

๒) มคี าํ ตายแทนคําเอก

๓) เลนคําและเลนเสยี งเดน

๔) สมั ผัสวรรณยกุ ตเ ดน

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (45)

๒๘. คําประพนั ธขา งตน บาทใดผดิ ฉันทลกั ษณม ากทส่ี ดุ

๑) บาท ๑ ๒) บาท ๒

๓) บาท ๓ ๔) บาท ๔

๒๙. “รถรางเลอ่ื นแลน ไป รถยนตใ ชวิ่งชา ๒) จินตภาพเคลื่อนไหว
รถไฟพุงข้นึ หนา รถมาถลาลม” ๔) คําซาํ้

ขอ ใดกลาวไมถ กู ตองจากคาํ ประพนั ธบ ทนี้
๑) บรรยายโวหาร
๓) ซา้ํ คํา

๓๐. จากคําประพันธขา งตนรถอะไรเคลื่อนที่เรว็ ทส่ี ุด

๑) รถราง ๒) รถยนต

๓) รถไฟ ๔) รถมา

๓๑. โครงสรา งเหตผุ ลขอใดตางจากขอ อื่น ๒) เลน กีฬาเปนยาวเิ ศษ
๑) สติมาปญญาเกิด ๔) รูแพ รชู นะ รูอภยั
๓) รักดหี ามจัว่

๓๒. โครงสรางประโยคในขอใดตา งจากขออน่ื
๑) ครูใหญม อบดอกไมใ หนักแสดง
๒) นกั แสดงมอบความสุขใหผชู ม
๓) ผูช มมีความสุขจนทําใหผ ูจ ัดประทบั ใจ
๔) ผจู ดั ยื่นซองใหท ีมงาน

๓๓. ขอใดท่ีคาํ ตอบละบทกรยิ าไมได
๑) ใครซอื้ หนังสอื เลมนม้ี า
๒) เธอชอบกินเคก กลวยหอมรา นไหน
๓) เสอื้ ไหมพรมตวั นสี้ วยไหม
๔) เธอจะเอาอะไรอีก

๓๔. ขอใดแสดงวา ภาษาไทยจดั วาเปนภาษาทม่ี รี ะดบั
๑) มาลใี ชดอกดาวเรอื งไหวพระเพราะถือวา จะทาํ ใหช ีวติ รงุ เรอื ง
๒) มาลยั อูคําเมืองกับแมอุย คําดวงนะเจา
๓) ปวดศรี ษะนะคะ ดิฉนั จึงขอลางานครง่ึ วัน
๔) “พอ” เมื่อเติมวรรณยกุ ตเอก จะเปลีย่ นความหมายเปนคําวา “พอ ”

ภาษาไทย (46)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

๓๕. ขอใดแสดงวา ภาษาไทยไมม กี ารเปล่ยี นแปลง
๑) เขาถกู เชิญไปงานเลย้ี งสังสรรคของบรษิ ทั
๒) เรามีคําวา “เพญ็ ” แทนคําวา “เตม็ ”
๓) เขาขึน้ ไปหาเขากวางบนเขาโนนเมอื่ ๓ วนั มาแลว
๔) วชิ าภาษาไทยงา ยตอ การเขาใจ

๓๖. “เขานง่ั ตากลมจนตาแดง” ประโยคนม้ี ีเสียงวรรณยุกตก เ่ี สยี ง

๑) ๒ เสียง ๒) ๓ เสียง

๓) ๔ เสยี ง ๔) ๕ เสยี ง

๓๗. “จตคุ ามรามเทพ” ขอใดกลาวไมถกู ตอง ๒) มีการออกเสียงแบบสมาส
๑) ออกเสียง ๖ พยางค ๔) แบงเปน คาํ มูลได ๒ คํา
๓) มคี ําครทุ ีเ่ ปนคาํ ตาย ๑ คํา

๓๘. องคป ระกอบของพยางคในขอใดตา งจากขออ่นื

๑) ผง้ึ ๒) ทบั

๓) ทึ้ง ๔) ชก

๓๙. คาํ ซาํ้ ในขอใดตา งจากขออ่ืน
๑) นองๆ สบายดีไหมคะ
๒) พ่ีชายฉนั มเี สอื้ ผา เปน ตูๆ
๓) ตอนเด็กๆ ฉันกลัวการวา ยนาํ้
๔) เด็กๆ ออกเดินทางกนั ไปแลว

๔๐. ขอ ใดมีคาํ สะกดผดิ
๑) ลาํ ไย กะเพรา พิเรนทร
๒) โชว กระทะ ราดหนา
๓) คลัตช ดีเปรสชนั คะนอง
๔) กะทิ โคก มังสวิรตั

๔๑. “ฉันมาไกล มาไกลเหลอื เกิน เพราะความฝน ของฉันอยูไ กลจากบานเกดิ ของฉัน หวงั วา จะเจอฝน ท่จี ะ
เปนจรงิ ในสกั วัน ฉันจงึ มาปก หลักตั้งถน่ิ ฐานอยทู ่นี ี่ แตช วี ิตในวัยเยาวข องฉันขาดความรักความอบอนุ
จากครอบครัว”
ขอ ความนบี้ กพรอ งดานใดเดน ท่ีสดุ
๑) ขาดการอธิบายตามลาํ ดบั ขนั้ ตอน
๒) ขาดการนยิ าม
๓) ขาดสมั พันธภาพในการเขยี น
๔) ขาดการเปรียบเทยี บ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (47)

๔๒. “ฉันจะบนิ ไปใหไกลใครจะรู สดุ ตาดมู องเห็นเชน ฟากวา ง
เพราะทางเดนิ ส้นิ หนคนนําทาง แสงสวางจากฟากฟาพาฉนั ไป”
อนุมานใดเกย่ี วกับผเู ขยี นคือขอใด
๑) มองโลกในแงด ี ๒) มีเหตุผล
๓) ใจกวางโอบออ มอารี ๔) จินตนาการกวา งไกล

๔๓. ขอ ใดแสดงเนอื้ ความโตแ ยง
๑) แมน ้าํ สายนไ้ี หลจากทิศใตไปสูท ิศเหนอื ลงสทู ะเลใด
๒) ฉันไมชอบคนทีพ่ ูดมากเพราะคนพูดมากไมค อยรับฟงความคิดผูอ่ืน
๓) คนสวยตองแตงงานกับคนหลอ ฉนั วามนั ก็ไมจริงเสมอไปดอู ยางเธอสิ
๔) ฉันวา เธอควรจะไปใหชา งทําผมเขาออกแบบทรงผมใหมนะ

๔๔. ขอใดแสดงทรรศนะเชงิ นโยบาย
๑) พรงุ นเ้ี ปน วันแรงงานแหง ชาติคะ
๒) อาจจะเปน สมชายทมี่ าชอบเพือ่ นเรา
๓) สมชายแตงตัวดดู มี ากเลย
๔) เธอควรจะไปกับสมชายดูจะเหมาะกวา นะ

๔๕. “คดิ ๆ เทา ไรคิดไมออกสักที เบื่อหนายตัวเองใยจงึ หัวไมด ี ทาํ ยังไงกค็ ดิ ไมออก”
อนุมานไดวา ขอใดเปนลกั ษณะของผูพดู
๑) เปน คนขาดสติ
๒) เปน คนมีสติ
๓) เปน คนประมาท
๔) เปนคนไมป ระมาท

๔๖. ก. ชาวบา นแถบนน้ี ิยมทาํ การเกษตรแบบผสมผสาน
ข. ดงั จะเหน็ ไดจ ากลุงมีของเราขดุ บอ ปลาแลวปลกู ตนกลว ยรอบบอ
ค. ชา งนา ชืน่ ชมเกษตรกรตวั อยางคนนจ้ี ริงๆ
ง. กลา วคือเพาะปลูกและเลย้ี งปลาเสริมดวย

ขอ ใดเรยี งลาํ ดับขอ ความไดอ ยา งมีความหมายสมั พนั ธกันมากที่สุด
๑) ก. - ข. - ค. - ง.
๒) ก. - ง. - ค. - ข.
๓) ก. - ง. - ข. - ค.
๔) ก. - ข. - ง. - ค.

ภาษาไทย (48)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27


Click to View FlipBook Version