เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 20400 – 2003 รายวิชา พื้นฐานงานประดิษฐ์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2562 นาย วสุ บุญอนันต์ แผนกวิชา คหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
20400-1003 พื้นฐานงานประดิษฐ์ จุดประสงค ์ รายวิชา เพ ื่อให ้ 1. เขา ้ใจเกี่ยวกบัพ ้ ื นฐานการประดิษฐ ์ ดอกไมส้ ด ใบตองและแกะสลกัผกัผลไม ้ และงานประดิษฐ ์ ตามสมยันิยม 2. สามารถประดิษฐ์ งานดอกไม้สด งานดอกไม้ประดิษฐ์ งานใบตองและแกะสลักผัก ผลไม้และงานประดิษฐ์ตาม สมัยนิยม 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทา งาน ปฏิบตัิงานดว ้ ยความเป็ นระเบียบเรียบร ้ อย ประณีตรอบคอบ ปลอดภัย ใช้ ทรัพยากรอยา่งประหยดัและรักษาสิ่งแวดลอ ้ ม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกบัพ ้ ื นฐานการประดิษฐ ์ งานดอกไมส้ ด งานใบตองและแกะสลกัผกัผลไมแ ้ ละงานประดิษฐ์ตาม สมัยนิยม 2. ประดิษฐ์งานดอกไม้สด งานใบตอง งานแกะสลัก ตามลักษณะงาน 3. งานประดิษฐ์งานตามสมัยนิยม ตามลักษณะงาน ค าอธิบายรายวิชา ศ ึ กษาและปฏิบตัิเกี่ยวกบัพ ้ ื นฐานการประดิษฐ ์ งานดอกไมส้ ด งานใบตอง งานแกะสลกัผกัผลไมแ ้ ละงานประดิษฐ์ ตามสมัยนิยม
ความหมายของคา วา่[ประดิษฐ, ประดิษฐ์' เประดิดถะ, ประดิด] ก. ต้งัข้ึ น, จดัทา ข้ึ น, คิดทา ข้ึ นสร ้ างข้ึ น, แต่งข้ึ น. ว. ที่จดัทา ข้ึ นให ้ เหม ื อนของจริง เช่น ดอกไมป้ ระดิษฐ ์,ที่คิดทา ข้ึ นไม่เหม ื อนธรรมชาติเช่น ลายประดิษฐ์ ประดิษฐ กรรม การท าสิ่งของข้ึ นจากวตัถุดิบ. การจ าแนกประเภท การจ าแนกงานประดิษฐ์ในสถาบันการศึกษาของไทย มี 7 กลุ่มไดแ ้ ก่ 1) งานประดิษฐ์ดอกไม้สดและใบตอง แบบประณีตศิลป์ 2) การจัดดอกไม้สดแบบประยุกต์ศิลป์ 3) การจัดดอกไม้แบบธรรมชาติ 4) งานประดิษฐ์ดอกไม้เทียม 5) งานประดิษฐ์ดอกไม้แห้ง 6) งาน แกะสลักผัก – ผลไม้ 7) งานหตัถกรทอ ้ งถิ่น
ดอกไม้สด – ใบตองแบบประณต ี ศิลป์ งานใบตอง บายศรีกระทงกระทงดอกไม ้ แจกนักระเชา ้ พวง มาลา พาน ชาม จาน ถาด พมุ่คู่สวด กรวยอุปัชฌาย ์ พมบูชา ุ่ พระ พานรับน้า พระพทุธมนต ์ ขนัหมากขนัหม้นัพานเชิญ ขนัหมาก เทียนพรรษา ห่ออาหาร เคร ื่องม ื อและอุปกรณ ์ 1. มีด 2. กรรไกร 3. คัทเตอร์ 4. เข็มเบอร์ 9 5. เขียงละถ้วยแบบกลมส าหลับในการท าแป้นวงกลม เวลาเย็บกระทง 6. ผ้าขาวบาง
วสัดุ 1. ใบตองตานี 2. ด้ายหลอดสีเขียว เบอร์ 60 3. ใบมะพร้าวส าหรับท าเตี่ยว หรือ มอบปากกระทง 4. ดินเหนียวหร ื อดินน้า มนัสา หรับแทนขนมเวลาห่อ การประดิษฐ์ใบตอง ก่อนลงม ื อทา ใบตองควรเตรียมวสัดุอุปกรณ ์ ทุกอยา่งให ้ หยบิใชส้ ะดวกจะไดส้ ะดวกต่อการทา งาน การเลือกใช้ใบตอง การห่อขนมชนิดที่ตอ ้ งน่ึ งควรใชใ้ บตองกลว ้ ยน้า วา ้ เพราะวา่ ใบตองบางชนิดเม ื่อถูกความร ้ อนจะมีรสขม และสีจะ คล้า สีไม่สวย สา หรับการห่อขนมเล ็ กนอ ้ ยชวั่คราว จะเล ื อใชใ้ บตองอะไรก ็ได ้ แต่เป็ นงานรูปทรงสวยงามควร เล ื อกใชใ้ บตองตานีเพราะใบตองตานีมีคุณสมบตัิที่ดีกวา่ ใบตองชนิดอ ื่น ค ื อ 1. ใบตองตานีมีสีเขียวเข้มเป็ นมัน 2. มีเน้ื อนุ่ม บางไม่แตกง่ายไม่ค่อยเกิดรอยช้า เวลาพบัไดร ู้้ ทรงตามตอ ้ งการ 3. ถา ้ นา ไปห่ออาหารถูกความร ้ อนสีจะไม่ตกติดอาหาร
การฉีกใบตอง ควรใช้ปลายเล็บนิ้วหัวแม่มือจิก แล้วฉีกหรือใช้เข็มหมุดจิกก็ได้ จิกค่อนไปทางปลายใบ ชิ้นที่เป็นแบบหันทาง นวลขึ้น และใช้ชิ้นเดียวตลอดเพื่อขนาดจะได้ไม่เคลื่อน เมื่อฉีกได้ตามจ านวนที่ต้องการแล้วน าตองมาเรียงทางอ่อน ทางแข็งไว้ทางเดียวกัน ตัดหัวตัดท้ายตามขนาดที่ต้องการ การดูแลรักษา 1. ใบตองที่ต้องการเก็บไว้ใช้ในวันต่อไป ควรพรมน ้าแล้วมัดให้อยุ่ ใส่กล่องแช่ตู้เย็นชั้นรรรมดา 2. ใบตองที่พับหรือเย็บเป็นภาชนะเสร็จแล้ว ให้น ้าไปแช่น ้า ที่แกว่งสารส้มไว้ สักพักแล้วน ้ามาห่อด้วยผ้าขาว บางแช่ตู้เย็นชั้นรรรมดา
การห่อแบบต่างๆ ในชีวิตประจ าวันของไทยนั้น มักจะมีความจ าเป็นในการ ใช้ใบตองห่อของซื้อของขายทั้งอาหารและขนมต่าง ๆ เช่นห่อ สวม ห่อหมก ห่อข้าว ห่อข้าวต้มมัด ห่อขนมเทียน ฯลฯ นอกจากจะได้รับความสะดวกในการหยิบถือไปแล้วยังช่วย ให้อาหารและขนมบางอย่างมีกลิ่นหอมน่ารับประทาน เช่น ห่อหมก แม้ว่าปัจจุบันมีถุงพลาสติกใส่ของใส่อาหารได้ สะดวกสบาย และหาได้ง่ายก็ตาม แต่สารบางอย่างใน ถุงพลาสติกได้เกิดปฏิกิริยายาทางเคมีกับอาหารที่เราบรรจุ ใส่ถุงนั้น เมื่อรับประทานเข้าไปในร่างกายแล้วอาจจะท าลาย สุขภาพได้ 1.การห่อสวม การห่อสวมเป็นการห่อง่ายๆ เพื่อใช้ชั่วคราว เช่น การห่อ พริก ห่อของเล็กๆ จ านวนน้อย วิธีห่อ 1. ใช้ใบตองขนาดเท่าที่ต้องการใช้เพียงชั้นเดียวเจียน ปลายทั้งสองข้างให้แหลมหรือมน 2. เวลาห่อไม่ต้องยกริมทางด้านข้างขึ้น ใช้มือทั้งสองมือ โอบปลายใบตองทั้งสองข้างเข้าหากัน ให้ปลายทางก้านใบ สวมตองทางปลายใบ 3. ใช้ไม้กลัด กลัดชี้ตามทางใบตอง
2. การหอ่ทรงเตีย้ การห่อทรงเตี้ยเรียกอีกอย่าง ว่า “ทรงนาง” การห่อทรงเตี้ยมี2 ลักษณะ ได้แก่ ห่อทรงเตี้ยไม่มีเตี่ยว และห่อทรงเตี้ยแบบมีเตียว ไม่ใช่เตี่ยว ใช่ห่อขนมขาย เช่น ข้าวเหนียว และก็ขนมหวานต่างๆ ใส่เตี่ยว ใช้ห่อของนึ่งหรือของใส่บาตร เพื่อจะให้หยิบจับได้ง่าย วิธีห่อ 1. ฉีกใบตอง 2ขนาดซ้อนบนขนาอเล็กและใหญ่ แล้วเจียนปลาย ให้แหลมหรือมนทั้ง 2ขนาด แล้วน าขนาดเล็กซ้อนบนใหญ่โดยหันด้าน นวลประกบกันและให้ทางอ่อนและทางแข็งของใบตองอยู่กลับข้างกัน 2. ยกริมใบตองทั้งสองข้างตามยาวด้วยมือซ้าย จับไว้ด้วยนิ้วชี้ และนิ้วหัวแม่มือ แล้วหักมุมมาให้ชิดปลายนิ้ว 3. มือขวาช้อนปลายใบตองโอบขึ้นพร้อมกับใช้นิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางกดหักมุมทางด้านช้าย 4. มือซ้ายช้อนปลายใบตองโอบขึ้นมาสวมซ้อนกันให้ปลายชิด เป็นมุมแล้วกลัดด้วยกลัดไม้กลัดชี้ตรงปลายห่อ 5. ถ้าเป็นชนิดมีเตี๋ยว ก็ฉีกใบตองเป็นเส้นยาว (กว้างพอเหมาะ) หรือใช้ใบมะพร้าวก็ได้ เดี่ยวนี้ตรงปลายห่อรัดตั้งแต่ก้นห่อถึงปลายห่อ แล้วกลัดไม้กลัดในแนวเฉียงกับทางเตี๋ยวให้ปลายเดี๋ยาวเกินห่อออกไป พองามเจียนปลายเตี๋ยวให้แหลม
3.การหอ่ทรงสูง การห่อทรงสูงหรืออีกอย่างว่า “ห่อทรงพระ” ใช้ใน การห่อขนมสามไฟ ขนมตาล ถ้าต้องการให้ห่อขนม สวยงามมักจะให้ห่อทรงสูง ลักษณะห่อมีฐานล่าง แคบกว่าทรงเตี้ยและปลายยอดสูงมีเตี่ยวคาดเสมอ วิธีการห่อ วิรีการเช่นเดียวกับห่อทรงเตี้ยทุกประการ เพียงแต่ตัดใบตองให้มีความยาวมากขึ้นความกว้าง แคบกว่า คือ ตัดใบตองให้กว้าง 3 นิ้ว ยาว 8นิ้ว ส่วน ใบตองชั้น ในจะเล็กกว่าชั้นนอก ถ้าห่อจ านวนมากใช้ ความรวดเร็วและสวยงามมีขนาดเท่ากันทุกห่อ ต้อง ใช้แม่แบบ ซ้อนใบตองกันสัก10แผ่น ใช้มีกรีดตาม แม่แบบ แล้วน าไปห่อท ามุมให้ได้รุปทรงเสียก่อน แล้ว จึงน าขนมมาใส่แล้วห่อตามรอยและ คาดด้วยเตี่ยวที่ ท าด้วยทางมะพร้าวเพราะอยู่ตัวดีกว่าใบตอง กลัดไม้ กลัดในแนวเฉียงกับทางเตี่ยว ตัดปลายเตี่ยวให้ สวยงาม
4.การห่อข้าวต้มมัด ฉีกใบตองซ้อนกัน 2 ชั้นให้กับข้างกัน ให้ ทางมันออกข้างนอกทั้ง 2 แผ่น จึงเจียน ใบตองให้ปลายมนแล้วพับโดยพับริมทาง ข้างให้ซ้อนกัน ใช้นิ้วชี้กดที่ตรงสุดเข้า เหนียวในห่อให้เป็นรูปมุมแหลม แล้วกด ปลายใบตองเข้ามาพับไว้อีกทางหนึ่งก็ท า เช่นกัน ให้ปลาย 2 ข้างทับกัน เพราะ ต้องการเอาข้าวต้มมัดนี้ไปต้ม ต้องเอา ข้าวต้มมัด2 กลีบมาประกบเข้สกันแล้วมัด ด้วยตอกหัวท้ายให้แน่น
5.การหอ่ข ้ าวต ้ มน ้าว ุ ้ น ฉีกใบตองให้ได้ขนาดความกว้าง ตามต้องการหรือประมาณ 1 –1 นิ้ว ครึ่งเช็ดให้สะอาดจับใบตองทางด้าน แข็งท าเป็นมุมรูปกรวย ใส่ข้าวเหนียว ที่แช่น ้าไว้จนเกือบเต็มกรวย พับ ใบตองด้านที่เหลือลงมาให้สนิทเป็น รูปสามเหลี่ยมพับทบไปทบมาท ามุม ไปเรื่อย ๆ ดึงให้น ้าหนักเสมอกัน จน ปลายใบ ปักตรงกลางห่อให้ทะลุไปถึง ด้านหลัง
6.การห่อขนมเทียน เจียนใบตองเป็นรูปวงกลมตามขนาดที่ต้องการแล้วน าใบตอง 2 ชิ้นมาซ้อนให้ทางนวลหันเข้าหากันเอา ใบตองด้านหนึ่งพับลงมาซ้อนทับกับใบตองอีกด้านหนึ่งให้เป็นรูปยอดแหลม เอาขนมที่ปั้นเป็นลูกกลมใส่ ลงไปพับริมใบตองทางด้านซ้ายและขวาให้ทับกัน จึงหักปลายใบทั้ง 2ข้างเข้ามาทับกันให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม แล้ว สอดทางใบตองที่เกินเข้าไปในช่องใต้รูปสีเหลี่ยม
กระทงใบเตย กระทงใบเตยลักษณะนี้นิยม ใช้ใบเตย และ ใบตาลในการน ามาประดิษฐ์เป็ นกระทง กระทง ใบเตยนิยมน ามาใช้ขนมตะโก ต่างๆ เพราะ มีกลิ่น ที่หอมเมื่อน าไปนึง กระทงใบเตย มีหลากหลาย ทรงตั้งแต่ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม เป็น ต้น แต่โดยทั่วไปจะท าเป็ นสีเหลี่ยม ส่วนกระทง ใบตาลนิยมท าเป็นตลับมีฝาใส่ของเล็กๆ น้อยๆ มี หลายรูทรงเช่นเดียวกับกระทงใบเตย
การเย็บ กระทง 1.กระทงมุมเดียว ใช้ห่อของชั่วคราวกรวยจะตื้นหรือลึก แล้วแต่ความต้องการ เลวลาเจียนใบตองเป็น รูปกลม จะใช้ชั้นเดียวหรือ 2ชั้นก็ได้ ถ้า 2 ชั้น ต้องสับทางกัน แล้วม้วนใบตองท ากรวยมุม แหลม กลัดด้วยได้กลัด 2.กระทงม ุ มเด ี ยวน ู นก ้ น คือกระทงมุมเดียวที่ดุนก้นขึ้นมาท าให้วาง ตั้งได้ใช้ ใส่ขนมเพื่อให้ดูน่ารับประทาน เช่น ขนมเหนียว ขนมต้มแดง ขนมต้มขาว ฯลฯ หรือใส่ของขายในตลาด เช่น พริก ดอกโสน ดอกขจร เวลาเจียนใบตองเป็นรูปวง กลมขาด ตามต้องการจ านวน 2แผ่น วางสับทางกันให้ ทางนวลอยู่ ข้างใน จับมุมที่กึ่งกลาง ใบตอง ใช้ไม้กลัดเสียบขวางตรงกับมุมทบด้านใน แล้วดันส่วนแหลมให้กระดกขึ้นจนเป็นฐาน รอบมุมและว่างตั้งได้
3.กระทง 2 ม ุ ม ฉ ี กใบตองกวา ้ งพอกบัความตอ ้ งการ ซอ ้ นกนั2ช ้ นั ประกบหนา ้ นวลเขา ้ หากนั แลว ้ เยบ ็ อยา ่ งเด ี ยวกบักระทงม ุ มเด ี ยวแต ่ ทา ท ้ งั2ขา ้ งถา ้ ตอ ้ งตอ ้ งการใหต ้้งได้ ให้ ั ด ุ นม ุ มท ี่แหลม ท ้ งัหวัทา ้ ยข ้ึ นเร ี ยกวา ่ กระทง2ม ุ มด ุ นกน ้ ใชใ้ส ่ ของชวั่คราวเช ่ น ขนมครก ขนมตาล
4.กระทง2 ม ุ มท ้ องแบน ใช ้ใส ่ อาหาร ขนมท ี่แห ้ งหร ื อม ี น ้ า ข ลุ ก ข ลิ ก ไ ด้ ฉี ก ใ บ ต อ ง เ ป็ น รู ป สี่เหลี่ยมผืนผ้าตามขนาดที่ต้องการ ซ้อน กนั2ช ้ นั ประกบหนา ้ นวลเขา ้ หากนั ใชมือ้ ขวา จบัขอบใบตองทางดา ้ นยาว ห ่ างลงมา จากมุมลงมา 1น ิ ้ ว จบัร ิ มใบตองให ้ ต ้ งัข ้ึ น เป็ นขอบส ู งประมาณคร่ึ งน ิ ้ ว ม ้ ื อซายยกริม ้ ใบตองทางกวา ้ งข ้ึ น ม ื อขวาดนัร ิ มใบตอง ให้เป็ นมุม และจับริ มใบตองอ้อมไปทาง ด ้ านหลัง ท าเช ่ นเด ี ยวกันอ ี กข ้ างหนึ่ ง ใบตองท ี่จ ี บท ้ัง2ม ุ มน ้ ี จะไปซ ้ อนกันอย ู ่ ด้านหลัง ใช้ไม้กลัดกลัด การเยบ ็ กระทงชน ิ ดน ้ ี ตอ ้ งเยบ ็ ม ุ มท ้ งั สองดา ้ นใหต ้ รงกนัและความกวา ้ งของแต ่ ละม ุ มตอ ้ งเท ่ ากนักระทงจ ึ งจะไม ่ เอยง ี
6.กระทงหกมุม วิธีการเยบ ็ กระทงหกมุมทา เช่นเดียวกนักบักระทงสี่มุมแต่ตอ ้ ง แบ่งหกส่วนเพ ื่อเยบ ็ ให ้ไดห ้ กมุม แลว ้ใช ้ กรรไกรเล ็ มปากกระทง ให ้ เสมอกนั วิธีมอบปาก ใช้ใบมะหร้าวทบครึ่ งแนวให้กระดูกกลางอยบู่น ปากกระทงและควรจะตัดริมด้านนอกของใบมะพร้าวมีขนาด เท่ากนัแลว ้ใชเ ้ ขม ็ ร ้ อยไดส้ีเขียวสอยแบบดา น้า โดยรอบ 5. กระทงสี่มุม กระทงสี่มุม เป็นกระทงที่ใช้กันแพร่หลาย เช่น ใส่ตะโก้ ลืมกลืน ใส่ห่อหมก ใบตองที่สมควรใช้สมควรเป็นใบตอง ตานี ฉีกให้ความกว้างพอกับความต้องการ ซ้อนกันหลายๆชั้น หาภาชนะที่เป็นวงกลมวางบนใบตองที่ซ้อนไว้ ใช้มือ ซ้ายกดภาชนะให้แน่น ใช้คัทเตอร์หรือมีดคมๆ กรีดใบตองให้เป็นวงรอบภาชนะ นั้นกดให้ใบตองขาดไปถึงชั้นล่างเมื่อ ใด้ใบตองเป็นรูปวงกลมแล้วใช้ใบตอง2แผ่นซ้อนกัน ให้นวลใบตองประกบกันและให้ใบตองสับทางกันด้วย เวลากลัด ไม้กลัดใบตองจะไม่แตกออกจากัน เวลาเย็บแบ่งใบตองเป็น4ส่วน แล้วหักมุมที่ 1คือหักใบตองให้มาเกยกันเป็นมุมแหลมกลัดด้วยไม่กลัด ต่อไป เย็บมุมที่2 ตรงข้ามกับมุมแรก มุมที่ 3และ 4เย็บ ระหว่างมุมที่ 1และมุมที่ 2
1.ประโยชน์ของงานใบตอง งานใบตองเป็นการน าใบของต้นกล้วยมาใช้ประโยชน์และประโยชน์ดังนี้ 1.2.1. ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1). ใช้ใบตองห่ออาหาร ห่อขนมต่าง ๆ เช่น การห่อทรงเตี้ย ห่อหมก ห่อข้าวต้มมัด ห่อขนมสอดไส้ ห่อ ผักผลไม้ ท ากระทงใส่ขนม อาหาร ท าให้สะดวกในการหยิบอาหาร 2). ขนมและอาหารที่ห่อด้วยใบตองมีกลิ่นหอมน่ารับประทาน จึงท าให้มีการน าใบตองมาใช้มากขึ้น 1.2.2. ใช้ในโอกาสต่าง ๆ 1). ใช้มอบให้เนื่องในงานวันส าคัญ ประดิษฐ์ภาชนะจากใบตอง เช่น กระเช้าใบตอง ถาดใบตอง ผอบใส่ขนม ผลไม้ หรืออาหาร น าไปมอบให้บุคคลที่เคารพนับถือในวันคล้ายวันเกิด วันปีใหม่ วันที่ ประสบ ผลส าเร็จ ไปเยี่ยมไข้หรือในโอกาสพิเศษต่างๆ เพื่อแสดงความเคารพนับถือ ผู้รับย่อมซาบซึ้งใน น ้าใจไมตรี 2). ใช้ประดิษฐ์งานเพื่อใช้ในพิรีกรรม ในงานตามความเชื่อและประเพณี เช่น งานแต่งงาน ลอย กระทง พิรียกเสาเอกตั้งศาล พานไหว้ครู คนไทยนิยมประดิษฐ์งานดอกไม้ใบตองอย่างประณีต เช่น บายศรี กระทงลอย ขันหมาก ขันสินสอด พานแหวนหมั้น และพานรองรับน ้าสังข์ ฯลฯ
3). งานพิรีทางศาสนา ใบตองถือได้ว่าเป็นใบไม้มงคลน ามาประดิษฐ์งานประณีตศิลป์ ในงานพิรีทาง ศาสนา เช่น พุ่มคู่สวด กระทงดอกไม้ กระทงสังฆทาน สลากภัตร พานพุ่ม และซองพลู ฯลฯ 4). สร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผู้ที่เรียนรู้การประดิษฐ์งานใบตองสามารถน าความรู้ ไปสร้างสรรค์ ชิ้นงานใหม่ ๆ เช่น การประกวดกระทงลอย ประกวดบายศรี การประกวดการจัดพานขันหมาก 5). งานใบตองแสดงให้เห็นถึงความเป็นไทย มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีความละเอียดอ่อน ประณีต มีความสง่างาม และมีความงามที่วิจิตรพิสดารที่ไม่มีชาติใดในโลกเหมือน 6). มีความอนุรักษ์สืบสานศิลปะงานใบตองของไทย 7). น าไปประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพรองได้ 8). ช่วยให้จิตใจสงบร่มเย็น การประดิษฐ์งานใบตองนั้นถือว่าเป็ นสิ่งสวยงามน ามาซึ่งความ เพลิดเพลิน ความสงบร่มเย็น เพราะจิตใจมีสมาริ ความคิดเกิดจินตนาการ ผู้ท างานใบตองจึงเป็นผู้มีอารมณ์ สงบนิ่ง
2. คุณค่าของงานใบตอง งานใบตองเป็นงานที่แสดงออกถึงเอกลักษณ์ภูมิปัญญาของบรรพชนไทยสมัยก่อนที่ได้รู้จัก ประดิดประดอยวัสดุรรรมชาติ มาใช้เป็นภาชนะห่อหุ้มอาหารได้อย่างวิจิตรสวยงามความส าคัญและ คุณค่างานใบตอง แบ่งออกได้ 3 ด้วย คือ 2.1.คุณค่าทางวัฒนรรรมและสังคม ใบตองกับชีวิตของคนไทยอยู่คู่กันมาตั้งแต่ยุคสมัยโบราณ ถึงปัจจุบัน ซึ่งมีการน ามาประดิษฐ์เป็นกระทง บายศรี พานขันหมาก พานขันหมั้น ฯลฯ การประดิษฐ์งาน ใบตองแต่ละอย่างล้วนงดงาม ประณีต ความสามารถของคนไทยไม่มีชนชาติใดในโลกเหมือนซึ่งสมควรที่ อนุชนรุ่นหลัง จะถือเป็นหน้าที่ที่ควรหวงแหน และรักษาไว้เป็นศิลปะและวัฒนรรรมประจ าชาติสืบไป 2.2. คุณค่าทางเศรษฐกิจ การประดิษฐ์งานใบตองนี้สามารถน าไปสร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่มี ความสามารถทางด้านศิลปะประดิษฐ์ ไม่ว่าจะเป็นการน าไปประกอบอาชีพถาวร หรืออาชีพเสริม เช่น การ จัดท าบายศรี การประดิษฐ์กระทงลอย ฯลฯ 2.3. คุณค่าทางจิตใจ ขณะในการปฏิบัติงาน ย่อมเกิดความเพลิดเพลิน มีสมาริ ท าให้ผู้ที่ ท างานด้านนี้มีจิตใจเยือกเย็นสุขุม เกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่ส าเร็จ และยังเป็นการช่วยด ารง เอกลักษณ์ความเป็นไทยได้อย่างดี
1. จงล าดับขั้นตอนการเตรียมใบตอง (โดยใส่ตัวเลข 1,2,3,4และ5 ตามล าดับ ใน กระดาษค าตอบ) …….……… เช็ดท าความสะอาดใบตอง …….……… ฉีกตามขนาดที่ต้องการ …….……… เลือกใบตองที่ต้องการใช้ …….……… ตัดตามรูปแบบที่ต้องการ …….……… พรมน ้า ห่อด้วยผ้าชุบน ้าหมาดๆ หรือใส่ถุงพลาสติก
2. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ท าเครื่องหมาย () และ (x) หน้าข้อที่ถูกต้อง …….……… 1. ห่อข้าวต้มมัด ควรเลือกใช้ใบตองกล้วยน ้าว้า …….……… 2. ข้าวต้มน ้าวุ้น ห่อรูปแบบสามเหลี่ยม …….……… 3. ขนมชั้น ห่อแบบทรงเตี้ยไม่มีเตี่ยว ……….…… 4. ขนมเทียม ใช้ใบตองชั้นเดียวห่อ จะได้รูปทรงสวยงามเมื่อนึ่งเสร็จ …………… 5. ขนมสอดไส้ชาววัง (ห่อเล็กๆ) ใช้วิรีห่อทรงเตี้ย ……...…… 6. ห่อหมกนึ่ง ใช้การห่อแบบมีเตี่ยว …….……… 7. การตัดใบตองควรตัดตอนเช้าตรู่ …….…..… 8. ใบตองกล้วยน ้าว้าใช้ห่ออาหารน าไปนึ่ง ……...…… 9. งานประดิษฐ์ด้วยใบตอง ควรใช้ใบตองตานี …….…… 10. เก็บดอกจ าปีจากต้นแล้วห่อเพื่อให้สดด้วยการห่อสวม
3.
4. จงบอกประโยชน์ของการห่อ และจงยกตัวอย่างประกอบ 1.การห่อสวม…………………………………..…..………………………………………………………………………… เช่น…………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การห่อทรงสูง…….………………………..…..…………………………………………………………………………. เช่น…………………………………………………………………..…………………………………………………………