The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าที่ชาวพุทธ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by luckana2506, 2021-02-24 09:16:14

หน้าที่ชาวพุทธ ม.3

หน้าที่ชาวพุทธ ม.3

Keywords: ม,ารยาทชาวพุทธ

หน่วยท่ี 5 หน้าทช่ี าวพุทธ

หนา้ ทชี่ าวพุทธ การปฏบิ ตั ติ นต่อพระสงฆ์

1.จะทาสง่ิ ใดด้วยเมตตา
ใหค้ วามเคารพต่อพระสงฆ์ และช่วยเหลอื กจิ ของสงฆ์

2.จะพูดสง่ิ ใดด้วยเมตตา
พูดต่อพระสงฆ์ด้วยถอ้ ยคาทไี่พเราะ ถูกต้องเหมาะสม

3.จะคดิ สงิ่ ใดด้วยเมตตา
คดิ ต่อท่านด้วยความเคารพศรทั ธา

4.ต้อนรบั ด้วยความเตม็ ใจ
เมอื่ พบท่านในสถานทตี่ ่างๆกแ็ สดงความเคารพ

5.อุปถมั ภ์ด้วยปจั จยั 4
ถวายของทเี่หมาะสมกบั สมณเพศ

หนา้ ทช่ี าวพุทธ การรกั ษาศลี

ศลี 8 คอื การรกั ษาระเบยี บหรอื ขอ้ ปฏบิ ตั ใินการฝึ กหดั กายวาจา ดงั น้ี
1. เวน้ จากการฆ่าสตั ว์
2. เวน้ จากการลกั ขโมย
3. เวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม
4. เว้นจากการพูดเทจ็
5. เว้นจากการดม่ื น้าเมา
6. เวน้ จากการบรโิ ภคอาหารในเวลากลางคนื
7. เวน้ จากการฟ้ อนรา ขบั ร้อง บรรเลงดนตรี ดูการละเลน่
8. เว้นจากทน่ี อนอนั สูงใหญ่ภายในยดั ด้วยนุ่นและสาลี

หนา้ ทช่ี าวพุทธ
การแสดงตนเป็นพุทธมามะกะ

พุทธมามะกะ
หมายถงึ ผูป้ ระกาศตนว่าเป็นผูน้ บั ถอื พระพุทธศาสนา

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ สบื สานความเป็นชาวพุทธ
2. เพอ่ื ราลกึ อยู่เสมอว่าตนเป็นชาวพุทธ
3. เพอ่ื ปลูกฝังนสิ ยั ใหม้ คี วามมนั่ คงในศาสนา
4. ใชใ้ นกรณที ผ่ี ูเ้ คยนบั ถอื ศาสนาอนื่ ประสงค์จะหนั มานบั ถอื ศาสนาพุทธ

หนา้ ทชี่ าวพุทธ

การเขา้ ร่วมกจิ กรรมขององค์กรชาวพุทธ

องค์กรชาวพุทธเป็นสถาบนั ทจี่ ดั ขน้ึ อย่างถูกต้องตามกฎหมายและมวี ตั ถุประสงค์ทช่ี ดั เจน เช่น
ยุวพุทธกิ สมาคมแห่งประเทศไทย สมาคมชาวพุทธ ชุมนุมเกย่ี วกบั พระพุทธศาสนาของสถาบนั ต่างๆ

ดงั นนั้ ชาวพุทธทุกคนจงึ ควรหาโอกาสเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่างๆ

หนา้ ทชี่ าวพุทธ

การเขา้ ร่วมพธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนา

เช่น พธิ เี วยี นเทยี น พธิ ที อดกฐนิ พธิ เี ขา้ พรรษา เป็นต้น โดยชาวพุทธผูเ้ ขา้ ร่วม
พธิ จี ะต้องมคี วามพร้อมทงั้ กาย วาจา ใจให้สงบ ปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนในพธิ กี รรม โดยมุ่ง
ประโยชน์ตามหลกั พระพุทธศาสนา

หนา้ ทช่ี าวพุทธ

การเขา้ ใจกจิ ของพระภกิ ษุ

1.การศึกษาอบรม

เมอื่ พระสงฆ์บวชแลว้ กจ็ ะต้องได้รบั การศกึ ษาครบ 3 ด้าน
1.ศลี ศลี ทส่ี าคญั 227 ขอ้ ขอ้ บญั ญตั ติ ่างๆ
2.สมาธิ ต้องฝึ กฝนจติ ใจด้วยการฝึ กสมาธวิ ปิ สั สนา
3.ปญั ญา อบรมตนให้เป็นผูม้ ปี ญั ญา เป็นผูน้ าทาง
ศาสนาของศาสนกิ ชน

หนา้ ทชี่ าวพุทธ

การเป็ นนักบวชท่ีดี

- มหี นา้ ทสี่ าคญั ในการเผยแผ่ การเขา้ ใจกจิ ของพระภกิ ษุ
พระพุทธศาสนา

- หนา้ ทคี่ วรปฏบิ ตั อิ นั เกยี่ วเนอื่ งด้วยพุทธ

บญั ญตั ิ เช่น การรบั บณิ ฑบาต การลง การศึกษาพระปริยัติธรรม

อุโบสถกรรม การเจรญิ พุทธมนต์ ศกึ ษาพระปรยิ ตั ติ ามหลกั สูตรการเรยี น ดงั น้ี

1.แผนกธรรม วชิ าทเี่รยี น เช่น วนิ ยั สงฆ์ พุทธประวตั ิ

2.แผนกบาลี เพอ่ื ใหร้ ู้ไวยากรณ์บาลี แปลภาษาบาลี

การเขา้ ใจกจิ ของพระภกิ ษุในการปฏบิ ตั แิ ละเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา

1. สร้างศรทั ธาในพระพุทธศาสนาและทาตนเป็นตวั อย่างทดี่ ี

พระสงฆต์ ้องพยายามชกั ชวนและชแ้ี จงให้ประชาชนเลอ่ื มใสศรทั ธาในพระพุทธศาสนา

2. สร้างความรู้ความเขา้ ใจทถ่ี ูกต้องเกย่ี วกบั พระพุทธศาสนา
3. สอนใหล้ ะความชว่ั พยายามหาวธิ ใีห้คนละทาความชว่ั แต่ใหพ้ งึ ทาความดใีหไ้ ด้
4. สนบั สนุนใหท้ าความดี พระสงฆต์ ้องสร้างเสรมิ กาลงั ใจให้คนทาความดี มเีทคนคิ วธิ แี นะนาทเ่ีหมาะแก่บุคคล

5. สร้างบุคลากรทม่ี คี ุณภาพไวส้ บื ทอดพระพุทธศาสนา ต้องสร้างศาสนทายาททมี่ คี ุณภาพไว้ด้วย

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุ

การแต่งกายไปวดั

- ใส่เสอ้ื ผา้ สอี ่อน สสี ุภาพ การแตง่ กายไปวดั
- เนอ้ื ผา้ ไมโ่ ปร่งบางจนเกนิ ไป
- ไม่ควรหลวมหรอื รดั รปู จนเกนิ ไป
เพอ่ื สะดวกในการกราบไหวพ้ ระ

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุ

การนาเดก็ หรอื บุคคลอน่ื ๆไปวดั

- เป็นการปลูกฝังนสิ ยั ทดี่ แี ก่เดก็
เหน็ ความสาคญั ในการทาบุญ

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุ

การเตรยี มอาหารไปวดั

- ควรเป็นอาหารโดยทวั่ ไป สุกใหม่
- ปรุงจากพชื ผกั เนอ้ื สตั ว์
- เนอ้ื สตั ว์ทต่ี ้องหา้ มสาหรบั ภกิ ษุ
ได้แก่ เนอ้ื มนุษย์ เนอ้ื ชา้ ง เนอ้ื มา้ เนอ้ื งู
เนอ้ื สุนขั เนอ้ื ราชสหี ์ เนอ้ื เสอื โคร่ง เนอ้ื เสอื เหลอื ง เนอ้ื เสอื ดาว เนอ้ื หมี

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุ

การเตรยี มตวั ก่อนไปวดั

- จดั เตรยี มของใหเ้ รยี บร้อย
- ทาจติ ใจใหแ้ จม่ ใส
- ราลกึ ถงึ คุณพระรตั นตรยั

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุ

การปฏบิ ตั ติ นโดยทว่ั ไปภายในวดั

- สารวมกาย วาจา ใจ
- งดสูบบุหรโ่ีดยเดด็ ขาด
- นงั่ เป็นระเบยี บเรยี บร้อย
- เปลง่ เสยี งพร้อมเพรยี งในขณะประกอบพธิ ี

มารยาทชาวพุทธ
การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภกิ ษุในงานศาสนพธิ ที บี่ า้ น

การจดั เตรยี มสถานที่

สงิ่ ทช่ี าวพุทธพงึ ปฏบิ ตั ติ ่อพระภกิ ษุในงานศาสนพธิ ที บ่ี า้ นและการจดั เตรยี มสถานที่ ได้แก่

1. การจดั อาสนะสงฆ์ให้เหมาะสม ซงึ่ สามารถจดั ได้ 2 วธิ ี

วธิ แี รก ยกพน้ื ทน่ี งั่ พระสงฆใ์ ห้สูงขน้ึ มผี า้ ปูเพอื่ เป็นทน่ี ง่ั พระสงฆ์
การจดั ลกั ษณะน้ี แขกทมี่ าร่วมงานจะนงั่ เก้าอ้ี

สิ่งทชี่ าวพุทธพงึ ปฏบิ ตั ิต่อพระภิกษุในงานศาสนพธิ ีทบี่ ้านและการจดั เตรยี มสถานที่ ได้แก่

ส่งิ ท่ชี าวพทุ ธพึงปฏิบตั ิต่อพระภิกษใุ นงานศาสนพิธที ีบ่ า้ นและการจัดเตรยี มสถานท่ี ได้แก่

มารยาทชาวพุทธ

วธิ ที ส่ี อง คอื ใชเ้ สอื่ หรอื พรมปูบนพน้ื ธรรมดา อาสนะสงฆ์ควรมผี า้ ขาวหรอื ผา้ ปูนง่ั
ปูบนเสอื่ หรอื พรมอกี ทหี นง่ึ เพอ่ื ใหพ้ ระสงฆ์นง่ั ในทส่ี ูงกว่าฆราวาส

มารยาทชาวพุทธ

2. การต้อนรับพระสงฆ์ ส่ิงท่ีควรเตรียม ได้แก่ เจา้ ภาพควรจดั คนไว้ปรนนบิ ตั พิ ระสงฆ์

จัดถวายน้าฉัน ตลอดถึงคอยจัดรองเท้าของพระสงฆ์วางให้เรียบ ร้ อย
เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้า นิยมยกมือไหว้ หรือกร าบ
ตามความเหมาะสมแก่ สถานท่ีนั้น

มารยาทชาวพุทธ

3. การประเคนของพระ คอื การถวายสงิ่ ของแด่พระสงฆ์ด้วยกริ ยิ าแสดงความเลอ่ื มใสศรทั ธา

แสดงกริ ยิ าอ่อนนอ้ มต่อพระสงฆ์

วธิ ปี ระเคน คอื นงั่ หรอื ยนื ห่างจากพระประมาณ 1 ศอก จับของท่ีจะประเคนด้ วยมือทั้งสองหรือ

มือเดียวก็ได้ ยกให้สู งพ้นพ้ืนเล็กน้อยแล้วน้อมประเคนด้วยความเคาร พ ถ้าเป็ นบุรุษ
พ ร ะ จ ะ ร ับ ด้ ว ย ม ือ ท ั้ง ส อ ง

มารยาทชาวพุทธ

ถา้ เป็นสตรี พระจะทอดผา้ สาหรบั ประเคนออกมารบั พงึ วางของบนผา้ นน้ั แลว้
ปลอ่ ยมอื เมอ่ื ประเคนเสรจ็ แลว้ พงึ กราบหรอื ไหวแ้ ลว้ แต่กรณี

มารยาทชาวพุทธ

4. การสนทนา เมอ่ื กาลงั สนทนากบั พระสงฆ์ ควรประนมมอื ในขณะทพ่ี ูดกบั ท่าน

ไมค่ วรพูดลอ้ เล่น พูดคาหยาบและเรอ่ื งไร้สาระ รวมทง้ั ไมพ่ ูดสนทนากบั ท่านในที่
ลบั ตาสองต่อสองเพราะเป็นการผดิ วนิ ยั ของพระสงฆ์ และก่อใหเ้ กดิ ขอ้ ครหาแก่
บุคคลทว่ั ไป

5. การแต่งกาย เมอื่ มศี าสนพธิ ที บ่ี า้ น เจา้ ภาพหรอื ผูเ้กย่ี วขอ้ งในงาน ควรแต่งกายให้

เรยี บร้อย ไม่นุง่ กระโปรงสน้ั รดั รูปจนเหน็ สดั ส่วนของร่างกาย
หรอื สวมเสอ้ื ผา้ บางเกนิ ไป

มารยาทในการสนทนากบั พระสงฆ์

การใชค้ าพูดกบั พระธรรมดาสามญั ทว่ั ไป

ถา้ ผูพ้ ูดไมร่ ู้จกั กบั พระภกิ ษุสงฆร์ ูปนน้ั ไมท่ ราบว่าท่านมสี มณศกั ดช์ิ น้ั ไหน นยิ มใชค้ าพูดสามญั เป็น

กลางๆ ดงั น้ี

คาแทนตวั พระภกิ ษุสงฆ์รูปนนั้ ว่า “พระคุณเจา้ ” หรอื “พระคุณท่าน” หรอื “ท่าน”

คาแทนตวั ผูพ้ ูด (ชาย) ว่า “กระผม” หรอื “ผม”

คาแทนตวั ผูพ้ ูด (หญงิ ) ว่า “ดฉิ นั ” หรอื “อฉี นั ” หรอื “ฉนั ”

คารบั คาพูด (ชาย) ว่า “ครบั ”

คารบั คาพูด (หญงิ ) ว่า “เจา้ ค่ะ” หรอื “ค่ะ”

ระเบยี บปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าพูดกบั พระสงฆ์ต่างชนั้

การใชค้ าทูลสมเดจ็ พระสงั ฆราช
คาแทนตวั พระองค์ท่าน ว่า “ฝ่ าพระบาท” หรอื “ฝ่ าบาท”
คาแทนตวั ผูพ้ ูด (ชาย) ว่า “เกลา้ กระหม่อม” หรอื “กระหมอ่ ม”
คาแทนตวั ผูพ้ ูด (หญงิ ) ว่า “กระหม่อมฉนั ” หรอื “หม่อมฉนั ”
คารบั พระดารสั (ชาย) ว่า “พะ่ ยะ่ ค่ะ” หรอื “กระหมอ่ ม”
คารบั พระดารสั (หญงิ ) ว่า “เพคะ”

ระเบยี บปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าพูดกบั พระสงฆ์ต่างชน้ั

การใชค้ าพูดกบั สมเดจ็ พระราชาคณะและพระราชาคณะชนั้ ราชขน้ึ ไป

คาแทนตวั ท่าน ว่า “พระเดชพระคุณ” หรอื ใต้เทา้ ”
คาแทนตวั ผูพ้ ูด (ชาย) ว่า “เกลา้ กระผม” หรอื “เกลา้ ฯ”
คาแทนตวั ผูพ้ ูด (หญงิ ) ว่า “ดฉิ นั ” หรอื “อฉี นั ”
คารบั คาพูด (ชาย) ว่า “ขอรบั กระผม” หรอื “กระผม” หรอื “ครบั ผม”
คารบั คาพูด (หญงิ ) ว่า “เจา้ ค่ะ”

ระเบยี บปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าพูดกบั พระสงฆ์ต่างชนั้

การใชค้ าพูดกบั พระราชาคณะชนั้ สามญั ลงมา

- พระราชาคณะใชค้ าแทนตวั ท่านว่า “ท่านเจา้ คุณ” หรอื “ท่าน”
- พระครูสญั ญาบตั รและพระครูฐานานุกรม ใชค้ าแทนตวั ท่านว่า “ท่านพระคร”ู หรอื “ท่าน”
- พระเปรยี ญ ใชค้ าแทนตวั ท่านว่า “ท่านมหา” หรอื “ท่าน”
- พระอนั ดบั ธรรมดา ใชค้ าแทนตวั ท่านว่า “พระคุณเจา้ ” หรอื “ท่าน”
- พระผูเ้ฒ่า ใชค้ าแทนตวั ท่านว่า “หลวงพอ่ ” หรอื “หลวงปู่”

ระเบยี บปฏบิ ตั กิ ารใชค้ าพูดกบั พระสงฆ์ต่างชนั้

- ถา้ พระสงฆ์นน้ั เป็นญาตกิ บั ผูพ้ ูด นยิ มใชค้ าพูดแทนตวั ท่านตามฐานะทเี่ป็นญาตกิ นั เช่น ใชค้ าแทน
ตวั ท่านว่า “หลวงปู่ หลวงตา หลวงพอ่ หลวงลุง หลวงอา หลวงนา้ หลวงพ่ี “ เป็นต้น

คาแทนตวั ผูพ้ ูด (ชาย) ว่า “กระผม” หรอื “ผม”
คาแทนตวั ผูพ้ ูด (หญงิ ) ว่า “ดฉิ นั ” หรอื “อฉี นั ”
คารบั ผูพ้ ูด (ชาย) ว่า “ครบั ”
คารบั ผูพ้ ูด (หญงิ ) ว่า “เจา้ ค่ะ” หรอื “ค่ะ”


Click to View FlipBook Version