The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม Easy EDA

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pocky193990, 2021-11-18 11:41:59

รายงานการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม Easy EDA

รายงานการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม Easy EDA

รายงาน
การเขียนแบบโดยใชโ้ ปรแกรม Easy EDA

จัดทำโดย
นางสาวนริ ชา คล้ายสมบัติ รหสั นักศึกษา 6211518205
นายภาณภุ ัทร ปนทิ านัง รหสั นกั ศึกษา 6211518209
นายกิจตพิ งษ์ รน่ื รสู้ าน รหัสนกั ศึกษา 6211518210

สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ (อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละโทรคมนาคม)

รายงานน้เี ป็นส่วนหน่งึ ของรายวิชาเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ 6023401
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564



รายงาน
การเขยี นแบบโดยใชโ้ ปรแกรม Easy EDA

จัดทำโดย
นางสาวนริ ชา คล้ายสมบัติ รหสั นกั ศกึ ษา 6211518205
นายภาณภุ ทั ร ปนิทานงั รหัสนกั ศกึ ษา 6211518209
นายกจิ ตพิ งษ์ รนื่ รสู้ าน รหัสนกั ศึกษา 6211518210

สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ (อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม)

รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนึง่ ของรายวชิ าเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ 6023401
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564



คำนำ

รายงานเรื่อง การเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม Easy EDA นี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชารายวิชาเขียนแบบวงจร
อิเลก็ ทรอนิกส์ 6023401 มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาความร้เู ก่ียวกับการเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และสรุปวงจรต่างๆท่ี
ได้ออกแบบมา ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม Easy EDA และ ประโยชน์ของการนำ
การใชก้ ารเรยี นรู้แบบ PBL มาใชร้ ว่ มกบั การออกแบบวงจร

การจัดทำรายงานฉบับนี้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี กลุ่มของข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ
ว่าที่ร้อยตรีวรากรณ์ สาริขา ที่ท่านไดใ้ ห้คำแนะนำออกแบบวงจรจนทำให้รายงานฉบับนี้สมบูรณใ์ นด้านแผนปฏิบัตศิ ึกษา
การทำรายงาน การเรียบเรียงเนื้อหา การเขียนบรรณานุกรมได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี กลุ่มของข้าพเจ้าหวังว่า เนื้อหาใน
รายงานฉบบั น้ีทไ่ี ด้เรยี บเรยี งมาจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเปน็ อย่างดี หากมสี งิ่ ใดในรายงานฉบบั นี้จะตอ้ งปรับปรุง
กลุ่มของขา้ พเจา้ ขอน้อมรบั ในข้อช้ีแนะและจะนำไปแก้ไขหรือพัฒนาใหถ้ ูกตอ้ งสมบรู ณต์ ่อไป

คณะผจู้ ดั ทำ
15/11/2564



สารบัญ

หน้า

คำนำ ............................................................................................................................. ......................................... ก
สารบัญ ............................................................................................................................. ...................................... ข
บทที่ 1 บทนำ

- แนะนำโปรแกรมออกแบบ PCB ออนไลน์ ดว้ ย Easy EDA Designer...................................................1-5
บทที่ 2 สญั ลกั ษณ์ไฟฟ้า และ สัญลักษณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

- สัญลักษณ์ไฟฟา้ และสัญลกั ษณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์..................................................................................6-10
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน

- นิยามวงจร อุปกรณใ์ นการออกแบบ และ ข้นั ตอนการออกแบบ.
- วงจรท่ี 1 วงจรเร็กติไฟเออร์……………………………………………………………………………………………………….11
- วงจรท่ี 2 วงจรเตอื นนำ้ เตม็ ต่มุ ................................................................................................................12
- วงจรท่ี 3 วงจรสวทิ ช์ควบคมุ ระยะไกลใชอ้ ลุ ตร้าโซนคิ ………………………………………………………………….13
- วงจรที่ 4 วงจรรเี ลยห์ นว่ งเวลาแบบประหยดั ……………………………………………………………………………….14
- วงจรที่ 5 วงจรไฟกระพริบ หลอดไฟ 2 ดวง โดยใช้ทรานซิสเตอร์ ………………………………………………...15
- วงจรท่ี 6 วงจรไฟกระพรบิ 5 ดวง โดยใช้ Ic 555 .................................................................................16
- วงจรท่ี 7 วงจรทดสอบหวั เทียนรถยนต์ .................................................................................................17
- วงจรท่ี 8 วงจรไฟเบรครถสวยๆ ดว้ ย BC327 ……………………………………………………………………….......18
- วงจรท่ี 9 วงจรเกมโยนเหรียญอย่างง่ายโดยใชท้ รานซิสเตอร์มัลติไวเบรเตอร์ .......................................19
- วงจรท่ี 10 วงจรไล่ยุงอย่างง่ายโดยใช้ทรานซิสเตอร์ ……………………………………………………………………20
- วิธกี ารออกแบบโปรเจคบน Easy EDA Designer ……………………………………………………………………21-27
บทที่ 4 เทคนิคการออกแบบ
- เทคนิคการออกแบบ ……………………………………………………………………………………………………………28-29
บทที่ 5 ประโยชน์ของการนำการใชก้ ารเรยี นรู้แบบ PBL มาใชร้ ่วมกับการออกแบบวงจร
- การจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning: PBL) …………………………….30-31

- ประโยชนข์ องการนำการใช้การเรยี นรแู้ บบ PBL มาใช้รว่ มกบั การออกแบบวงจร …………………………..32

บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………….33

บทที่ 1

บทนำ

แนะนำโปรแกรมออกแบบ PCB ออนไลน์ ด้วย Easy EDA Designer
Easy EDA เป็นเครื่องมือ EDA (Electronic Design Automation) ซึ่งใช้ในการออกแบบวงจร และ

ออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) โดยตัวโปรแกรมทำงานแบบออนไลน์อยู่บนคลาวด์ ตวั โปรแกรมมขี นาดเล็ก
และทรงประสิทธิภาพ เราสามารถเรียนรู้และออกแบบ PCB ได้ในเวลาอันสั้น นอกจากนี้แล้วยังซัพพอร์ต SPICE
simulation

Easy EDA ทำงานในลักษณะ Web – base Software คือเป็นโปรแกรมที่เข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ในระบบ
เครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต็ กเ็ รมิ่ ต้นออกแบบ PCB ได้ทันที (แนะนำให้ใช้งานบน Google Chrome) นอกจากนี้แล้วเรายัง
สามารถดาวนโ์ หลดโปรแกรมตัวลกู (Client) มาตดิ ต้ังบนคอมพวิ เตอร์ แลว้ เปิดใชง้ าน

การเข้าใช้งาน ให้ไปที่ easyeda.com ซึ่งมีวิศวกรใช้งานมาแล้วกว่า 1.6 ล้านคน ทางทีมพัฒนาได้เตรียม
ไลบรารีอุปกรณ์ไว้มากกว่า 1 ล้านตัว ซึ่งประกอบด้วยสัญลักษณ์อุปกรณ์ (Schematic Symbols) แบบของอุปกรณ์
(PCB Footprints) และสว่ นประกอบ 3D Models

• การเรม่ิ ตน้ ใชง้ านให้คลิกทีเ่ มนู Easy EDA Designer (ตามรปู ลูกศรสแี ดงช)ี้

2

- จากน้นั จะมหี นา้ ต่างเริม่ ตน้ ใช้งานขึ้นตามรูปดา้ นล่าง หากยงั ไม่ไดเ้ ป็นสมาชิก ใหค้ ลกิ ท่ีเมนู Register
(ปุม่ สีเหลือง) ด้านบนขวา เพื่อทำการสมคั รสมาชิกให้เสรจ็ กอ่ นและดำเนนิ การ Login เขา้ สู่ระบบ

- เมื่อเข้าสู่ระบบเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว เราจะสามารถเรมิ่ ต้นใชง้ าน Easy EDA ได้ทันที คำแนะนำการใชง้ าน
เมนูและฟีเจอร์ต่างๆ สามารถดูได้จากหน้า Tutorials ส่วนถา้ ติดปญั หาการใชง้ าน สามารถสอบถามไดจ้ ากหน้า
Forum (https://easyeda.com/forum)

3

- ตัวอย่างการออกแบบสามารถเลอื กดูไดจ้ ากแถบ Example

- ทดลองเปดิ ตวั อยา่ ง โดยดบั เบลิ คลกิ ท่ี 2.4G Telecontrol Board จากน้นั จะมหี น้าตา่ งข้นึ มา 2 แถบ ให้
คลกิ ท่แี ถบ Schematic จะโชว์รปู วงจรดังรปู ดา้ นล่าง

4

- จากน้นั ใหล้ องคลิกทแ่ี ถบ PCB จะโชวห์ นา้ ตา่ งส่วนการออกแบบ PCB ดงั รปู ด้านลา่ ง

- คลิกทแี่ ถบ EELib (ลกู ศรสแี ดง) จะมีแถบของไลบรารี Easy EDA แสดงออกมา (ไฮไลทส์ ฟี า้ ) ซ่งึ ตวั
ไลบรารจี ะมาพร้อมกบั โมเดล Simulation โดยพฒั นามาสำหรับโปรแกรม Easy EDA โดยเฉพาะ

5

- ในสว่ นไลบรารีแต่ละตัว อาจจะมรี ายละเอยี ดใหเ้ ลือกใช้งานตามความแตกตา่ งของขนาด footprint เรา
สามารถคลิกท่ลี กู ศรชล้ี ง เพือ่ เลอื ก footprint ของอปุ กรณ์ท่เี ราต้องการใช้งานดังรูปดา้ นล่าง

- เราสามารถคลิกท่ีแถว Library (ลูกศรสแี ดง) จะมีหน้าตา่ ง Library โชวข์ ้นึ มา (ไฮไลทส์ ีฟ้า) ซงึ่ เรา
สามารถค้นหาอุปกรณต์ ่างๆ โดยใส่คยี ์เวริ ์ดลงไป

บทท่ี 2

สญั ลกั ษณ์ไฟฟา้ และ สญั ลักษณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

สัญลักษณ์ไฟฟ้าและสัญลักษณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

สญั ลักษณ์ไฟฟา้ และสญั ลกั ษณว์ งจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ใชส้ ำหรบั ออกแบบวงจร

สัญลกั ษณไ์ ฟฟา้ และสญั ลักษณอ์ ิเล็กทรอนิกส์

อปุ กรณ์ สัญลกั ษณ์วงจร หนา้ ทข่ี องอุปกรณ์
สายและการต่อ

สาย (wire) ใหก้ ระแสผ่านได้ง่ายมากจากส่วนหน่ึงไปยังส่วนอืน่ ของวงจร
จดุ ตอ่ สาย เขยี นหยดจุดทส่ี ายต่อกนั ถ้าสายตอ่ และตัดกนั เปน็ ส่แี ยก ตอ้ งเลอื่ นให้
สายไมต่ ่อกัน เหล่อื มกนั เล็กนอ้ ยเป็นรปู ตวั ทีสองตัวต่อกลบั หัว เชน่ จุดต่อดา้ นขวามือ
ในวงจรทซ่ี บั ซอ้ นมีสายมากจำเปน็ ต้องเขยี นสายตดั กนั แตไ่ ม่ตอ่ กัน นิยม
แหลง่ จา่ ยกำลัง ใชส้ องวิธีคือเสน้ ตรงตัดกนั โดยไมม่ ีจุดหยด หรือเส้นหน่งึ เขียนโคง้ ขา้ ม
เซลล์ อีกเส้นทเ่ี ป็นเส้นตรงดังรปู ทางขวา อยากแนะนำให้ใชแ้ บบหลังเพ่อื
ป้องกันการเขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ จุดตอ่ ทลี่ มื ใส่จดุ หยด

แหล่งจา่ ยพลังงานไฟฟ้า เซลลต์ วั เดียวจะไมเ่ รียกว่าแบตเตอร่ี

แบตเตอรี่ แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟา้ แบตเตอรจ่ี ะมมี ากกว่า 1 เซลล์ต่อเขา้ ด้วยกัน

ป้อนไฟตรง(DC) ป้อนพลงั งานไฟฟ้า DC = ไฟกระแสตรง ไหลทิศทางเดยี วเสมอ
ป้อนไฟสลับ(AC) ปอ้ นพลังงานไฟฟ้า AC = ไฟกระแสสลับ เปลี่ยนทิศทางการไหลตลอด
ปอ้ งกนั อปุ กรณเ์ สียหาย โดยตวั มันจะละลายขาดหากมีกระแสไหลผ่าน
ฟวิ ส์ เกนิ คา่ กำหนด
ขดลวดสองขดเชื่อมโยงกนั ดว้ ยแกนเหลก็ หม้อแปลงใช้แปลงแรงดนั
หม้อแปลง กระแสสลบั ให้สงู ข้ึนหรือลดลง พลงั งานจะถ่ายโอนระหวา่ ง ขดลวดโดย
สนามแม่เหล็กในแกนเหล็ก และไม่มีการต่อกนั ทางไฟฟ้าระหวา่ งขดลวด
ดนิ (earth) ทัง้ สอง
(กราวด์) ต่อลงดนิ สำหรับวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สท์ ั่วไปนี่คือ 0V (ศูนยโ์ วลท์)ของ
แหล่งจ่ายกำลัง แตส่ ำหรบั ไฟฟ้าหลักและวงจรวิทยุบางวงจร หมายถงึ
ดนิ บางทีเ่ ราเรยี กวา่ กราวด์

7

อุปกรณด์ ้านออก: หลอดไฟ, ใส้ความรอ้ น, มอเตอร์ ฯลฯ

หลอด (แสง ตวั แปลงพลงั งานไฟฟา้ เป็นแสง สัญลักษณ์นี้เปน็ หลอดให้แสงสว่าง
สวา่ ง) ตัวอย่างเช่นหลอดไฟหน้ารถยนต์ หรอื หลอดไฟฉาย

หลอด(ตัวช้)ี ตวั แปลงพลงั งานไฟฟา้ เปน็ แสง สัญลักษณ์น้ีใช้สำหรบั เปน็ หลอดตวั
ช้ี) (indicator) ชบี้ อก ตวั อย่างเช่นหลอดไฟเตือนบนหนา้ ปดั รถยนต์

ตัวทำความร้อน ตัวแปลงพลังงานไฟฟา้ เป็นความร้อน
(heater) ตวั แปลงพลงั งานไฟฟา้ เป็นพลังงานจล (หมุน)
มอเตอร์

กระด่ิง(bell) ตวั แปลงพลงั งานไฟฟ้าเป็นเสียง

ออด (buzzer) ตวั แปลงพลังงานไฟฟ้าเปน็ เสียง

ตัวเหนย่ี วนำ ขดลวด เมอ่ื มีกระแสไหลผา่ นจะเกิดสนามแม่เหล็ก หากมแี กนเหล็กอยู่
ขา้ งในจะสามารถแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยทำใหเ้ กดิ
(ขดลวด, โซลิ การผลกั ได้
นอยด)์
สวทิ ช์กด ยอมให้กระแสไหลผ่านเมอื่ สวิทช์ถกู กด เช่น สวทิ ช์กร่ิงประตู
สวทิ ช์ บา้ น
สวทิ ช์กดต่อ สวทิ ชแ์ บบกด ซึ่งปกติจะต่อ (on) และเม่ือถูกกดจะตดั (off)
SPST (Single Pole Single Throw)
สวทิ ช์กดตัด สวิทชป์ ิดเปดิ ยอมใหก้ ระแสไหลผ่านทตี่ ำแหน่งตอ่ (on)
สวทิ ช์ปิดเปดิ

(SPST)

สวิทช์สองทาง SPDT (Single Pole Double Throw)
(SPDT) สวทิ ช์สองทาง เปล่ียนสลบั การต่อเพื่อให้กระแสไหลผ่านได้ไปทาง
ตำแหนง่ ท่เี ลือกสวิทชส์ องทางบางแบบจะมีสามตำแหน่ง โดยตำแหน่ง
สวิทช์ปดิ เปดิ คู่ กลางไม่ต่อ(off) ตำแหนง่ จึงเป็น เปดิ -ปิด-เปิด
(DPST) (on-off-on)
DPST (Double Pole Single Throw)
สวทิ ช์ปดิ เปดิ แบบคู่ ปิดเปดิ พรอ้ มกัน เหมาะสำหรับตัด-ต่อหรอื ปิด-
เปดิ วงจรพร้อมกันสองเส้น เช่น ไฟเมน

สวทิ ช์สองทางคู่ 8
(DPDT)
DPDT (Double Pole Double Throw)
รีเลย์ สวิทช์สองทางแบบคู่ เปลี่ยนสลับการต่อพร้อมกัน เชน่ ใชใ้ นการ
ตอ่ เพ่ือกลับทศิ ทางการหมุนของมอเตอร์ดซี ี สวทิ ชบ์ างแบบจะมี
ตวั ตา้ นทาน สามตำแหนง่ คือตำแหนง่ ไมต่ ่อ (off) ตรงกลางดว้ ย
ตวั ตา้ นทาน สวทิ ช์ทำงานดว้ ยไฟฟ้า เม่ือมีไฟ เช่น 12 โวลท์ 24 โวลท์ มาป้อน
ให้ขดลวดแกนเหลก็ จะเกดิ การดูดตวั สมั ผัสให้ต่อกนั ทำหนา้ ที่
ตวั ตา้ นทานปรับคา่ ได้ เปน็ สวิทชต์ ่อวงจรหรอื ตดั วงจร แลว้ แต่ว่าตอ่ อยู่ที่ขา NO หรือ
(รโี อสตาท) NCNO = ปกตติ ัด COM = ขารว่ ม NC = ปกติต่อ

ตวั ต้านทานปรับคา่ ได้ ตวั ตา้ นทานทำหนา้ ที่ต้านการไหลของกระแส เชน่ การใช้ตัว
(Potentiometer) ต้านทานตอ่ เพื่อจำกัดกระแสทไ่ี หลผ่าน LED
ตัวตา้ นทานปรบั ค่าไดช้ นดิ นี้มีสองคอนแทค (รีโอสตาท)ใช้สำหรับ
ตวั ตา้ นทานปรบั ค่าได้ ปรับกระแส ตัวอย่างเช่น ปรับความสว่างของหลอดไฟ, ปรับ
(Preset) ความเร็วมอเตอร์, และปรับอัตราการไหลของประจุเข้าในตัวเกบ็
ประจุ เป็นตน้
ตัวต้านทานปรับค่าได้ชนิดนี้มีสามคอนแทค (โพเทนชิออมิเตอร์)
ใช้สำหรบั ควบคมุ แรงดัน สามารถใชเ้ หมือนกับตัวแปลงเพื่อแปลง
ตำแหน่ง(มุมของการหมุน) เป็นสัญญาณไฟฟ้า เช่น วอลุ่มปรับ
ความดัง โทนคอนโทรลปรบั ทุ้มแหลม
ตัวต้านทานปรับค่าได้ชนิดนี้ใช้สำหรับปรับตั้งล่วงหน้า(preset)
ใช้ไขควงเล็กๆหรือเครื่องมืออื่นที่คล้ายกันปรับ ถูกปรับตั้งตอน
ประกอบปรับแต่งวงจรจากนนั้ อาจไม่มกี ารปรับอีก บางแบบเป็น
รปู เกือกมา้ ปรับไดไ้ ม่ถงึ รอบ บางแบบปรับละเอยี ดไดห้ ลายรอบ

ตัวเกบ็ ประจุ 9
ตัวเก็บประจุ
ตวั เก็บประจุ เกบ็ สะสมประจไุ ฟฟา้ ใชต้ อ่ ร่วมกับตวั
ตวั เก็บประจุมขี ้ัว ต้านทานเปน็ วงจรเวลา สามารถใช้เปน็ ตัวกรอง เปน็ ตวั
กนั้ ไฟดซี ีไมใ่ หผ้ า่ น แต่ยอมให้สญั ญาณเอซีผา่ นได้
ตัวเกบ็ ประจุปรับคา่ ได้ ตัวเก็บประจชุ นดิ มีขั้ว เกบ็ สะสมประจไุ ฟฟ้า เวลาใช้ตอ้ ง
ตัวเก็บประจุทรมิ เมอร์ ตอ่ ใหถ้ ูกขวั้ ใช้ต่อรว่ มกับตัวต้านทานเปน็ วงจร
เวลา สามารถใชเ้ ป็นตวั กรอง เป็นตวั กนั้ ไฟดซี ีไม่ให้ผ่าน
ไดโอด แตย่ อมใหส้ ญั ญาณเอซีผ่านได้
ไดโอด ตวั เก็บประจปุ รบั ค่าได้ใชใ้ นจนู เนอรว์ ิทยุ
LED ตวั เกบ็ ประจปุ รบั ค่าได้โดยการใชไ้ ขควงเล็กๆหรือ
เคร่ืองมอื อนื่ ทคี่ ลา้ ยกันปรับ ถูกปรับตั้งตอน ประกอบ
ไดโอดเปลง่ แสง ปรบั แตง่ วงจร จากน้นั อาจไม่มีการปรับอีก
ซเี นอร์ไดโอด
ไดโอดพลังแสง อปุ กรณส์ ารกึ่งตัวนำ ยอมใหก้ ระแสไหลผ่านทางเดยี ว
ทรานซิสเตอร์ อุปกรณส์ ารกึ่งตัวนำ แปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นแสง
ทรานซสิ เตอร์ NPN
ไดโอดท่ีรักษาแรงดนั คงท่ตี กคร่อมตัวมัน
ทรานซสิ เตอร์ PNP ไดโอดที่มคี วามไวต่อแสง

ทรานซสิ เตอรพ์ ลังแสง ทรานซสิ เตอร์อปุ กรณ์สารก่งึ ตัวนำชนดิ NPN สามารถตอ่
ร่วมกับอุปกรณ์อ่ืนๆเพ่ือเปน็ ตัวขยาย(Amplifier)หรือ
วงจรสวทิ ช่ิง(Switching)
ทรานซสิ เตอร์อุปกรณส์ ารกง่ึ ตัวนำชนิดPNP สามารถต่อ
ร่วมกับอปุ กรณ์อน่ื ๆเพ่ือเปน็ ตัวขยาย(Amplifier)หรอื
วงจรสวทิ ช่งิ (Switching)
ทรานซิสเตอรท์ ่ีมคี วามไวต่อแสง

อปุ กรณเ์ สียงและวิทยุ 10
ไมโครโฟน
ตัวแปลงสญั ญาณเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้า
หูฟัง
ตัวแปลงพลังงานไฟฟา้ เปน็ เสียง
ลำโพง
ตัวแปลงพิโซ ตวั แปลงพลังงานไฟฟ้าเปน็ เสียง

(Piezo) ตวั แปลงพลงั งานไฟฟ้าเปน็ เสียง
ภาคขยาย วงจรภาคขยายมีทางเขา้ เดียว จรงิ ๆแลว้ เป็นสัญลักษณ์
(สัญลักษณ์ทั่วไป) แผนภาพบล็อค เพราะทำหน้าทีแ่ สดงแทนวงจรไม่ใชแ่ ทน
สายอากาศ อุปกรณ์เด่ยี วๆ
(Antenna) อุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อรับหรือส่งสัญญาณวิทยุ
มิเตอร์และออสซลิ โลสโคป
โวลท์มิเตอร์ โวลทม์ เิ ตอรใ์ ชว้ ดั แรงดนั ชื่อที่ถกู ต้องของแรงดนั คือความ
ตา่ งศักด์แตค่ นสว่ นใหญ่ชอบเรียกวา่ แรงดนั
แอมป์มเิ ตอร์ แอมป์มิเตอร์ใชว้ ดั กระแส
กัลวาโนมิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่มีความไวสงู ใชส้ ำหรับวดั
กัลวาโนมเิ ตอร์ คา่ กระแสน้อยๆ เช่น1 มิลลแิ อมป์หรือตำ่ กว่า
โอหม์ มเิ ตอรใ์ ชว้ ัดความตา้ นทาน เครอ่ื งมลั ติมเิ ตอรส์ ว่ น
โอหม์ มิเตอร์ ใหญส่ ามารถตง้ั วัดความต้านทานได้
ออสซิลโลสโคปใช้แสดงรูปคล่ืนสัญญาณทางไฟฟ้า และ
ออสซลิ โลสโคป สามารถวัดแรงดนั กบั ช่วงเวลาของสัญญาณ
ตวั ตรวจรู(้ Sensors) (อุปกรณ์ทางเข้า)
ตวั แปลงทแี่ ปลงความสว่าง(แสง)เปน็ ความต้านทาน
ตวั ตา้ นทานเปลี่ยน (คุณสมบตั ิทางไฟฟ้า) LDR = Light Dependent
แปลงตามแสง(LDR) Resistor
ตัวแปลงทแ่ี ปลงอุณหภูมิ(ความรอ้ น)เป็นความต้านทาน
เทอมิสเตอร์ (คณุ สมบัติทางไฟฟ้า)

บทท่ี 3

วิธกี ารดำเนินงาน

นยิ ามวงจร อุปกรณ์ในการออกแบบ และ ข้ันตอนการออกแบบ
• วงจรท่ี 1 วงจรเร็กติไฟเออร์

นยิ ามวงจร : เร็กตไิ ฟร์เออร์ หรอื เรยี กเปน็ ภาษาไทยว่า วงจรเรยี งกระแส วงจรนจ้ี ะทําหน้าที่แปลงไฟฟ้า
กระแสสลบั ใหเ้ ปน็ ไฟฟา้ กระแสตรง โดยจะใช้ไดโอดเป็นอปุ กรณ์หลกั ของวงจร

อุปกรณ์วงจรเร็กตไิ ฟรเ์ ออร์ ประกอบดว้ ย
- ไดโอด 4 ตวั
- กราวด์ 1 ตวั
- ตวั เชือ่ มตอ่ 4 ตวั
- ตัวเกบ็ ประจุ 2 ตวั
- เรกเุ ลเตอร์ 1 ตวั

เวลาในการออกแบบวงจร : 9.11 นาที
สามารถดูวิดิโอผา่ นช่องทาง https://youtu.be/itRy8xNIdUQ

12

• วงจรท่ี 2 วงจรเตือนนำ้ เต็มต่มุ

นยิ ามวงจร : การใชง้ าน ง่ายมากเพียงแต่ต่อโลหะทีน่ ำมาทำเปน็ ตวั วดั ไว้ที่ปากโอง่ เม่ือนำ้ ขน้ึ มาท่วมหวั วดั กจ็ ะมเี สยี ง

เตอื นทนั ที วงจรเตอื นนำ้ ล้นเป็นวงจรทใ่ี ห้ประโยชนม์ ากทเี ดียว ในภาวะท่ีน้ำประปาแพง เพราะเมื่อติดต้ังวงจรน้เี ข้ากับตุ่มหรือ
แทงค์น้ำ จะชว่ ยประหยดั ค่านำ้ ทลี่ ้นในแตล่ ะเดือนไดม้ ากทเี ดียว

อุปกรณ์วงจรเตอื นนำ้ เต็มต่มุ ประกอบดว้ ย
- ทรานซิสเตอร์ 1 ตวั
- ไอซี 555 1 ตวั
- ไดโอด 1 ตวั
- สวติ ซ์แบบขว้ั เดียวเคลอ่ื นแบบทศิ ทางเดยี ว
- ตัวตรวจจับ 1 ตวั
- ตัวตา้ นทาน 4 ตวั
- ลำโพง 1 ตวั
- กราวด์ 1 ตัว
- แบตเตอรร์ ่ี 1 ตวั

เวลาในการออกแบบวงจร : 11.15 นาที

สามารถดูวิดโิ อผา่ นช่องทาง https://youtu.be/uA5RUS6_Kaw

13

• วงจรท่ี 3 วงจรสวิทชค์ วบคุมระยะไกลใช้อุลตร้าโซนคิ

นยิ ามวงจร : Ultrasonic Sensor ทำหนา้ ที่ในการตรวจจบั วตั ถุ ดว้ ยระบบคลืน่ Ultrasonic โดย sensor จะปลอ่ ย
คลื่น Ultrasonic ออกไปกระทบวัตถุ แล้วตรวจจับคลืน่ ที่สะท้อนกลับมาจากวัตถุ จากนั้นคำนวณออกมาเป็นระยะห่างของ
วัตถุกับตัว Sensor ทำให้สามารถตรวจจับวัตถุในระยะไกลๆได้อย่างแม่นยำ โดยที่วัตถุเป็นวัสดุใดๆก็ได้ ขนาดเล็กๆก็
สามารถตรวจจับได้ สามารถตั้ง Set point ให้ส่งสัญญาณ output ไปควบคุมการทำงานของระบบได้ด้วย โดย Ultrasonic
Sensor จะมีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ ตามลักษณะการใช้งาน เช่น ใช้งานในพื้นที่เย็นหรือร้อนจัด ใช้งานในพื้นทีเ่ สี่ยงต่อ
การระเบิด ใช้งานในพื้นที่ที่มีการรบกวนจากสนามแม่เหล็กสูง ใช้ในพื้นที่สกปรกมากๆหรือมีสารเคมีกัดกร่อน ทั้งนี้ยัง
สามารถเลือกลกั ษณะของ Output ได้ เชน่ Digital output , analogue output ได้อีกดว้ ย

อปุ กรณ์วงจรสวิทช์ควบคุมระยะไกลใช้อลุ ตรา้ โซนิค ประกอบด้วย
- ตัวตา้ นทาน 2 ตวั
- ไอซี 555 1 ตวั
- อุลตรา้ โซนคิ 1 ตวั
- แบตเตอรี่ 1 ตวั
- สวิตซ์ 1 ตัว
- ตัวเก็บประจุ 3 ตวั

เวลาในการออกแบบวงจร : 9.42 นาที
สามารถดูวิดโิ อผ่านช่องทาง https://youtu.be/B3S7Fmt1ggQ

14

• วงจรที่ 4 วงจรรเี ลย์หน่วงเวลาแบบประหยัด

นิยามวงจร : วงจรหน่วงเวลา คือ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ชะลอสัญญาณอินพุตเป็นเวลาสองสามวินาทีหรือนาที การ
ทำงานเกิดขน้ึ เม่อื วงจรสวิตช์ไดร้ บั พลังงาน มันจะเปดิ ขึน้ หลงั จากเวลาผ่านไป ความล่าชา้ ทำให้ม่นั ใจได้วา่ วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์
มีสมรรถนะที่ดี มิฉะนั้น อาจทำงานผิดพลาดหรือได้รับความเสียหายได้ การหน่วงเวลายังสามารถควบคุมการจ่ายพลังงาน
ไปยงั อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ดว้ ยเหตนุ ี้ บางวงจรจึงสามารถดำเนินการหน่วงเวลาได้หลายคร้งั ในสถานการณเ์ ช่นน้ี จะเกี่ยวข้อง
กบั การรวมรีเลยเ์ อาท์พุตไฟฟา้ เครื่องกลเข้ากบั ตัวควบคุม

วงจรนีท้ ำเพือ่ การสตารต์ มอเตอร์ด้วยวิธสี ตาร์/เดลตา หรือหน่วงเวลาเพื่อลดความต้านทานให้วาวดโ์ รเตอร์มอเตอร์
แตห่ ลักใหญ่ๆคอื จะต้องสตารต์ มอเตอรด์ ้วยกระแสต่ำ

อุปกรณ์วงจรรเี ลยห์ นว่ งเวลาแบบประหยัด ประกอบด้วย
- ตัวต้านทาน 3 ตัว
- ทรานซสิ เตอชนิด PNP 1 ตัว
- ทรานซิสเตอร์นิด NPN 1 ตัว
- ไดโอด 2 ตัว
- ขดลวดเหน่ียวนำ 1 อัน
- อนิ พเิ ดนซ์ค่าคงท่ี
- สวติ ซ์ 1 ตวั
- ตวั เก็บประจุ 1 ตัว

เวลาในการออกแบบวงจร : 11.44 นาที
สามารถดูวิดโิ อผ่านช่องทาง https://youtu.be/Tv7CoTyXqRs

15

• วงจรที่ 5 วงจรไฟกระพรบิ หลอดไฟ 2 ดวง โดยใช้ทรานซิสเตอร์

นิยามวงจร : วงจรไฟกระพริบ หลอดไฟ 2 ดวง โดยใช้ทรานซิสเตอร์ ใช้กับหลอดไฟขนาดเล็ก 6 Volt
โดยใช้หลักการวงจรขยายที่ใช้ทรานซิสเตอร์ 2 ตัว โดยมีการป้อนกลับแบบเสริมกันจะส่งพัลส์ของกระแส 60
mS ซ่งึ มีขนาดสูงถงึ หลายแอมแปรผ์ ่านหลอดไฟแรงดันต่ำ เพื่อใหอ้ ัตราความสวา่ งของการกระพริบสูงโดยท่ีไม่
ไปทำลายหลอดไฟ

อุปกรณ์วงจรไฟกระพรบิ หลอดไฟ 2 ดวง โดยใช้ทรานซิสเตอร์ ประกอบด้วย
- หลอดไฟ LED 2 ดวง
- ทรานซิสเตอร์ 2 ตวั
- ตัวเกบ็ ประจุ 2 ตวั
- ตัวต้านทาน 1 ตวั
- แบตเตอร่ี 1 ตวั

เวลาในการออกแบบวงจร : 6.32 นาที

สามารถดูวดิ โิ อผ่านชอ่ งทาง https://youtu.be/VxgMqT_522w

16

• วงจรท่ี 6 วงจรไฟกระพริบ 5 ดวง โดยใช้ Ic 555

นยิ ามวงจร : วงจรไฟกระพริบ 5 ดวง โดยใช้ IC555 เป็นตัวกำเนดิ สญั ญาณ ความถี่ในการกระพรบิ ของหลอด LED
โดยใชไ้ ฟเลี้ยงวงจรเพียง 9 V./DC.

อุปกรณ์วงจรไฟกระพริบ 5 ดวง โดยใช้ Ic 555 ประกอบด้วย
- แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง 9 โวลต์
- ไอซี NE555 จำนวน 1 ตวั
- ตวั เก็บประจุ 100 ไมโครฟาราด 16 โวลต์ [แบบมีข้วั ]
- ตัวตา้ นทานปรับคา่ ได้ 11 K.Ohm จำนาวน 1 ตัว
- ตัวตา้ นทาน 1 K.Ohm ¼ W. จำนวน 1 ตัว
- ตัวตา้ นทาน 220 Ohm ¼ W. จำนวน 1 ตัว
- หลอดไฟ LED จำนวน 5 หลอด

เวลาในการออกแบบวงจร : 9.22 นาที

สามารถดูวิดโิ อผา่ นช่องทาง https://youtu.be/TdaimxMrfpU

17

• วงจรท่ี 7 วงจรทดสอบหัวเทียนรถยนต์

นิยามวงจร : วงจรทดสอบหัวเทียนรถยนต์ วงจรนี้ให้แรงดันสูงมากซึ่งไฟแรงสูงนี้สามารถกระโดดข้ามเขี้ยวหัวเทียน
ไดอ้ ย่างต่อเนือ่ งถ้าหัวเทียนของเราตีไฟฟา้ แรงสงู จะสปารก์ ได้อยา่ งต่อเนอื่ งถ้าหัวเทียนไม่ดีไฟก็จะไม่สปาร์ก

การทำงานของวงจรกไ็ มม่ ีอะไรยงุ่ ยากใชก้ ารเหนีย่ วนำของขดลวดรถยนต์ขนาด 12 โวล์ให้สปาร์คไฟฟ้าแรงสูงออกมา
Q2ควรติดแผน่ ระบายความร้อนด้วยวงจรนี้ใช้ได้กับไฟกระเเสตรงได้ต้ังแต่ 12-25 โวล์

อุปกรณ์วงจรทดสอบหัวเทียนรถยนต์ ประกอบดว้ ย
- ตวั ต้านทาน 1 ตัว
- ทรานซิสเตอรช์ นิด PNP 2 ตัว
- หมอ้ แปลงชนดิ แกนเหล็ก 1 ตัว
- หวั เทียน 1 หวั
- กราวน์ 2 ตวั

เวลาในการออกแบบวงจร : 7.32 นาที

สามารถดูวดิ โิ อผ่านช่องทาง https://youtu.be/y4vRCDjsArA

18

• วงจรที่ 8 วงจรไฟเบรกรถสวยๆ ด้วย BC327

นิยามวงจร : เมื่อป้อนไฟเบรกแบบเบาทำให้มีแหล่งจ่ายไฟ 12V เข้ามาทำให้ LED6-LED9 ติดสว่างหรือเปิด
นอกจากกระแสจะไหลเปล่ียน R2 ไปที่ไบแอสพินเบสของทรานซิสเตอร์ Q1- BC327 PNP และ Q2-BC327 ทำให้ LED1-
LED5 และ LED11-LED14 สว่างขึ้น ซึ่งมี R1 และ R3 ช่วยจำกัดกระแสที่ไหลผ่าน LED ให้เพียงพอ ปล่อยไฟเบรก 12V
หายไป ทำให้ LED ทกุ สวิตช์ดบั ลง

อปุ กรณ์วงจรไฟเบรกรถสวยๆ ดว้ ย BC327 ประกอบดว้ ย
- Q1, Q2: BC327: 50V 1A ทรานซิสเตอร์ PNP
- LED 14 ตวั
- R1, R4: ตัวตา้ นทาน 22 โอห์ม 0.5 วตั ต์ 5% ตวั ต้านทาน
- R2: 390 โอห์ม ตัวตา้ นทาน 0.5 วตั ต์ 5%
- R3: 500 โอห์ม ตัวต้านทาน 0.5 วตั ต์ 5%

เวลาในการออกแบบวงจร : 11.58 นาที

สามารถดูวดิ ิโอผ่านช่องทาง https://youtu.be/hXTDiz8CTcU

19

• วงจรท่ี 9 วงจรเกมโยนเหรยี ญอยา่ งง่ายโดยใชท้ รานซสิ เตอรม์ ัลตไิ วเบรเตอร์

นิยามวงจร : วงจรนี้จัดอยู่ในประเภทวงจรมัลติไวเบรเตอร์ เมื่อเรากดสวิตช์ ทรานซิสเตอร์ทั้งสอง และตัวเก็บ
ประจุ - 10uF 16V ประจแุ ละคายประจสุ ำรองไฟ LED ท้งั สองดวงจะกะพริบเปิด-ปิด (สวา่ ง-มดื ) สลับกันทค่ี วามเร็วสูงเม่ือ
เราปล่อยสวิตช์-S1กระแสบางส่วนที่เหลืออยู่ใน 220uF-Capacitor จะถูกปล่อยออกมาเพื่อจ่ายแรงดันไบแอสไปยังฐาน
ของทรานซิสเตอรท์ ัง้ สอง แตป่ รมิ าณแรงดันไฟฟ้านีจ้ ะคอ่ ยๆ ลดลงจนหมดในทส่ี ดุ

ดังนั้นอัตราการกะพริบของไฟ LED ทั้งสองดวงจะค่อยๆ ช้าลงจนหยุดเป็นครั้งสุดท้าย และมันจะยังสว่างอยู่
จนกว่าเราจะกดสวิตช์อีกครั้งสำหรับไฟ LED เราควรใช้สีที่ต่างกัน เช่น สีแดงและสีเขียวดูตัวต้านทานทั้งสอง - 1K ซ่ึง
เชอื่ มตอ่ ระหว่าง LED เพื่อเพ่ิมความเสถียรของวงจรทดี่ ีขน้ึ

อปุ กรณ์วงจรเกมโยนเหรียญอย่างง่ายโดยใช้ทรานซิสเตอรม์ ลั ตไิ วเบรเตอร์ ประกอบด้วย
- ตัวต้านทาน 0.25W ความทนทาน: 5%

R1, R8: 470Ω / R2, R7: 1K / R3, R6: 10K / R4, R5: 3.3K
- ตัวเก็บประจดุ ว้ ยไฟฟา้

C1, C3: 10µF 25V / C2: 220µF 25V
- เซมคิ อนดักเตอร:์

Q1, Q2: 2SC1815, 45V 0.1A, NPN TO-92 ทรานซสิ เตอรห์ รอื LED1 เทียบเท่า, LED2:
- S1: ปกติเปดิ สวติ ชป์ ่มุ กด

เวลาในการออกแบบวงจร : 8.21 นาที
สามารถดูวิดโิ อผ่านช่องทาง https://youtu.be/-4cwT3uWxpg

20

• วงจรที่ 10 วงจรไล่ยุงอยา่ งง่ายโดยใชท้ รานซิสเตอร์

นิยามวงจร : วงจรไล่ยุงอย่างง่ายโดยใช้ทรานซิสเตอร์ในวงจร เชื่อมต่อทรานซิสเตอร์สองตัว (Q1, Q2) เข้ากับ

ออสซิลเลเตอร์มัลติไวเบรเตอร์แบบ bistable เพื่อสร้างความถี่เสียงซึ่งสัญญาณของวงจรนีถ้ ูกกำหนดโดยตวั ต้านทานท้ังสอง
ตัว (R2, R3) และตวั เก็บประจุทั้งสองตัว (C1, C2) ความถี่เสียงออกมาจากตัวสะสมของ Q2 จากนัน้ เข้ามาในออดแบบ piezo
เซรามกิ โดยส่งเสียงความถส่ี ูงในรัศมตี ่ำกว่า 5 ตารางเมตร หากใชง้ านกลางแจง้ หรือยงุ รบกวนมากเกินไป คุณควรวางโครงการ
นีใ้ หห้ า่ งจากเราประมาณ 1 เมตร

อุปกรณ์วงจรไล่ยุงอย่างง่ายโดยใช้ทรานซิสเตอร์ ประกอบด้วย
- ตัวตา้ นทาน ¼ วัตต์ + 5%

R1, R4: 1.5 K / R2, R3: 100 K
- ตวั เกบ็ ประจุ

C1: 560pF 50V โพลีเอสเตอร์ / C2: 0.002uF 50V โพลเี อสเตอร์
- Semiconductor

Q1, Q2: 2SC9013-NPN ประเภทอน่ื ๆ
- P1: ลำโพง Piezo 35mm.
- S1: เปิด-ปิด
- แบตเตอรี่ 1.5V, PCB, สายไฟ, กลอ่ ง ฯลฯ

เวลาในการออกแบบวงจร : 7.36 นาที

สามารถดูวดิ โิ อผ่านช่องทาง https://youtu.be/JdmJW5p2pL8

21

• วิธีการออกแบบโปรเจคบน Easy EDA Designer

ตวั อยา่ งการเรมิ่ ตน้ สรา้ งโปรเจคบน Easy EDA Designer ( ยกตัวอยา่ งการออกแบบเพยี ง 1 วงจรเพราะ
ขนั้ ตอนการออกแบบทกุ ๆวงจรคล้ายคลึงกนั เปล่ียนแค่อุปกรณแ์ ละลกั ษณะของวงจร)
1. ให้เราเรม่ิ สมคั รการใช้งานกอ่ นในกรณที ่ีเรายังไม่เคยใช้งานมาก่อนตามรปู ที่ 1 ใหเ้ ราเลือกลงทะเบียน (Register) ท่ีมมุ ขวา
บนกอ่ น (ในกรอบสแี ดง)

รูปที่ 1 ลงทะเบยี น (Register) ท่ีมมุ ขวาบนกอ่ น
2. จากนั้นใหเ้ ราเลือกลงทะเบียนดว้ ยวธิ ีการใดก็ได้ ตามต้องการดังแสดงในรปู ขา้ งล่างที่ 2

รปู ที่ 2 เลอื กลงทะเบยี นดว้ ยวิธีการใดก็ได้

22

3. หลงั จากทีเ่ ราสมคั รและ Login ไดแ้ ลว้ เราก็จะเห็นหนา้ ตาของโปรแกรมดงั รปู ท่ี 3

รูปที่ 3 หน้าตาของโปรแกรมหลงั Login ได้แลว้
4. จากนั้นให้เราเปลยี่ นโหมดการทำงานของโปรแกรมไปท่ี Simulation Mode ดว้ ยการคลิกที่ไอคอนสนี ้ำเงนิ ด้านหน้า
1 ครัง้ (ในกรอบสแี ดง)

รปู ที่ 4 เปลย่ี นโหมดการทำงานของโปรแกรมไปท่ี Simulation Mode

23

5. หลงั จากทีเ่ ราเลอื กเปล่ยี นโหมดการใช้งานแลว้ ให้เราสังเกตตวั โปรแกรมจะแสดงข้อความ SIM และจะมเี มนรู ปู
ลูกศรสำหรบั การเรมิ่ ตน้ การ Simulation ใหก้ บั วงจรของเราดังรปู ท่ี 5

รูปท่ี 5 แสดงข้อความ SIM เมนูรูปลกู ศรสำหรบั การเริ่มต้นการ Simulation
6. ต่อมาใหเ้ ราไปทีเ่ มนู File > New > Project สำหรับสรา้ งวงจรใหม่ ดงั รปู ท่ี 6

รปู ท่ี 6 สรา้ งวงจรใหมท่ ่เี มนู File > New > Project

24

7. หลงั จากทีเ่ ราสร้างและต้งั ชื่อใหก้ บั Project ของเราแลว้ จากนัน้ ใหเ้ ราเลอื กคลิกทเี่ มนูดา้ นซา้ ยมือ EELib เพื่อ
เลือกอปุ กรณ์ตา่ งๆ สำหรบั ทำการ Simulation ดังรปู ที่ 7

รูปท่ี 7 เลอื กคลิกท่ีเมนดู ้านซ้ายมือ EELib เพ่อื เลือกอุปกรณ์ต่างสำหรับทำการ Simulation
8. จากนัน้ ให้เรานำอุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือสำหรับวัดสัญญาณต่างๆ มาวางดังในรูปท่ี 8 ซึ่งในรปู นีจ้ ะเปน็ ลกั ษณะของ
วงจรบูทคอนเวอร์เตอร์ (Boost Converter) แบบงา่ ย สำหรับทดลองใช้งานเบอ้ื งต้น

รูปที่ 8 นำอปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมอื สำหรบั วัดสญั ญาณต่างๆ

25

9. ในกรณีที่เราต้องการอปุ กรณอ์ ่ืนๆ เพิม่ เติมนอกเหนือจากที่โปรแกรมแสดงไว้นัน้ เราสามารถคน้ หาไดท้ ่ีช่องเมนู
Library (เมนูในกรอบสแี ดงด้านซ้ายมือ) และให้เราไปท่ชี อ่ งค้นหาอุปกรณ์ (เป็นรปู แวน่ ขยาย) ในกรอบสนี ำ้ เงิน ซ่งึ
อุปกรณ์เหล่านี้จะเปน็ อุปกรณ์ที่เพื่อนๆ นักอิเลก็ ทรอนกิ ส์แชรใ์ หก้ นั และกันแสดงในรูปท่ี 9

รปู ที่ 9 สามารถค้นหาอุปกรณอ์ ่ืนๆ เพิ่มเติมได้ท่ีช่องเมนู Library
10. การกำหนดค่าพารามเิ ตอรต์ า่ งๆ ของเครื่องมือทใ่ี ช้ในโปรแกรมน้ัน ให้เราคลิกท่ีเครื่องมือนน้ั ก่อนครบั จากนนั้ ท่ี
เมนูด้านซ้ายมือจะแสดงชอ่ งสำหรับใส่คา่ พารามเิ ตอรใ์ หต้ ามทเี่ ราต้องการดังแสดงในรปู ท่ี 10

รูปที่ 10 การกำหนดค่าพารามิเตอร์ตา่ งๆ ของเครื่องมือท่ีใช้ในโปรแกรม

26

11. หลังจากท่เี ราการกำหนดคา่ พารามเิ ตอร์ต่างๆ ของเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นโปรแกรมเสรจ็ แล้วใหเ้ ราคลิกท่ไี อคอน RUN
your simulation หรอื กด F8 กไ็ ดเ้ ชน่ กันครับ

รูปที่ 11 การใหโ้ ปรแกรม RUN your simulation หรือกด F8
12. เมอ่ื เรากดไอคอน RUN your simulation ผลการจำลองการทำงานของโปรแกรมจะแสดงดงั รูปท่ี 12

รูปที่ 12 แสดงผลการจำลองการทำงานของโปรแกรม

27

13. ในกรณีท่เี ราต้องการขยายดลู ักษณะของสัญญาณใหเ้ ห็น รายละเอียดการทำงานในช่วงเวลาตา่ งๆ เพิ่มขึ้นน้ัน ให้
เราคลกิ เมา้ ขวาท่ีพ้นื ที่บรเิ วณทต่ี ้องการ เสร็จแล้วให้เราปลอ่ ยเม้าออก โดยใหเ้ ราลากขจากบนลงล่างเพ่ือเป็นการ
Zoom in และในทางกลบั กนั ถ้าเราต้องการ Zoom out ใหเ้ ราลากจากลา่ งขนึ้ ขา้ งบนครับ

รปู ท่ี 13 การขยายดูลกั ษณะของสัญญาณให้เห็นรายละเอียดขึน้
- สามารถดูคลิปได้ที่ https://youtu.be/RwNb88k2owk

บทที่ 4

เทคนคิ การออกแบบ

Easy EDA เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ่ีชว่ ยใหค้ ุณสรา้ งวงจรพิมพ์ไดฟ้ รโี ดยไม่มขี ้อ จำกัด ใด ๆ PCB. ขอ้ ดีอย่างหนึ่งของ
ซอฟต์แวร์นี้คือใช้งานจากหน้าเว็บและคุณไม่จำเป็นต้องติดตั้งปลั๊กอินเพิ่มเติมใด ๆ ซึ่งทำให้การทำงานเป็นวงจรท่ี
รวดเรว็ โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมาก

เทคนิคสำคัญ : คุณจะต้องสรา้ งบัญชเี พ่ือใหส้ ามารถเพลิดเพลนิ กับ Easy EDA และเพ่อื เกบ็ ข้อมูลการใช้งาน
สามารถยอ้ มกลบั มาดวู งจรทีเ่ ราออกแบบได้

ประโยชน์ที่โดดเด่น : ทสี่ ุดอย่างหนึง่ ของซอฟต์แวร์นี้คือช่วยให้คณุ สร้างวงจรพิมพ์หรือแผนผังอย่างง่ายเพ่ือ
ทดสอบหรอื ดวู ่าวงจรทำงานอยา่ งไร

สิ่งทใี่ ชไ้ ดจ้ ริง คือการกำหนดคา่ ทางลดั ท่ีมีอยู่ Easy EDAทำใหส้ ะดวกสบายและปรับแต่งได้ ในทางลดั เหลา่ นี้
เราสามารถกำหนดค่าตามความต้องการของเราหรือดูเพื่อจดจำทางลัดท่เี ราต้องการ

29

มคี วามสำคัญในการใชโ้ ปรแกรมเหล่านเ้ี ป็นแบบฝึกหัดท่ีดีสำหรับทกุ คนทเี่ คยใชซ้ อฟต์แวร์ทค่ี ล้ายกนั หรือ
สำหรับผู้ทไ่ี มเ่ คยใช้อะไรแบบนี้มาก่อน บทช่วยสอนเปน็ สิง่ สำคญั เสมอที่จะแนะนำเราเกีย่ วกบั ลกั ษณะของโปรแกรม
ในกรณนี เี้ รามีบทช่วยสอนท่ีค่อนข้างสมบูรณใ์ นไฟล์ หน้า ที่นั่นจะแสดง:

อีกเทคนิคหนง่ึ ในการออกแบบ คอื การนำอุปกรณท์ ั้งหมดทมี่ ีในวงจรทต่ี ้องการจะต่อ นำมาวางท้ังหมดกอ่ น
จากนั้นค่อยๆ จัดเรียง สลับกลับด้านให้เหมือนกับรูปวงจรต้นแบบ แล้วปรับค่าตัวอุปกรณ์ให้ตรงตามวงจร ขั้นตอน
สุดท้ายก็คอ่ ยๆ เช่อื มต่อวงจรให้ได้ตามวงจรตน้ แบบ

บทท่ี 5

ประโยชนข์ องการนำการใชก้ ารเรียนรู้แบบ PBL มาใชร้ ว่ มกับการออกแบบวงจร

การจดั การเรียนรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL)
การจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน หรือ Problem-based Learning : PBL คอื การจดั การเรยี นร้โู ดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน โดยปัญหานั้นเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียน อาจเป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ หรือ มี
ความหมายกับผู้เรียนที่สามารถนำมาสร้างกระบวนการเรียนรู้ได้โดยปัญหา แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.ปัญหาไมซ่ ับซอ้ น สามารถค้นคว้าและคดิ หาคำตอบในระยะสัน้ กระบวนการเรียนรดู้ ว้ ย Problem-based
Learning ก็จะสามารถหาคำตอบของปัญหาหรอื ประเด็นทีส่ นใจ
2. ปัญหาที่ซับซ้อน ต้องศึกษาค้นคว้า พัฒนา ตรวจสอบ โดยใช้ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า อาจต้องสร้าง
ชิน้ งานเพ่ือนำไปใช้ในการแกไ้ ขปัญหา ลกั ษณะนี้ มักจะใช้ Project-based Learning เขา้ มาชว่ ย
การเรียนรู้ด้วย PBL มุ่งสร้างประสบการณ์ตรง จึงเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณ์ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ และตรวจสอบกำกับการเรียนรู้ และนอกจากนี้ PBL ยังช่วยสร้างแรงจูงใจใน
การเรียนให้กับผู้เรียนได้อีกด้วยอาจกล่าวได้ว่า “ภาระงานที่ท้าท้าย ช่วยสร้างทักษะการคิดและแก้ปัญหาได้ดี”
ดังนนั้ การเรยี นรู้ดว้ ย PBL จึงเป็น “การใช้ปัญหา ทำให้เกิดปญั ญา”
“การเปลีย่ นแปลงใด ๆ จะใหเ้ กดิ ผล ต้องไมใ่ ชว้ ิธคี ิดแบบเดมิ ” จุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี นของโรงเรยี นสขุ ภาวะ
เน้นให้เกิด “ปัญญาภายใน” ที่ใช้กิจกรรมจิตศึกษา และ “ปัญญาภายนอก” ซึ่งการสร้างปัญญาภายนอก เป็นเรื่อง
ของการพัฒนาวธิ ีคิด ทักษะการเรียนรู้ ให้กับผูเ้ รียน โดยการจัดการเรียนรูด้ ้วย PBL ที่เป็นการปรบั วิธีเรียนเปลี่ยนวิธี
สอนจากเดมิ ดังแผนภาพ

31

คณุ สมบตั เิ ดน่ ของ PBL การเรียนรดู้ ว้ ย PBL มคี ณุ สมบัติท่ีโดดเดน่ สำหรบั การนำมาใชจ้ ดั การเรียนรู้เพ่ือ
พฒั นาผู้เรียน ดงั นี้

1. เปน็ การเรียนรทู้ ่เี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ
2. เป็นการเรียนรู้ทใ่ี ชป้ ัญหาเปน็ ตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
3. เปน็ การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนพฒั นาทักษะการคิด
4. เป็นการเรยี นรทู้ ี่เนน้ การเรยี นรรู้ ่วมกนั
5. เป็นการเรยี นรเู้ น้นการแสวงหาความรู้
6. เปน็ การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การบูรณาการความรู้
7. เป็นการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นควบคมุ และประเมินกระบวนการเรยี นรู้ (Metacognition)
8. เปน็ การเรียนรทู้ สี่ ง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นกำกับตนเองในการเรยี นรู้ (Self-directed Learning)
คุณค่าของ PBL ตอ่ ผเู้ รยี น การเรียนรดู้ ว้ ย PBL ช่วยเสริมสรา้ งสิ่งสำคัญต่อผเู้ รียนอนั จะส่งผลให้ผเู้ รียนเกดิ
ทักษะการเรียนรู้ต่างๆ ดงั น้ี
1. เพิม่ แรงจูงใจในการเรยี นรู้
2. พัฒนาการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณการเขียน การสื่อสาร
3. ช่วยให้การจำขอ้ มูลตา่ ง ๆ ได้ดี
4. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นรู้จักการปรับตัวรับฟังความคิดเห็นของผเู้ รียน เพ่ือชว่ ยให้เรยี นรูแ้ ละทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ไดด้ ี
5. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้รับผิดชอบต่อการเรยี นรู้ของตนเอง
6. เสรมิ สรา้ งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต

32

• ประโยชนข์ องการนำการใชก้ ารเรียนรู้แบบ PBL มาใช้รว่ มกับการออกแบบวงจร

ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิด วิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และ คิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียน มีส่วนร่วมในการ
เรยี นและไดล้ งมือปฏิบัติมากขน้ึ

นอกจากนี้ยังมีโอกาสออกไปแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งทรัพยากรเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษาในส่วนของผูส้ อนก็จะลดบทบาทของการเป็นผูค้ วบคุมในชั้นเรียนลง แต่ในทางกลับกนั ผู้เรยี นจะมีอำนาจ
ในการจดั การควบคมุ ตนเอง สว่ นจะหาความรู้ใหม่ได้มาก หรือ นอ้ ยเพียงใดกแ็ ลว้ แต่ความประสงคข์ องผเู้ รียน

เนื่องจากผู้เรียนเป็นฝ่ายรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองการที่ผู้เรียนต้องหาความรู้อย่างตอ่ เนื่อง ทำให้การ
เรยี นรู้เป็นกระบวนการตลอดชีวิต (lifelong process)เพราะความร้เู ก่าทผ่ี ู้เรยี นมีอยู่แล้วจะถูกนำมาเชอ่ื มโยง
ใหเ้ ข้ากบั ความรู้ใหม่ตลอดเวลา จึงทำให้ผ้เู รยี นเปน็ คนไม่ล้าหลัง ทนั เหตุการณ์ ทันโลก และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สงั คมโลกในอนาคตได้อย่างดีทสี่ ุด และการเรยี นการสอนโยใช้ปัญหาเปน็ ฐานน้ันเหมาะสมกับรายวิชาทเ่ี น้นทักษะการ
คิดวิเคราะห์ และทักษะการคิดขั้นสูงให้กับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจมีการฝึกทักษะการคิด
วเิ คราะห์ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิได้เช่นกนั ท่ีสำคัญผเู้ รียนควรมี พืน้ ฐานความรหู้ รอื ประสบการณ์มาบา้ งจะช่วยให้
การเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานราบรน่ื มากย่ิงข้ึน

33

บรรณานกุ รม

http://icelectronic.com/beginner/study/symbol.htm สืบค้นเมื่อ 12/11/64
คีย,์ โรเบริ ์ต (2015-10-12) "ซอฟต์แวร์แผนผังอเิ ล็กทรอนิกสฟ์ รีพร้อมให้ใช้งานแลว้ สำหรบั การจำลองวงจร
ออนไลน์" (ขา่ วประชาสัมพันธ์) datsyn.com สบื คน้ เมือ่ 12/11/64
การจดั การเรยี นร้โู ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem–based Learning : PBL). สบื คน้ เม่อื 13/11/64
https://www.duinomaker.com/b/4 สบื ค้นเมอ่ื 14/11/64
เว็บไซต์ https://easyeda.com/account/user/projects/all สืบค้นเมอ่ื 15/11/64


Click to View FlipBook Version