การพฒั นาผลสมั ฤทธก์ิ ารอา่ นวเิ คราะห์ โดยใช้กระบวนการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ
(Active Learning)ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2
นายพสิ ทิ ธ์ิ สวุ รรณธาดา
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ
โรงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ช่อื เรอื่ ง ก
การพัฒนาผลสมั ฤทธก์ิ ารอา่ นวิเคราะห์ ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โดยใช้
ผวู้ จิ ัย กระบวนการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning)
หน่วยงาน นายพิสิทธ์ิ สุวรรณธาดา
ปีที่รายงาน โรงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั
ปี 2564
บทคัดย่อ
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ โดยใช้
กระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ก่อนและหลังเรียน
เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียน กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี
2 โรงเรียนทวีธาภเิ ศก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 225 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่
ใช้ในการศึกษา คือ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่ผู้วิจัยได้
พัฒนาขึ้น และข้อสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 20 ข้อ การหา
ประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะใช้เกณฑ์หาประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 80/80 (75/75) ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกตา่ งด้วยที (t-test)
ผลการศกึ ษาคน้ คว้าพบวา่
1. วิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เรื่อง นิทาน
พื้นบ้าน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 100/100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ท่ีต้ังไว้
คอื 80/80
2. ผลที่เกิดกับนักเรยี นหลังการเรียนในรายวิชาภาษาไทย 3 โดยใช้ ใช้กระบวนการจดั การเรียนรู้เชิง
รุก (Active Learning) พบว่า นักเรียนใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ส่งผลให้
นกั เรยี นมผี ล ผลสมั ฤทธ์กิ ารอา่ นวเิ คราะห์ สงู ข้นึ ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ 100
ข
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษางานวจิ ัยเร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการอา่ นวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในคร้ังนี้เป็นการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ นามา
พัฒนาตนเอง เพ่ือค้นหา วิธีการใหม่ ๆ สาหรับใช้ ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ตามหัวใจ
สาคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 คือ การปฏิรูป การเรียนรู้
และผู้มีบทบาทสาคัญที่สุด ที่จะเป็นพลังขับเคล่ือนให้การปฏิรูปการศึกษาประสบความสาเร็จมากที่สุด คือ
“คร”ู ทีจ่ ะตอ้ งจดั การเรียนรู้เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพของแตล่ ะคน
ผวู้ จิ ัย
ค
สารบัญ
เรอื่ ง หน้า
บทคัดย่อ ................................................................................................................................... ก
กิตตกิ รรมประกาศ .................................................................................................................... ข
สารบัญ ...................................................................................................................................... ค
สารบัญตาราง ......................................................................................................................... จ
บทที่ 1 บทนา ........................................................................................................................... 1-5
1
ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา .............................................................................. 4
วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย .................................................................................................... 4
ขอบเขตการวจิ ยั .............................................................................................................. ... 4
นิยามศพั ท์เฉพาะ ................................................................................................................ 5
ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ .................................................................................................. 6-23
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง .........................................................................................
ทฤษฎีการเรียนรู้ ................................................................................................................. 27-29
แนวคิดการจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั .................................................................
งานวิจัยที่เก่ยี วข้อง .............................................................................................................. 30-33
กรอบแนวคิดในการวิจัย ......................................................................................................
บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการ ...................................................................................................................... 34-35
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ..................................................................................................
เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง .................................................................................................
การสร้างและการหาคุณภาพของเครือ่ งมือ ..........................................................................
แบบแผนการทดลองและขัน้ ตอนการดาเนินการทดลอง ......................................................
การจดั กระทาข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล ........................................................................
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ........................................................................................................
สัญลักษณท์ ี่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ...........................................................
ลาดบั ข้นั ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ..........................................................................................................
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ..............................................................................
วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา ..................................................................................................
ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง ...................................................................................................
เครอื่ งมือท่ีใช้ในการศึกษาค้นควา้ ......................................................................................... 36
การดาเนินการศึกษา ............................................................................................................
สรุปผล ............................................................................................................................. .....
อภปิ รายผล .................................................................................................................. .........
ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. .......
บรรณานุกรม ............................................................................................................................. .......
บทที่ 1 บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ
ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีในโลกปจั จุบัน ผ่านการสื่อสารทหี่ ลากในโลกของอินเตอรเ์ นต็ ผ่าน
อุปกรณ์ส่ือสารที่สะดวก ทาให้การส่ือสารถูกแปลเปล่ียนไป ท้ังสะดวกและรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
หากแต่ผลของการสื่อสารท่ีรวดเร็วคุณภาพของสารจะต้องมีการทบทวนและใช้วิจารณญาณในการ
วิเคราะห์ท่ีมากขึ้นเพ่ือไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด จะต้องพิจารณาความน่าเชื่อถือของสื่อ ดังนั้นเพ่ือให้เกิด
ความเสียหายมนุษยจ์ ะตอ้ งรู้มกี ารพฒั นา ปรับตวั ใหท้ ันตอ่ การเปลี่ยนแปลง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –2579 ได้กาหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner
Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs
8Cs) โดย 3Rs ได้แก่ การอา่ นออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetic)
และทักษะ 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical
Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and
Innovation) ทั ก ษ ะด้ าน ความ เข้าใจต่างวัฒ น ธรรม ต่ างกระบ วน ทั ศ น์ (Cross – cultural
Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภ าวะผู้นา (Collaboration,
Teamwork and Leadership) ทั ก ษ ะ ด้ าน ก าร สื่ อ ส าร ส ารส น เท ศ แ ล ะ ก ารรู้เท่ า ทั น ส่ื อ
(Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้
(Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม(Compassion)
(สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา,2560:79-80)
จะเห็นได้ว่าจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –2579 3Rs และ 8Cs น้ันเรื่องการอ่าน
ออก (Reading) มีความสาคัญต่ออย่างย่ิงในการพัฒนาการศึกษา เพราะการอ่านเป็นเหมือนบรรทัดฐาน
ของการศึกษา หากไม่สามารถอ่านออกก็จะไม่สามารถเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ผู้เรียนต้องใช้ทักษะในการรู้เร่ือง
การอ่านคิดวิเคราะห์นาไปใช้ในการสอบสาระอ่ืน ๆ และรายวิชาอื่น ประกอบกับนโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (2562:9) พฒั นาคุณภาพของผู้เรียน ให้มี
ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 มีความเป็นเลศิ ด้านวิชาการ นาไปสู่การสรา้ งขีดความสามารถในการ
แข่งขนั ดา้ นผู้เรยี น ผู้เรียนที่มีทักษะการคิด วเิ คราะห์ ผู้เรียนจะผ่านการประเมินสมรรถนะท่ีจาเป็นด้าน
การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy ) ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีสมรรถนะการเรียนรู้เรื่อง
การอ่านต้ังแต่ระดับขั้นพ้ืนฐานขึ้นไป (ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมิน PISA ดังที่สุจริต เพียรชอบ
และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2538:136) กล่าวว่าทักษะการอ่านเป็นทักษะท่ีสาคัญมากในชีวิตประจาวัน
เพราะเปน็ ทักษะท่ีนกั เรียนใช้แสวงหาสรรพวทิ ยาต่าง ๆ เพอ่ื ความบันเทิงและการพกั ผ่อนหย่อนใจ ผทู้ ่ีมี
นิสัยรักการอ่านและมีทักษะในการอ่านมีอัตราเร็วในการอ่านสูงย่อมแสวงหาความรู้และศึกษาเล่าเรียน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนาความรู้ท่ีได้จากการอ่านไปใช้ในการพูดและการเขียนได้เป็นอย่างดี
นอกจากนอ้ี ัจฉรา ชีวะพนั ธ์ (2547:17) กลา่ วว่านอกจากจะได้รับความรู้แลว้ ยังชว่ ยพัฒนาความคิดดังคา
กล่าวที่ว่า “ยิ่งอ่านย่ิงรู้” “อ่านมากรู้มาก” ภาษาไทยจึงมีส่วนสาคัญต่อบุคคลทั้งในด้านการแสวงหา
ความรู้และพัฒนาความคิด นามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จะเห็นได้ว่าภาษาไทยนั้นมีความสาคัญอย่างย่ิง เป็นเป็นเคร่ืองมือส่ือสารให้คนเข้าใจซ่ึงกันและกัน
แลกเปลีย่ นความรสู้ ึกนึกคิด อย่างไรกต็ ามโลกยุคปจั จุบนั นั้นทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลง เปน็ โลกแห่งเทคโนโลยี
ซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร มีข้อมูลความรู้แทบทุกด้านได้รับการเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง ส่ือ
สิ่งพิมพ์ สื่อทีวี โดยเฉพาะส่ือออนไลน์ การรู้เร่ืองการอ่านวิเคราะห์จึงเป็นทักษะสิ่งจาเป็น ครูทุกคนจึง
ควรเข้าใจความสาคัญจาเป็นของการพัฒนาทักษะการรู้หนังสือและการสร้าง โอกาสในการพัฒนาใน
รายวิชาที่ตนรับผิดชอบ โดยครูควรดาเนินการเตรียมวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีพัฒนาการอ่าน
วิเคราะห์ แต่ละระดับชั้นเพ่ือให้สามารถ วางเป้าหมาย และแผนการสอนเน้ือหาสาระและทักษะทาง
ภาษาและการรู้หนังสือท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับการเรียนรู้เนื้อหาสาระรายวิชาต่างๆ ในระดับช้ันน้ันๆ
อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับอายุและความสามารถของนักเรียน การทา
ความเข้าใจและการถ่ายทอดเป็นกระบวนการรับข้อมูลเข้าและการถ่ายทอดข้อมูลผ่านการทาความ
เข้าใจแล้วของนักเรียนผ่านภาษา ทั้งนี้เพื่อใช้การอ่านเป็นเครื่องมือพัฒนาความรู้และพัฒนาชีวิตให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดและความสามารถในการอ่านที่มีความจาเป็นอย่างย่ิงคือการอ่านวิเคราะห์ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(กระทรวงศึกษาธิการ,2551:37) ได้กล่าวถึงการ
เรียนร้อู ะไรในภาษาไทยว่า ภาษาไทยเป็นทักษะที่ตอ้ งฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญในการใช้ภาษาเพือ่ การ
ส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริงเร่ืองการอ่าน อ่านออกเสียง ประโยค
การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ความรู้จากส่ิงท่ีอ่าน เพื่อนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จะต้อง
อา่ นออกเสยี งร้อยแกล้วและร้อยกรองเป็นทานองเสนาะไดถ้ ูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและโดยนัย
จับใจความสาคัญและรายละเอียดของส่ิงที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน
และเขียนกรอบคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล
ลาดับความอย่างมีข้ันตอนและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่านรวมท้ังประเมินความถกู ต้องของข้อมูลที่ใช้
สนับสนุนจากเร่อื งท่ีอ่าน (กระทรวงศึกษาธิการ,2551:41)
การเรียนการสอนเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรดังกล่าว จาเป็นต้องเน้นการฝึกทักษะ
ทางภาษาที่เพียงพอและต่อเน่ือง ฝึกให้ผู้เรียน รู้จักคิด วิเคราะห์ รู้จักสังเกต และใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
การเรยี นรแู้ ละการฝึกทักษะทางภาษาจงึ มคี วามสาคัญยิ่งท่ีครภู าษาไทยต้องเอาใจใสป่ รบั ปรุงและพฒั นา
เพื่อท่ีจะจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ การเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อสาร
ความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความคิดเห็นตลอดจนเจตคติ ซ่ึงอาจทาได้หลายวิธี และใช้เคร่ืองมือ
ประกอบการสอนได้หลายอย่าง การเรียนการสอนถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาตามธรรมชาติและบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
การศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2542 : 24-25) สุจริต เพียรชอบ และสายใจ
อินทรัมพรรย์ (2536 : 123) ได้กล่าวถึงปัญหาในการเรียนการสอนภาษาไทยสรุปได้ว่า นักเรียนขาด
ความสนใจในการเรียน เนื่องจากนักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทย นักเรียนมีความรู้สึกว่าวิชา
ภาษาไทยเป็นวิชาท่ียาก ต้องท่องจามาก ทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย และนักเรียนบางคนไม่เห็น
ความสาคัญของภาษาไทย เพราะถือว่าเป็นภาษาของตนไม่ต้องเรียนก็พูดได้ จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนลดลง โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้เปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET วิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา
2561-2563 แยกตามสาระการเรียนรู้พบว่า คะแนนเฉล่ียระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ปีการศึกษา 2562
สูงกว่าปีการศึกษา2561 ส่วนคะแนนปีการศึกษา 2563 ต่ากว่าปีการศึกษา 2562 เมื่อพิจารณาจาแนก
ตามสาระการเรียนรู้ พบว่า ปีการศึกษา 2563 สาระการอ่านและสาระหลักการใช้ภาษาไทย มีคะแนน
เฉลี่ยสูงขึ้น (11.99 และ 1.11 ตามลาดับ) ส่วนสาระวรรณคดีและวรรณกรรม สาระการฟัง การดูและ
การพดู สาระการเขยี น คะแนนเฉลยี่ ลดลง (21.02, 7.81 และ 5.22 ตามลาดบั )
ตาราง 3 แสดงคา่ คะแนนเฉลี่ย ( ̅) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)ของผลการทดสอบ O-NET
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2562 จาแนกตามสาระ
สำระที่ คำ่ เฉลี่ย ( ̅)
2561 2562 2563
สาระที่ 1 การอ่าน 56.43 46.01 58.00
สาระที่ 2 การเขียน 49.06 47.34 42.12
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู 61.52 69.02 61.21
สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย 46.71 47.61 48.72
สาระท่ี 5 วรรณคดี และวรรณกรรม 57.72 71.16 50.14
คะแนนเฉลีย่ 53.33 53.91 52.82
นอกจากน้ีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยครูผู้สอนในรายวิชาภาษาไทยระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างปีการศึกษา 2562-2563 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่เป็นท่ีน่าพอใจ
การพฒั นาเร่ืองทักษะการอา่ นวิเคราะห์จึงเป็นส่ิงที่จาเป็น เพราะการอา่ นคิดวิเคราะห์นั้นจะต้องนาไปใช้
ในการเรียนสาระการเรียนรู้วิชาอ่ืน ๆ โดยเฉพาะทักษะการอ่านที่ต้องใช้ท่ัวไปในชีวิตประจาวัน
โดยเฉพาะการเรียน ประกอบกับนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 (2562:9) พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มีความเป็นเลิศ
ด้านวิชาการ นาไปสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมีทักษะการคิด
วเิ คราะห์
จากความเปน็ มาและสาคญั ของปญั หา ผ้วู ิจยั ในฐานะผูส้ อนในรายวิชา ท 22101 ภาษาไทย 3
จงึ สนใจทจี่ ะศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธก์ิ ารอา่ นวิเคราะห์ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โดยใช้
กระบวนการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) เพอื่ จะชว่ ยให้ผู้เรียนน้นั เกิดการเรียนรตู้ าม
วตั ถุประสงค์ ของวิชา ท 22101 ภาษาไทย 3 อยา่ งครบถว้ นและมปี ระสิทธภิ าพเพม่ิ มากขึ้น
วตั ถุประสงค์กำรวิจยั
1. เพ่ือศึกษาพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ก่อนและหลังเรียน
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียน
สมมติฐำนกำรศกึ ษำ
1. นักเรียนที่ได้รับการสอนการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) มีผลสัมฤทธ์ิ ในวิชาภาษาไทย 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนแบบ
กระบวนการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) หลงั สงู กว่าก่อนการเรียน
ขอบเขตกำรศกึ ษำ
1. ประชำกร เปน็ นกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ที่เรยี นวชิ าภาษาไทย 3
ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 225 คน
2. กลุ่มตัวอย่ำง เป็น นักเรียนวิชาท่ีเรียนวิชา วิชาภาษาไทย 2 ปีการศึกษา 2564 ที่ได้มาจาก
การสมุ่ อย่างง่าย (Simple Sampling Random) จานวน 6 ห้องเรียน ได้แก่ นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่
2/2จานวน 31 คน (กรณกี ารพฒั นานวัตกรรม)
3. ตัวแปร ในการวิจัย
3.1 ตัวแปรต้น (ต้นแปรอิสระ) ได้แก่ กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ิการอ่านวเิ คราะห์ ทางการเรียนในวชิ าภาษาไทย 3
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
1. นักเรียนหมายถึง ผู้เรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนในรายวิชาภาษาไทย 3 ปี
การศกึ ษา 2564
2. ผลสัมฤทธิ์การอา่ นวเิ คราะห์ หมายถงึ
3. วิธีสอนกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) หมายถึง การเรียนท่ีเน้นให้
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดข้ันสูง (Higher-Order
Thinking) ด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า ไม่เพียงแต่เป็นผู้ฟัง ผู้เรียนต้องอ่าน เขียน ตั้ง
คาถาม และถาม อภิปรายร่วมกันผู้เรียนลงมือปฏิบัติจรงิ โดยต้องคานึงถึงความรู้เดิมและความต้องการ
ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งนี้ผู้เรียนจะถูกเปล่ียนบทบาทจากผู้รับความรู้ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้าง
ความรู้
4. วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนภาษาไทยแบบปกติ คือการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 2551 ประกอบดว้ ยขั้นตอนการสอน คอื
ข้ันที่ 1 การนาเข้าสู่บทเรียน
ข้นั ที่ 2 การจดั กจิ กรรม
ขน้ั ที่ 3 ข้นั สรุปองคค์ วามรู้
ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รบั
1. ผ้เู รยี นสามารถพัฒนาทักษะการอ่านวเิ คราะหใ์ นการเรียนวิชาภาษาไทย
2. นักเรยี นสามารถนากระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) เร่ืองการอ่าน
วิเคราะห์ไปใช้ในการพฒั นาตนเองในการเรยี นวิชาอนื่ ๆ
3. สามารถนากระบวนการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย
บทท่ี 2
หลกั กำร แนวคดิ ทฤษฎที ่เี กยี่ วข้อง
การศึกษาครั้งน้ีเป็นการวิจัยผลจากการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการอ่าน
วิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
เพ่ือพัฒนา เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กอ่ นและหลงั เรยี น ในรายวิชา ภาษาไทย 3
1. ทฤษฎกี ารจดั การเรยี นการสอน
1. หลักสตู รกลุ่มสะการเรยี นรภู้ าษาไทย
1.1. ความสาคัญ
1.2 จุดมุ่งหมายหลกั สตู ร
1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
2. ความสามารถการอา่ น
2.1 ความหมายของการอา่ น
2.2 ความสาคญั ของการพัฒนาทักษะการอา่ น
3. ความสามารถในการอา่ นวิเคราะห์
3.1 ความหมายของการอา่ นวเิ คราะห์
3.2 ความสาคัญของการอ่านวิเคราะห์
3.3 แนวคิดของการอ่านวเิ คราะห์
2. แนวคิดเกีย่ วกบั กระบวนการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)
3. รูปแบบการเรียนรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)
4. งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง (สอดคลอ้ ง สัมพนั ธ์กบั งานวจิ ยั )
5. กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
1. ทฤษฎีกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน
1. หลักสูตรกลุ่มสะกำรเรียนรู้ภำษำไทย
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 1-
2) ได้จัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยมีรายละเอียด
เกี่ยวกบั ความสาคัญ ดงั น้ี
1.1 ควำมสำคัญ
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่อื งมือในการติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้างความ
เข้าใจและความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกัน ใน
สังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
สร้างสรรค์ใหท้ ันตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจน
นาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของ
บรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์
และสืบสาน ให้คงอย่คู ู่ชาติไทยตลอดไป
1.2 จดุ มงุ่ หมำย
ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตจริง การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยคการอ่านบท
ร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ความรู้จากส่ิงท่ีอ่าน เพ่ือนาไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวัน การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การ
เขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการเขียนซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ
รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ การฟัง การดู
และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลาดับ
เร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ท้ังเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ
และการพูดเพ่ือโน้มน้าวใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษา
ให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษา
ข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเข้าใจบท
เห่ บทร้องเลน่ ของเดก็ เพลงพื้นบ้านทีเ่ ปน็ ภมู ปิ ัญญาทีม่ ีคณุ ค่าของไทย ซึ่งได้ถา่ ยทอดความรู้สกึ นึกคิด
ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้
เกดิ ความซาบซงึ้ และภูมิใจ ในบรรพบรุ ุษที่ไดส้ ่งั สมสบื ทอดมาจนถงึ ปัจจบุ นั
1.3 สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้
สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนนิ ชวี ติ และมีนิสัยรกั การอ่าน
สาระท่ี 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ
สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรูส้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า
และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
จะเห็นได้ว่าจากหลักสูตรแกนกลางแกนศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยน้ันมีความสาคัญอย่างย่ิงในการจะพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย เพราะภาษาไทยน้ันเป็น
รากเหง้าของความไทยตลอดจนนาไปสู่การศกึ ษาในรายวิชาอ่ืน ๆ ดังน้ันจะตอ้ งพัฒนาการเรียนการสอน
ภาษาไทยในเรื่องของการอ่านออก เขียนได้ เมื่ออ่านออกเขียนได้ก็จะต้องสามารถคิดวิเคราะห์ได้
ตลอดจนการคิดขั้นสูงเพอ่ื นาไปสูก่ ารพฒั นาตนเองต่อไปในอนาคต เป็นตน้
2. ควำมสำมำรถกำรอำ่ น
การอ่านเป็นทักษะท่ีจาเป็นในชีวิตของมนุษย์ เพราะมนุษย์น้ันจาเป็นจะต้องมีการส่ือสาร
ระหว่างกัน อีกทั้งการอ่านยังกลายเป็นทักษะจาเป็นที่จะใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านการศึกษา
หาความรู้
2.1 ควำมหมำยของกำรอำ่ น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 (2554 :1405) ได้ให้ความหมายของ
การอ่านไว้ว่า อ่าน เป็นคากริยา หมายถึง ว่าตามตัวหนังสือ ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่าอ่านออกเสียง ถ้า
ไม่ต้องออกเสียงเรียกว่าอ่านในใจ,หมายถึง สังเกตพิจารณาดูเพ่ือให้เขา้ ใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านรมิ ฝีปาก
อา่ นใจ หมายถงึ การตีความ เช่น อา่ นรหัส อ่านลายแทง หมายถงึ การคดิ นับ เปน็ ต้น สร้อยสน สกลรกั ษ์
และคณะ (2554:2) ได้กล่าวถึงการรู้หนังสือ ซึ่งรวมถึงการอ่าน โดยให้นิยามของการรู้หนังสือของ
หนว่ ยงานและประเทศตา่ ง ๆ ดังนี้
หนว่ ยงาน องคก์ รของประเทศตา่ ง ๆ ความหมายของการรู้หนงั สือ
UNICEF - ความสามารถในการใช้ทักษะการอ่าน การเขียน
UNESCO และการคานวณอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ และเพื่อพัฒนา ต้นเองและ
ชุมชน
- บคุ คลทรี่ ู้หนงั สอื คือบุคคลที่มคี วามเข้าใจขอ้ ความ
ต่างๆ ท่ีพบใน ชีวิตประจาวัน ท้ังอ่านเข้าใจ และ
เขียนส่ือสารไดอ้ ย่างเข้าใจ
Department for International Development ทักษะขั้นพ้ืนฐานหรือสมรรถนะในการอ่าน การ
(UK); United States Agency for International เขยี น และการนับ
Development; World Bank
Canadian International Development Agency; ทักษะที่การศึกษาขั้นพื้นฐานต้องพัฒนาให้บุคคลมี
Danish International Development สมรรถนะนี้
Assistance; New Zealand's International Aid
and Development Agency
BMZ [German Federal Ministry for Economic ทักษะการอ่านและการเขียน ท่ีมคี วามสาคัญต่อการ
Cooperation and Development]; the เรียนรูใ้ นระดบั ที่สูงขน้ึ ตอ่ ไป
Netherlands
Swedish International Development การเรียนรู้การอ่านและเขียนตัวอักษรและตัวเลข
Cooperation Agency เพ่อื การเรียนรูใ้ น ระดบั สงู ข้ึน และเพ่อื พฒั นาทักษะ
พื้นฐานให้ใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุ
ความต้องการจาเป็นของบคุ คล
เช่นเดียวกับสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 1) กล่าวว่าการอ่านนั้นรวมถึง การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่าน
บทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพ่ือนาไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เพราะภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้อง
ฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ือ
นาไปใช้ในชวี ิตจรงิ
ดังนั้นสรุปได้ว่า การอ่านแบ่งออกเป็นการเปล่งเสียงเป็นการอ่านออกเสียงและอ่านในคิด หาก
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการอ่าน ก็จะสามารถแบ่งได้ทั้งการอ่านคิดวิเคราะห์ การอ่านโดยใช้
วจิ ารณญาณ การอา่ นขัน้ สูง หรอื อาจจะหมายถึงความสามารถในการรูห้ นงั สอื เป็นต้น
2.2 ควำมสำคญั ของกำรพัฒนำทกั ษะกำรอ่ำน
ภาษาไทยเป็นบรรทัดฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะเรื่องการอ่านและการเขียน
เพราะหากไม่สามารถอ่านออก เขียนได้ก็จะไม่สามารถสื่อสารได้ ดงั ที่พรศริ ิ สันทัดรบ (2560:136-137)
กล่าวว่าการอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งต่อการศึกษาหาความรู้ ซึ่งนอกจากจะทาให้เกิดความรู้ ยัง
ก่อให้เกิดความสนุกสนานและส่งเสริมให้เกิดความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การอ่านเป็นหัวใจของการศึกษา
ทุกระดับ การอ่านเป็นทักษะทางภาษาท่ีช่วยให้มนุษย์รับรู้ข่าวสาร ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ รอบตัว
เพ่ือท่ีจะดาเนินชีวิตในสังคมได้ ตลอดจนให้ผู้อ่านพัฒนาตนเอง เป็นการเพิ่มประสบการณ์ให้กับตนเอง
เพื่อเพ่ิมการพัฒนาการตนเองให้ประสบความสาเร็จ โดยเฉพาะอย่างย่ิงบุคคลที่อยู่ในวัยแห่งการศึกษา
ค้นคว้า เรียนรู้ จะเห็นได้ว่าการพัฒนาทักษะการอ่านน้ันเป็นส่ิงจาเป็น เพราะแม้แต่แผนการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 –2579 ก็ได้กาหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนา
ผู้เรียนทุกคนให้มคี ุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs) โดย 3Rs ได้แก่ การอ่านออก
(Reading) การเขยี นได้ (Writing) และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน(2552 : 3-4)ก็ได้กาหนด
สาระและมาตรฐานการอ่านไวเ้ มื่อจบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ดังตาราง
ตารางสรุปการกาหนดสาระและมาตรฐานการอ่านเมือ่ จบช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
กำรอำ่ น หลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน
ตัวชวี้ ัดกำรอ่ำน (โดยสรุป) สำระและมำตรฐำน คุณภำพผู้เรยี น
ระดับมธั ยมศึกษา 1. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ใช้กระบวนการอ่าน เมื่อจบ ม. 3
- การตีความ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ไพเราะ ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ แ ล ะ - อ่านออกเสียงบทร้อย
- การวิเคราะห์ และเหมาะสมกบั เร่อื งท่ีอ่าน ความคิด เพ่ือนาไปใช้ แก้วและบทร้อยกรอง
- การประเมินค่า 2. ตีความ แปลความและขยาย ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน เปน็ ทานองเสนาะ
บทอ่าน ความเร่ืองทอี่ ่าน การดาเนินชีวิต และมี - เข้าใจความ ห มาย
- การมีปฏิสัมพันธ์ 3. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่าน นสิ ยั รกั การอ่าน โด ย ต รงแ ล ะ
กั บ ตั ว บ ท อยา่ งมีเหตุผล ความหมายโดยนยั
สร้างสรรคอ์ ่ืน ๆ
กำรอำ่ น ตัวชีว้ ัดกำรอำ่ น (โดยสรปุ ) สำระและมำตรฐำน คณุ ภำพผู้เรียน
4. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ี - จับ ใจความ สาคั ญ
อ่านและประเมินค่าเพื่อนาความรู้ และรายละเอียดของสิ่ง
ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาใน ท่อี ่าน
การดาเนนิ ชวี ิต - แสดงความคิดเห็น
5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความ และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ
คิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องท่ีอ่านและ เรอื่ งทอ่ี า่ น
เสนอแนวคดิ ใหมอ่ ย่างมีเหตุผล - เขียนกรอบแนวคิด
6. ตอบคาถามจากการอ่านประเภท ผังความคิด ย่อความ
ตา่ ง ๆ ภายในเวลาทก่ี าหนด เขียนรายงานจากสิ่งที่
7. อ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบ อ่านได้
แนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อ - วิเค ราะห์ วิจารณ์
ความและรายงาน อย่างมีเหตุผล ลาดับ
8. สังเคราะห์ความรู้จาการอ่านสื่อ ความอย่างมีขน้ั ตอน
สิ่งพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และแห่ง - ประเมินความถูกต้อง
เรียนรู้ มาพัฒนาตน การเรียนและ ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้
ความรทู้ างอาชีพ ส นั บ ส นุ น จ า ก เรื่ อ ง ท่ี
อ่าน
3. ควำมสำมำรถในกำรอำ่ นวเิ ครำะห์
ในโลกยุคปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร มีข้อมูลความรู้แทบทุกด้านได้รับการเผยแพร่ใน
รูปของส่ือสงิ่ พมิ พ์มากมาย เชน่ ตารา บันเทิงคดี สารคดี หนังสือประเภทข่าวสาร โฆษณาและงานเขียน
เพ่ือกิจธุระต่างๆ ส่ิงพิมพ์ดังกล่าวน้ีมีบทบาทเเละอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของกลุ่มคนอย่าง
กว้างขวาง เพราะเป็นช่องทางหน่ึงท่ีทาให้คนได้รับความรู้ความคิดและดาเนินชีวิตอย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ยังทาให้เกดิ ความเพลิดเพลนิ เกิดความพอใจเเละคลายทุกข์ได้ด้วย ดังน้ัน บุคคลในวงการต่าง
ๆจะต้องมีความสามารถในการอ่าน ทั้งน้เี พ่ือใช้การอ่านเป็นเครื่องมือพัฒนาความรลู้ ะพัฒนาชีวิตให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดและความสามารถในการอ่านท่ีมีความจาเป็นย่ิงก็ถือ การอ่านวิเคราะห์ (คณาจารย์กลุ่ม
วชิ าภาษาไทย,2547:106)
3.1 ควำมหมำยของกำรอ่ำนวิเครำะห์
ชนาธิป พรกุล (2555:75) ได้ให้ความหมายของการวิเคราะห์ หมายถึงการจาแนกแยกแยะส่ิง
ใดส่ิงหนงึ่ หรือเรอ่ื งใดเรื่องหนึ่ง เพ่ือค้นหาองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งองค์ประกอบเหลา่ นั้น
เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจในส่ิงนั้น เช่นเดียวกับคณาจารย์กลุ่มวิชาภาษาไทย (2547:106) ได้ให้
ความหมายของการอ่านวิเคราะห์ หมายถึง การวิเคราะห์เป็นการนาเรื่องใดเร่ืองหนึ่งมาพิจารณา
แยกแยะสว่ นต่าง ๆ อย่างละเอียดถ่ีถ้วน เช่น ความเป็นเหตุเป็นผล ความเเตกต่าง ความกลมกลืน ข้อดี
เเละข้อบกพร่องของเเต่ละส่วน เป็นต้น ถ้าเป็นการวิเคราะห์งานเขียนก็จะต้องแยกแยะไปตามรูปเเบบ
ของงานเขยี นน้ันการอ่านวิเคราะห์ เป็นการอ่านงานเขยี นในเชิงแยกองค์ประกอบให้ ได้รายละเอียดต่าง
ๆโดยที่ผู้อ่านมีเคร่ืองมือในการพิจารณาว่างานนั้นอยู่ในรูปแบบใด มีองค์ประกอบอะไรบ้าง อยู่ใน
ลักษณะใดและองค์ประกอบดังกล่าวจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการประเมินค่างานเขียนนั้นด้วย โดยนัย
ดังกล่าว การอ่านวิเคราะห์จึงเป็นการพัฒนาความสามารถในการอ่านสูงกว่าระดับการอ่านเพ่ือความ
เข้าใจหรืออาจเรียกว่าระดับของ การอ่านเป็น กล่าวคือผู้ด่านจะมีพฤตกิ รรมทางสมองก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง
คือ สามารถพิจารณางานที่อ่านได้อย่างละเอียดและแตกฉานในเนื้อหาท่ีอ่าน สามารถใช้ทั้งวิธีการอ่าน
และผลจากการอ่านมาใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ท้ังของตวั เองและผู้อืน่ ได้ดว้ ย แม้ปจั จุบันจะมี
ส่ือความรู้ต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมายก็ตาม แต่ก็คงไม่อาจนามาทดแทนการอ่านวิเคราะห์ได้อย่าง
แน่นอน รวมถึงราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 (2554: 1115) ให้ความหมายของคาว่า วิเคราะห์
หมายถึง ใคร่ครวญ เช่นวิเคราะห์เหตุการณ์,แยกออกเป็นส่วน ๆ เพ่ือศึกษาให้ถ่อแท้ เช่น วิเคราะห์
ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว เป็นต้น ดังนั้นการอ่านวิเคราะห์ จึงหมายถึงการอ่านแบบใคร่ครวญ ตรึก
ตรอง เมือ่ อา่ นเร่อื งนัน้ ๆ แล้วสามารถแยกส่วนประกอบของเนอ้ื หาได้
3.2 ควำมสำคัญของกำรอำ่ นวิเครำะห์
คณาจารย์กลุ่มวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี(2547:107-108) ได้กล่าวถึง
ความสาคัญและแนวทางการอ่านวิเคราะห์ได้ ดังน้ีการอ่านวิเคราะห์เน้นการแยกแยะงานเขียนออกมา
พิจารณาอยา่ งละเอยี ดมคี วามสาคญั ต่อผู้อา่ น 4 ประการ ดังนี้
1) ผู้อา่ นสามารถกันหาความรู้ ความตดิ และความบันเทงิ ใจจากส่ิงที่ไดอ้ ่าน
2) ผู้อ่านสามารถมองเห็นภาพรวมของงานเขียนท่ีอ่านว่ามีอะไรประกอบกันอยู่ในลักษณะใด
มองเหน็ ความสัมพนั ธข์ องเเตล่ ะสว่ นประกอบไดอ้ ย่างชดั เจน
3) ช่วยเพ่ิมพนู ความรแู้ ก่ผู้อา่ นเละผ้อู า่ นสามารถเลือกสารท่คี วรคา่ เเก่การอ่านได้
4) ทาให้ผู้อ่านสามารถนาผลจากการอ่านมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตของตนเองเเละสังคม
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
3.3 แนวทำงกำรอ่ำนวเิ ครำะห์
ชนาธิป พรกุล (2555:75-76) กล่าวว่าขั้นตอนการวิเคราะห์น้ัน 1) ศึกษาข้อมูล 2) ต้ัง
วตั ถุประสงค์ในการวเิ คราะห์ข้อมลู 3)กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกแยกแยะข้อมลู 4) แยกแยะข้อมูลตาม
เกณฑ์ที่กาหนดเพ่ือให้เห็นองค์ประกอบของส่ิงท่ีวิเคราะห์ 5) หาความสัมพันธร์ ะหว่างองค์ประกอบต่าง
ๆ และความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่ละองค์ประกอบ 6) นาเสนอผลการวิเคราะห์ 7) นาผลการวิเคราะห์
มาสรุปตอบคาถามตามวัตถุประสงค์
คณาจารย์กลุ่มวิชาภาษาไทย (2547:107) โดยสรุปกล่าวว่าการอ่านวิเคราะห์เป็นการพิจารณา
แยกแยะองค์ประกอบของงานเขียนอย่างละเอียดถ่ีถ้วนเพื่อให้เห็นลักษณะ ความสัมพันธ์ ความ
กลมกลืน ข้อดีและขัดด้อยของแต่ละองค์ประกอบ ดังนั้นผู้อ่านจึงต้องมีพ้ืนฐานความรู้เกี่ยวกับ
องค์ประกอบของงานเขียนเพ่ือนาไปใช้ประกอบ สาหรับการฝึกอ่านวิเคราะห์ต่อไป งานเขียนโดยทั่ว ๆ
ไปมีองค์ประกอบดังน้ี 1) รูปแบบการประพันธ์ 2) เน้ือหา 3) กลวิธีการนาเสนอ 4) การใช้ภาษา แนว
ทางการอ่านวเิ คราะห์งานเขียนที่กล่าวมาแล้วทั้ง 4 ประเด็น คือ การวิเคราะหร์ ูปแบบการประพนั ธ์ การ
วิเคราะห์เม้ือหา การวิเคราะห์กลวิธีการแต่งและการวิเคราะห์กลวิธีการใช้ภาษานั้น นับเป็นวิธีการอ่าน
อย่างมีวจิ ารณญาณแบบหนง่ึ การอา่ นแบบน้ีผู้อ่านต้องปฏิบัตจิ รงิ อย่างพนิ จิ พิจารณาจาแนกเน้ือหาสาระ
ออกไดอ้ ย่างถถี่ ว้ น ผลจาการอา่ นจึงจะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างคมุ้ ค่า
2. แนวคิดเกีย่ วกับกระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ให้ความหมาย ความสาคัญ แนวคิดตลอดจน
วิธีการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ี
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ให้คาปรึกษา ดูแล แนะนา
ทาหน้าที่เปน็ โคช้ และพเี่ ลี้ยง (Coach & Mentor) แสวงหาเทคนิควธิ ีการจัดการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้
ท่ีหลากหลายไห้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful learning) ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้
มีความข้าใจในตนเองใช้สติปัญญา คิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมท่ีบ่งบอกถึงการมี
สมรรถนะสาคัญในศตวรรษท่ี 21มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ บรรลุเป้าหมายการ
เรียนรูต้ ามระดบั ช่วงวัย
ควำมหมำยของกำรจัดกำรเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)
การจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) คอื การเรียนท่เี น้นใหผ้ ู้เรยี นมีปฏิสมั พันธ์กับการ
เรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดข้ันสูง (Higher-Order Thinking) ด้วยการวิเคราะห์
สังเคราะห์และประเมินค่า ไม่เพียงแต่เป็นผู้ฟัง ผู้เรียนต้องอ่าน เขียน ตั้งคาถาม และถาม อภิปราย
ร่วมกันผู้เรียนลงมอื ปฏิบัติจริง โดยต้องคานึงถึงความรู้เดิมและความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ ท้ังนี้
ผ้เู รยี นจะถกู เปล่ียนบทบาทจากผ้รู ับความรไู้ ปสกู่ ารมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้
ควำมสำคญั ของกำรจัดกำรเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning)
1. Active Learning ส่งเสริมการมีอิสระทางด้านความคิดและการกระทาของผู้เรียนการมี
วิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะมีโอกาส มีส่วนร่วมในการปฏิบั ติจริงและมีการใช้
วิจารณญาณในการคิดและตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรมนั้น มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้กากับทิศทางการ
เรียนรู้ค้นหาสไตล์การเรียนรู้ของตนเอง สู่การเป็นผู้รู้คิด รู้ตัดสินใจด้วยตนเอง (Metacognition)
เพราะฉะน้ัน Active Learning จึงเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาความคิด
ข้ันสูง (Higher order thinking) ในการมีวิจารณญาณ การวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การประเมิน
ตดั สินใจ และการสร้างสรรค์
2. Active Leaning สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความ
ร่วมมอื ในการปฏิบัตงิ านกลุ่มจะนาไปส่คู วามสาเรจ็ ในภาพรวม
3. Active Learning ทาให้ผู้เรียนทุ่มเทในการเรียน จูงใจในการเรียน และทาให้ผู้เรียน
แสดงออกถึงความรู้ความสามารถ เม่ือผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างกระตือรือร้นใน
สภาพแวดล้อม ท่ีเอื้ออานวย ผ่านการใช้กิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว้ให้อย่างหลากหลาย ผู้เรียนเลือก
เรียนรู้กิจกรรมต่าง ๆ ตามความสนใจและความถนัดของตนเอง เกิดความรับผิดชอบและทุ่มเทเพื่อมุ่งสู่
ความสาเรจ็
4. Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนร้ทู ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาเชงิ บวกท้ังตวั ผู้เรยี นและ
ตัวครู เป็นการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสได้เลือกใช้ความถนัด ความสนใจ
ความสามารถท่ีเป็นความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) สอดรับกับแนวคิดพหุปัญญา
(Multiple Intelligence) เพ่ือแสดงออกถึงตัวตนและศักยภาพของตัวเอง ส่วนครูผู้สอนต้องมีความ
ตระหนักที่จะปรับเปลี่ยนบทบาท แสวงหาวิธีการ กิจกรรมที่หลากหลาย เพ่ือช่วยเสริมสร้างศักยภาพ
ของผู้เรียนแต่ละคน ส่ิงเหล่าน้ีจะทาให้ครูเกิดทักษะในการสอนและมีความเชี่ยวชาญในบทบาท หน้าท่ี
ท่รี บั ผดิ ชอบ เป็นการพฒั นาตน พฒั นางาน และพัฒนาผ้เู รยี นไปพร้อมกัน
ลักษณะของกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ลักษณะของการจัดการเรียนรู้
เชงิ รกุ มดี งั น้ี
1. เปน็ การพฒั นาศักยภาพการคดิ การแกป้ ญั หา และการน าความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้
2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันใน
รปู แบบของความรว่ มมือมากกว่าการแข่งขนั
3. เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรู้สูงสดุ
4. เป็นกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ สู่ทักษะการคิดวิเคราะห์และ
ประเมินค่า
5. ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้ความมวี ินัยในการท างานร่วมกบั ผู้อน่ื
6. ความรู้เกิดจากประสบการณ์และการสรปุ ของผู้เรยี น
7. ผู้สอนเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
จากลักษณะการเรียนรู้แบบ Active Learning ดังกล่าว จึงควรมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้อง
กนั ดงั น้ี
1. จัดการเรียนรู้ท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหาและการนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้
2. จดั การเรยี นรทู้ ่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนมสี ว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรสู้ ูงสดุ
3. จดั ให้ผเู้ รยี นสร้างองคค์ วามรแู้ ละจัดกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
4. จัดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ท้ังในด้านการสร้างองค์ความรู้การสร้างปฏิสัมพันธ์
ร่วมกนั สร้างรว่ มมือกนั มากกว่าการแขง่ ขัน
5. จัดให้ผู้เรียนเรียนร้เู รือ่ งความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวนิ ัยในการท างานและการแบ่งหน้าที่
ความรบั ผิดชอบในภารกิจตา่ ง ๆ
6. จัดกระบวนการเรียนท่ีสรา้ งสถานการณ์ให้ผู้เรียนอา่ น พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็น
ผูจ้ ัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. จัดกจิ กรรมการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นทักษะการคิดข้ันสงู
8. จัดกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศและหลักการ
ความคดิ รวบยอด
9. ผสู้ อนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ผู้เรียนเปน็ ผปู้ ฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง
10. จัดกระบวนการสร้างความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรุป
ทบทวนของผู้เรยี น
ลกั ษณะกิจกรรมท่ีเปน็ กำรเรยี นรเู้ ชงิ รกุ
1. กระบวนการเรียนรู้ที่ลดบทบาทการสอนและการให้ความรู้โดยตรงของครูแต่เปิดโอกาสให้
ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมสรา้ งองคค์ วามรู้ และจัดระบบการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
2. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้นาความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ สามารถ
วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ คดิ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ตา่ ง ๆ พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดไปสู่ระดับที่สูงขนึ้
3. กิจกรรมเช่ือมโยงกับนักเรียน กับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคม หรือ
ประเทศชาติ
4. กิจกรรมเป็นการน าความรู้ทไี่ ด้ไปใชแ้ ก้ปญั หาใหม่ หรอื ใช้ในสถานการณ์ใหม่
5. กิจกรรมเนน้ ใหผ้ ้เู รียนไดใ้ ช้ความคิดของตนเองอย่างมเี หตุมีผล มีโอกาสร่วมอภิปรายและนา
เสนอผลงาน
6. กิจกรรมเน้นการมปี ฏิสัมพันธ์กันระหว่างผูเ้ รยี นกับผู้สอน และปฏิสมั พนั ธ์กันระหว่างผูเ้ รียน
ดว้ ยกัน
รปู แบบวธิ กี ำรจดั กิจกรรมกำรเรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning)
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ในลักษณะการจัดการเรียนรู้เชิง
รุก (Active Learning) มีวิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิธี เช่น การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน
(Activity-Based Learning) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) การเรียนรู้โดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) อย่างไรก็ตามรูปแบบ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เหล่าน้ี มีพื้นฐานมาจากแนวคิดเดียวกันคือ ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทหลักในการเรียนรู้ของตนเอง การ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษาที่เน้นการสร้างองค์
ความรู้ใหม่ (Constructivist) โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้จากข้อมูลท่ีได้รับมาใหม่ด้วยการนาไป
ประกอบกับประสบการณ์เดิมในอดีต นอกจากน้ียังมีมิติกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 มิติ ได้แก่ กิจกรรมด้าน
การรู้คดิ (Cognitive Activity) และกจิ กรรมด้านพฤติกรรม (Behavioral Activity) ผู้นาไปใช้อาจเข้าใจ
คลาดเคล่ือน ว่าการเรียนรู้แบบน้ี คือรูปแบบที่เน้นความต่ืนตัวในกิจกรรมด้านพฤติกรรม (Behavioral
Active) โดยเข้าใจวา่ ความต่ืนตัวในกจิ กรรมด้านพฤตกิ รรมจะทาให้เกิดความตื่นตัวในกจิ กรรมด้านการรู้
คิด (Cognitively Active) ไปเอง จึงเป็นที่มาของการประยุกต์ใชผ้ ิด ๆ ว่าให้ผู้สอนลดบทบาทความเป็น
ผู้ให้ความรู้ลง เป็นเพียงผู้อานวยความสะดวกและบริหารจัดการหลักสูตร โดยปล่อยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
เองอย่างอิสระจากการท ากิจกรรมและการแลกเปล่ยี นประสบการณก์ ับผู้เรียนด้วยกันเองตามยถากรรม
โดยผเู้ รียนไม่ไดเ้ รยี นรูพ้ ฒั นามิตดิ า้ นการรูค้ ดิ
ความตื่นตัวในกิจกรรมดา้ นพฤติกรรมอาจไม่ก่อใหเ้ กิดความตื่นตวั ในกจิ กรรมด้านการรู้คิดเสมอ
ไป การที่ผู้สอนให้ความสาคัญกับกิจกรรมด้านพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น การฝึกปฏิบัติและการ
อภิปรายในกลุ่มของผู้เรียนเอง โดยไม่ให้ความสาคัญกับกิจกรรมด้านการรู้คิด เช่น การลาดับความคิด
และการจัดองคค์ วามรู้ จะทาใหป้ ระสทิ ธิผลของการเรียนรูล้ ดลง
การนารปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบที่ให้ผู้เรยี นทากิจกรรมและค้นพบความรูด้ ว้ ยตนเองนี้ไปใช้
กับการพัฒนาการเรียนรู้ตามลาดับขั้นการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จะเหมาะกับการ
พัฒนาในขั้น การทาความเข้าใจ การนาไปประยุกต์ใช้ และการวิเคราะห์ ขึ้นไปมากกว่าขั้นให้ข้อมูล
ความรู้เพราะเป็นการเสียเวลามาก และไม่บรรลุผลเท่าท่ีควรโดยสรุป การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาท
และการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยการนาเอาวิธีการสอนเทคนิคการสอนท่ีหลากหลายมาใช้ออกแบบ
แผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในช้ันเรยี น ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้นาไปปฏิบัติเพ่ือแก้ไขปัญหาหรือประกอบ
อาชีพในอนาคต และถือเป็นการจัดการเรียนรู้ประเภทหน่ึงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะสอดคล้อง
กับการเปลีย่ นแปลงในยุคปจั จุบนั
3. รปู แบบกำรเรียนร้โู ดยใช้กิจกรรมเป็นฐำน (Activity-Based Learning)
การเรียนรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน เป็นวิธกี ารจดั การเรยี นรู้ที่พัฒนามาจากแนวคดิ ในการจัดการ
เรียนการสอนที่เผยแพร่ในปลายศตวรรษที่ 20 ท่ีเรียกว่า การเรียนรู้ที่เน้นบทบาท และการมีส่วนร่วม
ของผู้เรียน หรือ “การเรียนรู้เชิงรุก” (Active Learning) ซ่ึงหมายถึง รูปแบบการเรียนการสอน ที่
มุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และบทบาทในการเรียนรู้ของผู้เรียน "ใช้กิจกรรมเป็น
ฐาน" หมายถึง นากิจกรรมเป็นท่ีตั้งเพ่ือที่จะฝึกหรือพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรยี นรู้ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์
หรือเปา้ หมายทกี่ าหนด
ลกั ษณะสำคัญของกำรเรยี นร้โู ดยใช้กจิ กรรมเป็นฐำน
1. สง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นมีความตนื่ ตวั และกระตอื รอื ร้นดา้ นการร้คู ดิ
2. กระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นรูจ้ ากตวั ผู้เรียนเอง มากกวา่ การฟังผ้สู อนในหอ้ งเรียนและการท่องจา
3. พฒั นาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ทาให้เกิดการเรียนรู้อยา่ ง
ตอ่ เนอ่ื งนอกหอ้ งเรียนดว้ ย
4. ได้ผลลัพธ์ในการถ่ายทอดความรู้ใกล้เคียงกับการเรียนรู้รูปแบบอ่ืน แต่ได้ผลดีกว่าในการ
พัฒนาทักษะดา้ นการคดิ และการเขยี นของผูเ้ รียน
5. ผู้เรียนมคี วามพึงพอใจกับการเรยี นร้แู บบนม้ี ากกว่ารูปแบบท่ผี เู้ รยี นเปน็ ฝ่ายรับความรูซ้ ่ึงเป็น
การเรยี นร้แู บบตัง้ รบั (Passive Learning)
6. มงุ่ เนน้ ความรับผิดชอบของผ้เู รียนในการเรียนรู้โดยผา่ นการอา่ น เขียน คิด อภิปราย และเข้า
ร่วมในการแก้ปัญหา และยังสัมพนั ธ์กับการเรยี นรู้ตามลาดบั ขน้ั การเรียนรขู้ องบลูม ทั้งในด้านพุทธพิ สิ ยั
ทกั ษะพสิ ัย และจิตพสิ ยั
หลกั กำรจัดกำรเรียนรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐำน
1. ให้ความสนใจท่ตี ัวผู้เรียน
2. เรยี นรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั ิทนี่ ่าสนใจ
3. ครผู ู้สอนเป็นเพยี งผู้อานวยความสะดวก
4. ใชป้ ระสาทสมั ผัสทง้ั 5 ในการเรยี น
5. ไม่มกี ารสอบ แต่ประเมนิ ผลจากพฤติกรรม ความเขา้ ใจ และผลงาน
6. เพื่อนในชนั้ เรยี นชว่ ยส่งเสรมิ การเรียน
7. มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ ม และบรรยากาศที่เออ้ื ต่อการพัฒนาความคดิ และเสริมสรา้ งความ
มั่นใจในตนเอง
ประเภทของกิจกรรมในกำรเรียนรู้โดยใช้กจิ กรรมเปน็ ฐำน
กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน มีหลากหลายกิจกรรม การเลือกใช้ขึน้ อยู่กบั ความ
เหมาะสม สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมน้ัน ๆ วา่ มุ่งใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนร้หู รือพฒั นาใน
เรอ่ื งใด สามารถจาแนกออกเป็น 3 ประเภทหลกั คือ
1. กิจกรรมเชงิ สารวจ เสาะหา ค้นควา้ (Exploratory) ซ่ึงเกย่ี วข้องกบั การรวบรวม สัง่ สม
ความรู้ ความคดิ รวบยอด และทักษะ
2. กจิ กรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ (Constructive) ซ่งึ เก่ยี วขอ้ งกบั การรวบรวม สง่ั สมประสบการณ์
โดยผ่านการปฏิบัติ หรอื การท างานท่ีริเริ่มสร้างสรรค์
3. กิจกรรมเชงิ การแสดงออก (Expressional) ได้แก่กิจกรรมที่เกยี่ วกบั การนาเสนอ การ
เสนอผลงาน
กิจกรรมกำรเรียนรู้ที่นิยมใช้จัดกำรเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐำน ได้แก่ การอภิปรายในชั้น
เรียน (class discussion) ที่ใช้ได้ทั้งในห้องเรียนปกติ และการอภิปรายออนไลน์ การอภิปรายกลุ่มย่อย
(Small Group Discussion) กิจกรรม “คิด-จับคู่-แลกเปล่ียน” (think-pair-share) เซลการเรียนรู้
(Learning Cell) การฝึกเขียนข้อความสั้น ๆ (One-minute Paper) การโต้วาที (Debate) การแสดง
บทบาทสมมุติ (Role Play) การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ (Situational Learning) การเรียนแบบกลุ่ม
ร่วมแรงร่วมใจ (Collaborative learning group) ปฏิกิริยาจากการชมวิดิทัศน์ (Reaction to a
video) เกมในชั้นเรียน (Game) แกลเลอรี่ วอล์ค (Gallery Walk) การเรียนรู้โดยการสอน (Learning
by Teaching)
บทบำทของครูในกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แนวทาง Active Learning ครูผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมท่ีสะท้อนการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
และเน้นการนาไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ โดยดาเนินการดงั น้ี
1. สร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับ
ผู้สอนและเพื่อนในชน้ั เรยี น
2. ลดบทบาทการสอน และการให้ความรู้โดยตรง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
จัดระบบการเรยี นรู้ แสวงหาความรู้ และสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง
3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นพลวัต (มีการเคล่ือนไหว/การขับเคล่ือน) ส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนค้นพบความสาเร็จในการเรียนรู้ สามารถนาความรู้
ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และคิดสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ โดย
เชือ่ มโยงกับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปญั หาของชุมชน สงั คม หรอื ประเทศชาติ
4. จดั การเรียนรู้แบบร่วมมอื สง่ เสริมให้เกิดความร่วมมือในกลุ่มผูเ้ รยี น วางแผนเก่ียวกบั เวลาใน
จัดการเรยี นรู้อย่างชดั เจน รวมถงึ เนื้อหาและกจิ กรรม
5. จัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ีท่ า้ ทาย เปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นได้เรยี นรจู้ ากวิธกี ารสอนทห่ี ลากหลาย
6. เปดิ ใจกวา้ งยอมรบั ในความสามารถ การแสดงออกและการแสดงความคดิ เหน็ ของผเู้ รยี น
7. ผสู้ อนควรทราบว่าผ้เู รยี นมคี วามถนดั ที่แตกต่างกนั และทราบความรพู้ ื้นฐานของผ้เู รยี น
8. ผู้สอนควรสร้างบรรยากาศในการเรียน ให้ผู้เรียนกล้าพูด กล้าตอบและมีความสุขในการ
เรยี นรู้ การจดั การเรียนร้ทู ่ีจะส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนไดม้ สี ่วนรว่ มมากทสี่ ุด ครูผสู้ อนต้องพยายามสรา้ ง
ลักษณะการเรียนรู้เชิงรุก ให้เกิดขึ้นอย่างสม่าเสมอ โดยจะต้องให้ผู้เรียนได้เข้าใจและรู้ว่า
ในขณะทก่ี าลงั เรียนรู้นั้น ผ้เู รียนจะตอ้ งมีลกั ษณะดังน้ี
1. รวู้ า่ ตวั เองจะตอ้ งเรยี นร้เู ก่ียวกับอะไรบา้ ง รูส้ ิ่งท่ีจะเรยี น
2. ส่งิ ที่จะเรียนรู้นั้น เก่ยี วขอ้ งกับเร่อื งท่เี รียนไปแล้วอยา่ งไร
3. สง่ิ ทจ่ี ะเรยี นรูน้ ั้น สอดคลอ้ งหรอื ไม่สอดคลอ้ งกบั ความเป็นไปของโลกปัจจบุ นั อยา่ งไร
4. ผเู้ รยี นต้องรวู้ ่า ท าอยา่ งไรจงึ จะรู้ว่าขอ้ เท็จจรงิ หรือข้อความรู้ท่ีได้รับร้นู น้ั ถกู ตอ้ งแนน่ อน
5. ผู้เรียนจะต้องกลับไปตรวจสอบการบ้าน หรือส่ิงท่ีค้นคว้าใหม่ ว่าได้คาตอบที่ถูกต้องหรือไม่
หรือตอบถูกต้องตรงกบั คาถามขอ้ ไหน
6. สามารถสอบถามความรู้เพ่มิ เติมจากผู้อื่น หรอื ทางานร่วมกับผู้อ่ืน เพ่อื ให้ได้คาตอบก่อนท่ีจะ
สรปุ คาตอบสดุ ทา้ ย โดยตอ้ งฟังหรอื หาคาตอบให้ได้มาอย่างสมบรู ณ์ทีส่ ดุ กอ่ นทีจ่ ะสรุปนาเสนอ
บทบำทของครูในฐำนะเป็นผู้กระต้นุ กำรเรยี นรู้
ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ (2557) ได้กล่าวถึง บทบาทสาคัญของครูในขณะจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ว่า ครูจะต้องแสดงบทบาทต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ขึน้ โดย
ครูจะต้องเป็นผู้สังเกตการท างานของนักเรียน ครูต้องสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยใช้คาถาม
ปลายเปิดกระตุ้นการเรียนรู้แทนการบอกกล่าว ครูต้องศึกษาและรู้จักข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลเพ่ือ
แสดงบทบาทใหเ้ หมาะสมในการทาใหเ้ กดิ Active Learning กับนกั เรียนเปน็ รายคน ดังนี้
1. ใช้คาถามกระตุ้นการเรียนรู้คาถามที่ใช้ในการกระตุ้นการเรียนรู้นั้น ต้องเป็นคาถามที่มี
ลักษณะเป็นคาถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้เรียนได้อธิบาย โดยขึ้นต้นว่า “ทาไม” หรือ ลงท้ายว่า “อย่างไร
บ้าง” “อะไรบา้ ง” “เพราะอะไร”
2. ทาหน้าท่ีเป็นผู้สังเกต ครูจะต้องคอยสังเกตว่า ผู้เรียนแต่ละคนมีพฤติกรรมอย่างไร ขณะ
ปฏบิ ัติกจิ กรรมเพ่อื หาทางช้ีแนะกระตนุ้ หรือยับยั้งพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม
3. สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้การต้ังคาถาม เมื่อผู้เรียนสามารถตั้งคาถามได้ จะทาให้ผู้เรียนรู้จักถาม
เพ่ือค้นคว้าข้อมูล รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเองในเร่ืองที่
เกย่ี วขอ้ งกบั การเรยี นรู้
4. ให้คาแนะนาเม่ือผู้เรียนเกิดข้อสงสัยครูจะต้องเป็นผู้คอยแนะนา ช้ีแจง ให้ข้อมูลต่าง ๆ หรือ
ยกตัวอย่างเหตุการณ์ใกล้ตัวต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียนเชื่อมโยงไปสู่ความรู้ด้านอ่ืน ๆ
ในขณะทากจิ กรรมเมอ่ื ผเู้ รียนเกิดข้อสงสัย หรือคาถาม โดยไม่บอกคาตอบ
5. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิดหาคาตอบด้วยตนเองสังเกตและคอยกระตุ้นด้วยคาถามให้ผู้เรียนได้
คิดกจิ กรรมที่อยากเรยี นรู้และหาคาตอบในส่งิ ที่สงสยั ดว้ ยตนเอง
6. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานอย่างอสิระตามความคิดและความสามารถของตนเอง
เพื่อให้ผู้ไดใ้ ชจ้ ินตนาการและความสามารถของตนเองในการคดิ สรา้ งสรรค์อยา่ งเต็มท่ี
กำรออกแบบกำรจัดกำรเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning)
การออกแบบเป็นการถ่ายทอดจากรูปแบบความคิด ออกมาเป็นผลงานท่ีผู้อื่นสามารถมองเห็น
รับรู้ หรือสัมผัสได้ การออกแบบต้องใช้ท้ังศาสตร์แห่งความคิดและศิลป์ เพื่อสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ หรือ
ปรับปรุงพัฒนาสิ่งเดิมให้ดีขึ้น การออกแบบการเรียนรู้ เป็นกระบวนการวางแผนการสอนอย่างมีระบบ
โดยมีการวิเคราะห์ องค์ประกอบการเรยี นรู้ ทฤษฎีการเรยี นการสอน ส่ือ กิจกรรมการเรยี นรู้ รวมถึงการ
ประเมินผล เพ่ือให้ผู้สอนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีดีจะช่วยผู้สอนวางแผนการสอนอย่างมีระบบ บรรลุ
จดุ ม่งุ หมาย โดยมีหลกั การออกแบบการเรียนรูด้ ังนี้
1. การออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้น้ัน เพ่ือใคร ใครเป็นผู้เรียนหรือใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย
ผอู้ อกแบบควรมีความเข้าใจ และรู้จักกล่มุ ผู้เรียนท่เี ป็นเปา้ หมาย
2. ตอ้ งการใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรูอ้ ะไร มีความรูค้ วามเขา้ ใจ มีความสามารถอะไร ผสู้ อนต้องกาหนด
จดุ มุ่งหมายของการเรยี นรใู้ หช้ ัดเจน
3. ผู้เรียนจะเรียนรู้เน้ือหาในรายวิชาน้ัน ๆ ได้ดีที่สุดอย่างไร ควรใช้วิธีการและกิจกรรมการ
เรยี นรู้อะไรทีจ่ ะช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสมและมีปัจจัยสิ่งใดทีต่ ้องคานึงถึงบ้าง
4. เมื่อผู้เรียนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนจะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น
และประสบผลสาเรจ็ ในการเรียนรู้ และจะใช้วิธกี ารใดในการประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
สรุปได้ว่า การออกแบบการเรียนรู้ ควรมีการวางแผนเพ่ือพิจารณาว่าผู้เรียนเป็นใครมีลักษณะ
พ้ืนฐานอย่างไร จะกาหนดจุดมุ่งหมายในการสอนคร้ังนั้นอย่างไร จะใช้วิธีการเรียนการสอน กิจกรรม
การเรียนรู้ และวธิ ีการประเมินผลการเรยี นอย่างไรบ้าง จึงจะสามารถทาให้การเรียนร้นู ้ันบรรลุเป้าหมาย
คอื ภายหลังเรียนรู้แล้วผเู้ รียนเข้าใจ จดจา นาไปใช้ ทาได้ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ได้ เป็นต้น ดงั นั้น ส่ิงท่ีควร
พิจารณาในการออกแบบการเรียนรู้ ได้แก่ ตัวผู้เรียน จุดมุ่งหมาย วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนรู้
และการประเมนิ ผล
วธิ กี ารสอน คือ ข้นั ตอนทผ่ี สู้ อนดาเนินการใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรูต้ ามวัตถุประสงค์ด้วยวธิ กี าร
ต่าง ๆ ท่ีแตกต่างไปตามองค์ประกอบและข้ันตอนสาคัญ อันเป็นลักษณะเฉพาะหรือลักษณะเด่นท่ีขาด
ไม่ได้ของวิธีน้ัน ๆ (ทิศนา แขมมณี, 2551 หน้า 323)
เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีต่าง ๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน หรือการ
กระทาต่าง ๆ ในการสอนให้มคี ุณภาพ และประสิทธภิ าพเพมิ่ ขึน้ (ทิศนา แขมมณี, 2551 หนา้ 386)
จากความหมาย และนิยามดังกล่าวข้างต้น จึงสรุปได้ว่าวิธีการสอน เป็นข้ันตอนการสอนท่ีทา
ให้ผเู้ รยี นบรรลวุ ัตถุประสงค์
เทคนคิ การสอน เป็นวธิ ีการเสรมิ ที่จะชว่ ยใหว้ ธิ กี ารสอนเกดิ ประสิทธิภาพมากขึน้
กลยุทธ์การสอน เป็นวิธีการสอนที่ใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ ในการสอน มาช่วยในการจัดการ
เรียนรู้ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ
วธิ ีการสอนที่มีประสิทธิภาพ จะต้องเป็นการสอนท่ีมีข้ันตอน ที่ทาให้ผู้เรียนบรรลุวตั ถุประสงค์
และใชว้ ธิ กี ารสง่ เสรมิ การสอนให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด มีเทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลาย
กำรออกแบบกิจกรรมกำรเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning)
การออกแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ต้องพิจารณาว่ากิจกรรมที่ออกแบบเป็น
กจิ กรรมลักษณะใด อาจะเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของแตล่ ะวิชาหรือกลุ่มสาระ
การเรียนรกู้ จิ กรรมพัฒนาผู้เรียน หรือกจิ กรรมเสริมทักษะอน่ื ๆ โดยผู้ออกแบบพจิ ารณาแนวคิดทฤษฎีท่ี
เก่ียวข้อง อันประกอบด้วย แนวคิดของ บลูม (Bloom’s Taxonomy) สี่เสาหลักทางการศึกษา (Four
Pillars of Education) หลักการพัฒนาทักษะ 4 H (Head Heart Hand และ Health) และพระบรม-
ราโชบายดา้ นการศึกษา ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัววชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู โดยมีกระบวนการ
ดังนี้
1. กำรกำหนดหัวข้อเรื่อง (Theme) หัวข้อเร่ือง (Theme) เป็นข้อความที่เป็นประเด็นของ
เร่ือง ที่ผู้เรียนจะทาการศึกษา โดยเป็นมโนทัศน์กว้าง ๆ ที่เอ้ือต่อการใช้ความรู้และมุมมองหลายวิชา
รวมกัน ส่ือความหมายเป็นแนวคิดหรือความคิดรวบยอด (Concept) แก่ผู้เรียน ควรเป็นหัวข้อเร่ืองท่ี
ทนั สมัย น่าสนใจ และมีความหมายสาหรับผู้เรียน ทาให้เกิดความกระหาย อยากจะเรยี นรู้ และพร้อมที่
จะสืบสวน (Inquiry) แสวงหาคาตอบด้วยตนเอง ซึ่งผู้ออกแบบกจิ กรรมควรพจิ ารณาในประเด็น ตอ่ ไปนี้
1) หัวข้อเร่ือง มีความยากง่าย เหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถของผู้เรียนไม่
ยงุ่ ยากหรอื ซับซ้อนจนเกนิ ไป และทีส่ าคญั ตอ้ งมคี วามเปน็ ไปได้
2) หัวขอ้ เรื่อง มแี หล่งความรู้ทจี่ ะศึกษาคน้ คว้า
3) หัวขอ้ เรื่อง สอดคล้องกับความถนดั ความสนใจ และความพรอ้ มของผูเ้ รยี น
2. กำรออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้
กระบวนการคดิ เกี่ยวกับสง่ิ ทเ่ี ขาไดก้ ระทาลงไป (Bonwell, 1991) โดยผู้เรียนจะเปลย่ี นบทบาทจากผูร้ ับ
ความรู้ (receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (Co-Creators) ความรู้ท่เี กิดข้ึนเป็นความรทู้ ่ีได้
จากประสบการณ์ ดังนั้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนต้องมีโอกาสลงมือกระทา
มากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการอ่าน การเขียน การอภิปราย
กับเพื่อน การวิเคราะห์ปัญหา และใช้กระบวนการคิดข้ันสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
ประเมินค่า และการสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการ
ร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทาให้ผู้เรียนสามารถรกั ษา
ผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้นาน กระบวนการเรียนรู้เชิงรุก จะสอดคล้องกับการท างานของสมองและ
ความจา โดยผู้เรียนสามารถเก็บข้อมูล และจาส่ิงท่ีเรียนรู้โดยมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน ผู้สอน
สิ่งแวดล้อม ผ่านการปฏิบัติจริง สามารถเก็บความจาในระบบความจาระยะยาว (Long Term
Memory) การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ชิงรุก อาจแยกการออกแบบกจิ กรรมได้ 2 ลกั ษณะ คอื
1) การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้เู ชงิ รกุ ในหน่วยการเรียนรหู้ รือแผนการจดั การเรยี นรู้
2) การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูเ้ ชิงรุก ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นหรอื กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะ
3. กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนร้เู ชงิ รกุ (Active Learning)
กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกระบวนการปฏิบัติต่าง ๆ ของผู้เรียนท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ได้แก่ วิธีการ/กิจกรรมทคี่ รหู รือผ้เู กยี่ วขอ้ ง นามาใช้เพื่อให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ ตามเปา้ หมาย
วตั ถปุ ระสงค์ สอดคล้องเช่อื มโยงกบั มาตรฐานตวั ชีว้ ดั ที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษา โดยมี
องคป์ ระกอบที่สาคญั ของการจัดการเรียนรู้ คือกระบวนการ วธิ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสม ซึ่ง
จะมีผลตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งแท้จริง โดยกิจกรรมการเรียนรู้ มีผลต่อผเู้ รียน ในการกระตุ้นความ
สนใจ สนุกสนาน ตื่นตัวในการเรียน มีการเคล่ือนไหว เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการ
เรียนรู้ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย การใช้ทักษะชีวิต ฝึกความรับผิดชอบ การท างานร่วมกัน
ช่วยเหลือเกื้อกูลตามศักยภาพ และคุณลักษณะท่ีดีนอกจากนี้ กิจกรรมการเรียนรู้ยังต้องส่งเสริมทักษะ
กระบวนการต่าง ๆ เช่น การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสาร การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม การบริหาร
จัดการ ฝึกการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน กับครู และบุคคลที่เกี่ยวข้องอ่ืน ๆ สร้างความเข้าใจบทเรียนและส่งเสริม
พัฒนาการผ้เู รยี นในทกุ ๆ ดา้ น
หลักกำรจดั ประสบกำรณห์ รอื กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
1) เลือกกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องเช่ือมโยงกับ
มาตรฐานหรือตัวช้ีวัด หากเป็นทักษะ ควรเป็นทักษะท่ีปฏิบัติแล้วผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์
2) เลือกกิจกรรมที่ผู้เรียนพึงพอใจ สนุก น่าสนใจ ไม่ซ้าซาก มีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน และทาใหผ้ เู้ รยี นมีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี น
3) เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสามารถ ด้านร่างกายของผู้เรียนท่ีจะปฏิบัติได้และควร
คานงึ ถึงประสบการณ์เดิม เพือ่ จัดกิจกรรมใหม่ได้อย่างตอ่ เน่ือง
4) เลอื กกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ จดุ มุ่งหมายในการจดั การเรยี นรหู้ ลาย ๆ ดา้ น
5) เลือกกิจกรรมให้หลากหลาย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เหมาะสมกับวัย
ความสามารถและความสนใจของผเู้ รยี น ใหผ้ ู้เรยี นได้ใชป้ ระสาทสมั ผสั ในการเรียนรู้มากที่สุด
6) ใชส้ ื่อ/แหล่งเรยี นรทู้ ี่หลากหลายและเหมาะสม
7) ใช้เทคนิควธิ กี ารเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ส่งเสรมิ กระบวนการคดิ และทักษะตา่ ง ๆ
8) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมและการประเมินผล มีการวัดและประเมินผลที่
หลากหลายและสอดคล้องกบั กิจกรรม
4. กำรวัดและประเมินผลกำรจดั กำรเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning)
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการตรวจสอบผลการดาเนิน
กิจกรรมว่าบรรลุตามเป้าหมาย ที่กาหนดไว้หรือไม่ มีส่วนใดต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาต่อไป โดย
ประเมินทั้งกระบวนการในการจัดกิจกรรม และประเมินคุณภาพของผู้เรียน ใช้การประเมินหลากหลาย
วิธี ให้ทุกฝ่ายได้มีโอกาสในการประเมิน เช่น ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินเพื่อน ผู้เรียนประเมิน
ตนเอง วิธีการในการประเมินควรถูกต้องเหมาะสมกับความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียนท่ี
กาหนดไว้ในเป้าหมายของการจัดกิจกรรมนั้น ๆ การประเมินผลการเรียนรู้เชิงรุก ควรใช้หลักการ
ประเมินตามสภาพจริงและนาผลการ ประเมินมาพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยมีลกั ษณะ ดังน้ี
1) ใชผ้ ปู้ ระเมนิ จาก หลายฝ่าย เช่น ผเู้ รยี น เพ่ือนผ้สู อน ผเู้ ก่ยี วข้อง
2) ใชว้ ธิ ีการหลากหลายวิธี/ชนดิ เช่น การสงั เกต การปฏบิ ัติ การทดสอบ การรายงานตนเอง
3) ประเมินหลายๆ คร้ังในแต่ละช่วงเวลาของการเรียนรู้ เช่น ก่อนเรียน ระหว่างเรียน สิ้นสุด
การเรยี น ตดิ ตามผล
4) สะท้อนผลการประเมินแก่ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้อง เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนการ
ประเมนิ ผลกจิ กรรมการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning)
3. งำนวิจัยที่เก่ยี วข้อง
งำนวิจยั ในประเทศ
1. จันทรา แซ่ล่ิว ได้ทาการวิจัยเพ่ือศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active learning
ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ในรายวิชาการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับเด็กปฐมวัย ในประเด็น 1) ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน ในรายวิชาการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับเด็กปฐมวัย 2) ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active learning โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่าง
แบบเจาะจง เป็นนักศึกษาช้ันปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับเด็ก
ปฐมวัย ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 60 คน สังกัดภาควิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบทดสอบผลสัมฤทฺธ์ิทางการ
เรียนรายวิชาการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับเด็กปฐมวัยที่จัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning)
2) แบบประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ
การจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก ( Active Learning) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และคา่ ร้อยละ ผลวิจัย
พบว่า1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับเด็กปฐมวัย
นักศึกษาส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดับ A จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 28.33 ในระดับ
B+ จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ในระดับ B จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67 ในระดับ C+
จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 และอยู่ในระดับ C จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.67 2) การ
ประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 หลังการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active Learning ทักษะที่
มคี ่าเฉลย่ี มากท่ีสุด คอื ทกั ษะการเห็นอกเห็นใจ และการเป็นพลเมืองดี (Compassion) มคี ่าเฉล่ีย 4.67
ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 92.00 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative Skills) มีค่าเฉลี่ย 4.09 ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 81.80 และ
ทักษะที่มคี า่ เฉลย่ี กอ่ นและหลังการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning มีค่าเฉลีย่ ท่ตี า่ งกันมากทส่ี ุด คือ
ทักษะด้าน ส่ือ เทคโนโลยีและสารสนเทศ (ICT Literacy skills) มีค่าเฉล่ียท่ีแตกต่างกัน คือ 0.73 3)
ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) รูปแบบที่นักศึกษามี
ความพึงพอใจมากที่สุด คือ รูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) มีค่าเฉล่ีย
4.58 ในระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 91.60 และการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก Active learning ที่
นักศึกษามีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ รูปแบบการเรียนรู้โดยการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) มี
คา่ เฉลีย่ 4.41 ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 88.20 และประเด็นที่นักศึกษาแสดงข้อคิดเห็นมากที่สุด คือ
นักศึกษาได้จัดทาโครงการบริการวิชาการในสถานศึกษาและชุมชน การจัดประสบการณ์ในสถานศึกษา
เป็นการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีดี เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงส่งเสริมความกล้าแสดงออกและได้
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างแท้จริงมีค่าความถี่ 49 คน ร้อยละ 81.67 การเรียนรู้นอกห้องเรียนใน
สถานศึกษา และชุมชนเป็นการสร้างประสบการณ์ท่ีมีคุณค่าต่อการเรียนรู้และการนาไปใช้ในวชิ าชีพครู
ได้จริง มีค่าความถ่ี 48 คน ร้อยละ 80.00 และการจัดทาโครงการบริการวิชาการในสถานศึกษาและ
ชุมชน เป็นกิจกรรมที่ดี ฝึกกระบวนการทางานท่ีเป็นระบบ เป็นข้ันตอน มีการวางแผน การทางานเป็น
ทมี ท่ีเขม้ แข็งและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า มีคา่ ความถ่ี 42 คน ร้อยละ 70.00
2. สิทธิพงษ์ สพุ รม ได้ศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้เชิงรกุ ในศตวรรษที่
21 สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียนรู้เชิงรุก 2) เพ่ือพัฒนารูปแบบการ
เรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้เชิงรุก3) เพ่ือทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ท่ีส่งเสริม
ความสามารถการเรียนรู้เชิงรุกและ 4) เพ่ือประเมินรูปแบบการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการ
เรียนรู้เชิงรุกตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นสตรสี ริ ิเกศอาเภอเมือง จังหวดั ศรสี ะเกษ
จานวน 70 คน ได้มาจากวิธกี ารสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เป็นกลมุ่ ทดลอง จานวน 35 คน เรียนดว้ ยรูปแบบ
การเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น และกลุ่มควบคุม จานวน 35 คน ที่เรียนด้วยรูปแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจยั ไดแ้ ก่ 1) แบบวดั ความสามารถในการเรียนรู้เชงิ รกุ 2) แบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ3) แบบ
วัดความพึงพอใจ สถิติท่ีใช้ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการ
วิเคราะหค์ วามแปรปรวนร่วมผลการวจิ ัยพบว่า 1. นักเรยี นส่วนใหญ่ มีความสามารถในการเรียนร้เู ชิงรุก
อยู่ในระดับพอใช้ 2. รูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาข้ึนมีประสทิ ธิภาพของกระบวนการเรียนรู้กับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน 83.27/81.73 เปอร์เซ็นต์ 3. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้นมี
ความสามารถในการเรียนรู้เชิงรุก และมีคะแนนเฉลยี่ ของผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียน
ด้วยรูปแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการ
เรียนรู้ทีพ่ ัฒนาข้ึนอยู่ในระดบั มาก
3. สาวติ รี โรจนะสมติ อาร์โนลด์ ศกึ ษาเรือ่ งการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนเชิงรุก (active
learning) เพ่ือพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้และแนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การวิจัยน้ีผู้วิจัยตาเนินการวิจัยภายใต้คาถามวิจัยคือ การจัดการเรียนรู้
ด้วยวิธีการเรียนช่วยพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา
ระดับช้ันปีท่ี 2 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครได้หรือไม่
อยา่ งไร ผู้วจิ ยั ตาเนนิ การด้วยรูปแบบการวจิ ยั ถึงทดลอง วตั ผลก่อนระหวา่ งและหลังเรียน โดยมกี ลมุ่ ท่ี
ศึกษา คือนักศึกษาช้ันปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จานวน 26 คน ในรายวิชาการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตรครุศาสตร์
บณั ฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป (หลักสูตร 5 ป)ี มหาวิทยาลยั ราชภัฎพระนคร ในปีการศึกษา 2553
เคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยได้แก่ แบบสารวจสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ใน
ระดับอุดมศึกษา แบบสารวจแนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของ
นักศึกษา แบบบันทีกอนุทินออนไลน์ เว็บไชต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ และแบบสารวจความฟังพอใจ
ของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนเชิงรุก ซึ่งผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการ
จัดการเรียนรู้ในระดับอุตมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในมุมมองของนักศึกษากลุ่มท่ีศึกษา
ทุกหมวดวิชาผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย/ปฏิบัติเป็นส่วนใหญ่ ในบางหมวดวิชาผู้สอนสืบค้น
ความรู้เดมิ ของผูเ้ รียนกอ่ นเรียน เช่น หมวดวชิ าเฉพาะต้าน (วิทยาศาสตร์) และหมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ใน
ทุกหมวดวิชา ผู้สอนได้กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยส่วนใหญ่เน้นทักษะการฟัง
และทักษะการพูด มากกว่าทกั ษะดา้ นอ่ืนๆ และทุกหมวดวชิ ามกี ารให้ผเู้ รียนไตร่ตรองหรือให้ผู้เรียนหรือ
สรุปความรู้ หลังเรียนด้วยวิธีการเรียนเชงิ รกุ พบการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยนักศึกษาส่วนใหญ่
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปในรูปแบบมีส่วนร่วมมากข้ึน และนักศึกษามีการเปล่ียนแปลงแนวคิดจาก
แนวคิดต้ังเดิม/ส่งผ่านความรู้ ไปสู่แนวคิดก้าวหน้า สร้างความรู้ และผลจากการสารวจความพึงพอใจ
พบว่าความพึงพอใจของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการ
เรยี นเชงิ รุกในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากถงึ มากท่ีสุด
4. กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย ผลสมั ฤทธิ์การอา่ นวเิ คราะห์
ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
กระบวนการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ
(Active Learning) โดยใช้กิจกรรม
เ ป็ น ฐ า น ( Activity-Based
Learning)
บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ กำร
การศึกษาครัง้ นี้เปน็ การวิจัยผลจากการจดั เรยี นการสอนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์
โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
ขอบเขตของกำรศกึ ษำ
1. ประชำกร เป็นนักเรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทเ่ี รียนวชิ า ภาษาไทย 3 ปีการศึกษา
2564 จานวน 225 คน
2. กลุม่ ตัวอยำ่ ง เป็น นักเรยี นที่เรยี นวชิ า ภาษาไทย 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จานวน 31 คน
ขอบเขตดำ้ นเน้ือหำ
ผลจากการจัดการเรยี นการสอน กระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทีม่ ผี ล
ตอ่ ผลสัมฤทธกิ์ ารอา่ นวเิ คราะห์ วชิ าภาษาไทย 3
เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นกำรวจิ ยั
เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้การจัดเรียนการสอนการพัฒนา
ผลสัมฤทธก์ิ ารอ่านวิเคราะห์ โดยใชก้ ระบวนการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู ได้แก่
1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิก์ ารอา่ นวิเคราะห์ นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี
2. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อการจัดการ
เรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning)
ข้ันตอนกำรสร้ำงเคร่อื งมือ
ผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การสร้างเครือ่ งมอื เป็นแผนการจัดการเรียนรู้เพือ่ ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยมขี ัน้ ตอน ดังน้ี
1. ศกึ ษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี งานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้องกบั การจัดการเรียนการสอนกระบวนการ
จัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning)
2.นาเคร่ืองมอื ให้ผ้เู ชี่ยวชาญ เพือ่ นครู หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ เพื่อขอข้อเสนอแนะในการปรบั
เครื่องมอื ให้มีความสมบรู ณ์ และขอความเห็นชอบกอ่ นนาไปใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3. นาไปใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู กบั นักเรียน
กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
เก็บรวบรวมขอ้ มลู นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
หรือ
กำรสรำ้ งและกำรหำคณุ ภำพของเคร่ืองมือทีใ่ ช้กำรวิจัย
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ คือ วิธีการ แผนการจัดการเรียนการสอนจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ซึ่งมขี ้นั ตอนในการสร้างและการหาคุณภาพ ดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning)
2. กาหนดขน้ั ตอน
3. ในการตรวจสอบคุณภาพของข้ันตอนการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) น้ัน ผู้วิจัยได้นาขั้นตอนไปให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของขั้นตอน
การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กับจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีต้องการให้เกิดกับ
นักเรียน จากนั้นผู้วิจัยจึงนาขั้นตอนการสอนมาปรับปรุงแก้ไขแล้วนาไปทาการทดลองใช้กับนักเรียน
กล่มุ เป้าหมาย
กำรสรำ้ งและกำรหำคุณภำพของเครอื่ งมือท่ีใช้เก็บข้อมลู
การสร้างการการหาคุณภาพของเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัยในคร้ังนี้ คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์ ซ่ึงมีข้ันตอนในการสร้างและการหา
คณุ ภาพดงั ตอ่ ไปนี้
1. ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ งกับการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. สร้างข้อสอบย่อยระหว่างเรียนแต่ละหัวข้อ ซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัย จานวน 40 ข้อ และ
สร้างข้อสอบปรนัยแบบเลอื กตอบ จานวน 20 ขอ้ สาหรับวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรียน
3. ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ ผู้วิจัยได้นาข้อสอบไปให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3
คน ประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีต้องการให้เกิดกับนักเรียน จากน้ัน
ผ้วู จิ ยั จึงนาขอ้ สอบมาปรบั ปรุงแกไ้ ขแล้วนาไปทาการทดลองใช้กับนักเรยี นกลุ่มเป้าหมาย
กำรออกแบบกำรทดลอง
แบบแผนกำรทดลอง
ในการวิจยั ครง้ั น้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวจิ ัย แบบกลุ่มเดียววดั ผลเฉพาะหลงั การทดลอง (One
group posttest only design)
กลุม่ สอบกอ่ นทดลอง ทดลอง สอบหลังทดลอง
กลมุ่ ทดลอง X T2
ความหมายของสญั ลกั ษณ์
X หมายถึง วิธีการสอน/แบบฝกึ
T2 หมายถึง การทดสอบหลงั การทดลอง (post-test)
นาคะแนนหลังการทดลอง/หลังเรยี น เทยี บกับเกณฑ์ การผ่าน 15 คะแนน
การวิเคราะห์ข้อมูล
นาผลมาจดั ดาเนินการดังน้ี
1) เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิก์ ารอ่านวเิ คราะห์ หาค่าเฉลีย่ (X) และสว่ นเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (SD.) และทดสอบความแตกต่างโดยใชส้ ถติ ิ t-test (dependent)
2) วเิ คราะห์แบบสอบถามคิดเห็นเรือ่ งการอ่านวเิ คราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
1 ดว้ ยกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ใชก้ ารแปลคา่ แบบสอบถามความคดิ เห็น 5
ระดับวิเคราะหข์ ้อมลู โดยค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทียบกบั เกณฑ์การแปลผล
ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545)
คะแนนเฉลีย่ 4.00 - 5.49 หมายถึงเหมาะสมทส่ี ุด
คะแนนเฉล่ยี 3.50 - 4.49 หมายถงึ เหมาะสมมาก
คะแนนเฉลยี่ 2.50 -1.49 หมายถงึ เหมาะสมปานกลาง
คะแนนเฉลีย่ 1.50 - 2.49 หมายถึงเหมาะสมน้อย
คะแนนเฉล่ยี 1.00 - 1.49 หมายถงึ เหมาะสมน้อยที่สุด
สถิติท่ีใชใ้ นกำรวิเครำะห์ข้อมูล (ใหร้ ะบุสถติ ิท่ีใชใ้ นการคานวณคา่ ต่าง ๆ พร้อมสูตร
และอ้างองิ แหลง่ ทา่ เช่น) การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ กล่มุ เดยี ว โดยใชส้ ูตร t-test
(dependent) โดยใชส้ ูตร t= DND2-(D)2
บทท่ี 4
ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
การรายงานการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ในครั้งนี้ ผู้รายงานได้เสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
ตามลาดบั ขั้น ดังน้ี
1. สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
2. ลาดบั ขัน้ ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู
3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. สญั ลักษณท์ ่ีใช้ในกำรนำเสนอผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู
ผู้รายงานได้กาหนดสัญลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการแปลความหมายผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ดงั น้ี
X แทน คะแนนเฉล่ยี ของกลุ่มเปา้ หมาย
N แทน จานวนนกั เรยี นกลมุ่ เป้าหมาย
x แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด
S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
t แทน การทดสอบคา่ สถิติ
2. ขัน้ ตอนในกำรเสนอผลกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยได้ดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลาดบั ข้ันตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์ เรื่อง
นทิ านพื้นบ้าน ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80
ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผลของวิธีการกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) เรอ่ื ง นิทานพื้นบา้ น ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธก์ิ ารอ่านวิเคราะห์
3. ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล แบ่งเป็น 2 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 ศึกษาการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก
(Active Learning)
ตอนท่ี 2 การเปรยี บเทยี บคะแนนการอ่านวิเคราะห์ ก่อนและหลังการทดลองสอน
ตำรำง เปรยี บเทยี บคะแนนการอ่านวิเคราะห์ ก่อนเรยี นและหลงั เรยี น โดยใช้ กระบวนการจดั การ
เรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning) เรอ่ื ง นทิ านพ้นื บ้าน
จานวน (N) คา่ เฉล่ีย (X) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน S.D. t p
กอ่ นเรยี น 36 13.12 2.19 -23.782 .000
หลงั เรยี น 36 24.96 1.80
* มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ี .05
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนการอา่ นวเิ คราะห์ คะแนนความแตกตา่ งของผลสัมฤทธิ์การอ่าน
วเิ คราะห์ วิชาภาษาไทย 3 เร่ือง นิทานพ้ืนบ้าน กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญ
ทางสถติ ิท่ี .05 ซึ่งแสดงวา่ กระบวนการจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) มีประสิทธิภาพ
สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอา่ นวิเคราะห์ของนกั เรยี นให้สงู ขึ้น
ตำรำง คา่ รอ้ ยละของความพึงพอใจของเรยี นผเู้ รียนท่ีมตี ่อกระบวนการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก
(Active Learning)
รำยกำร ลำดับควำมคดิ เห็น
มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย
ที่สุด กลาง ท่สี ุด
54321
ด้ำนเนือ้ หำและกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้
1. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลาดับไม่
สับสน
2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สามารถช่วย
ใหน้ ักเรยี นทาความเข้าใจเนอื้ หาที่อ่านได้
3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทาให้
นักเรยี นอา่ นวิเคราะหไ์ ด้ดีขึ้น
4. เนอ้ื หาทใ่ี ช้และการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้
ก ระบ วน ก ารจั ด ก ารเรีย น รู้เชิ งรุก (Active
Learning) ช่วยกระตุ้นนกั เรียนสนใจและต้ังใจอ่าน
มากข้ึน
รำยกำร ลำดับควำมคิดเห็น นอ้ ย
มาก มาก ปาน นอ้ ย ท่ีสุด
ท่ีสุด 1
5 กลาง
432
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทาให้
นักเรียนเกิดความมั่นใจในการอ่านวิเคราะห์คร้ัง
ตอ่ ไป
ดำ้ นบรรยำกำศกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
6. บรรยากาศในห้องเรียนขณะท่ีเรียน นักเรียน
สนุกสนานในการปฏิบัตกิ จิ กรรมทุกขน้ั ตอน
7. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการ
เรียนและไดเ้ รียนรอู้ ยา่ งอิสระ
8. ครูส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น
เก่ียวกับการเรียน และคอยช่วยเหลือแนะนา
นกั เรยี นในการปฏิบตั ิกิจกรรมอยา่ งท่ัวถึง
ดำ้ นประโยชน์ท่ีไดร้ ับจำกกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ช่วยให้
นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งที่อา่ นมากขึน้
10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ช่วย
พัฒนาความสามารถการอ่านวิเคราะหข์ องนักเรียน
ได้ดขี ้ึน
ตาราง สรปุ ผลการศึกษาความคิดเหน็ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทมี่ ีต่อการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้
การจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning)
รำยกำร x S.D. ระดับควำม ลำดบั ท่ี
คิดเห็น
ด้านเนอ้ื หาและการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 2.84
ด้านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.78 0.08 มาก (1)
ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการ 2.75 0.11 มาก (2)
เรียนรู้ 0.01 มาก (3)
รวมทกุ ด้าน 2.80
0.09 มาก
สรุปผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการอ่านวิเคราะห์ โดย
ใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ค่าเฉลี่ย (มี)
เท่ากับ 2.80 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.09 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ลาดับท่ี
1 ด้านเน้ือหาและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มีความเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉล่ีย ( x ) เท่ากับ
2.84 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.08 ลาดับท่ี 2 ด้านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้มีความเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ท่ีค่าเฉลี่ย ( x ) เท่ากับ 2.78 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.) เท่ากับ 0.11 และลาดับท่ี 3 ด้านประโยชน์ที่ได้รับมีความเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ท่ีค่าเฉล่ีย
( x ) เท่ากับ 2.75 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ 0.01 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับ
สมมตฐิ านการวจิ ยั ขอ้ ท่ี 2
จากข้อเสนอแนะเพิ่มเติมภายหลังการจัดการเรียนการสอน พบว่านักเรียนได้เสนอความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้จากการสอนอ่านวิเคราะห์โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) คือ นักเรียนอยากให้มีการจัดการเรียนการสอนอ่านวิเคราะห์โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) อีก
บทท่ี 5
สรุป อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
สรุป
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในช้ันเรียน (classroom action research) มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทักษะการอ่านวิเคราะห์ ในการเรียนรายวิชาภาษาไทย 3 โดยใช้วิธี กระบวนการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 225 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แผนการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) รูปแบบการทดลองที่ใช้ คือ แบบกลุ่มเดียววัดผลเฉพาะหลังการทดลอง
(One group posttest only design) โดยการนาคะแนนหลังการทดลองไปเทียบกับเกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 100 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการ
ทดลองสอบที
สรุปผลกำรวจิ ัย
การดาเนินการทดลองเพ่ือพัฒนา ผลสมั ฤทธทิ์ ักษะการอา่ นวิเคราะห์ จากผลการทดลองสรุปได้
ดังนี้
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะการอ่านวิเคราะห์ ของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธี จัดการ
เรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) พบว่านกั เรียนมีคะแนน การอ่านวิเคราะห์ หลงั เรียนสูงกว่าเกณฑร์ ้อย
ละ 100 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 จานวน 36 คน ไม่ผ่านเกณฑ์ ............-.......... คน คิด
เป็นร้อยละ -
อภิปรำยผลกำรวจิ ัย
จากผลการวิจยั สามารถอภปิ รายผลไดด้ ังน้ี
ผลการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์การอ่านวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) พบว่านักเรียนท่ีเรียนใช้วิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มี
คะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 100 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 และนักเรียนที่
เน่ืองจากวิธกี ารจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทาให้นกั เรียนได้เรียนรู้มากขึ้น ทาให้นักเรียน
สามารถอ่านวิเคราะห์ได้ และทาให้เกิดความมั่นใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา สาหรับครูผู้สอน ทา
ให้ครูค้นพบวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับท่ี พรทิพย์ วงศ์ไพบูลย์
(2560: 92) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนที่ให้ความ สาคัญกับผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้
ด้วยตนเอง เรียนในเร่ืองที่สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของตนเองและได้พัฒนา
ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มท่ี ซึ่งแนวคิดการ จัดการศึกษาน้ีเป็นแนวคิดที่มีรากฐานจากปรัชญา
การศึกษาและทฤษฎีการเรียนรู้ ต่างๆ ท่ีได้พัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน และเป็นแนวทางท่ีได้รับ
การพิสูจน์ว่า สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตาม ต้องการอย่างได้ผล” ดังนั้น วิธีการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จึงทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในขณะเดียวกันผู้สอนก็สามารถนาผล
การสอบมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน นอกจากนี้ วิธีการ
จัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ยงั กอ่ ให้เกิดความคงทนในการเรียนรูด้ งั ที่
สิทธิพงษ์ สุพรม (2561: 75) ได้กล่าวไว้ว่า รูปแบบการเรยี นรู้ท่ีส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้เชิง
รุก สาหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีพัฒนาขึ้นน้ีสามารถนาไปใช้พัฒนาความสามารถใน
การเรียนร้เู ชิงรุกของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เนื่องจากเป็นรูปแบบการเรียนรู้ท่ี
ได้รับการพัฒนาข้ึนอย่างมีลาดับขั้นตอนซ่ึงในแต่ละขั้นตอนไม่ได้แยกจากกันโดยเด็ดขาดแต่มีความ
เก่ียวข้องเชื่อมโยงกัน เริ่มต้นจากการสังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้โดยทักษะการอ่าน
วเิ คราะห์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จะเกิดข้ึนได้จากการได้รับการฝึกฝนอยู่เสมอ มี
การทดสอบและฝึกปฏิบัติ ก็จะทาให้เกิดเป็นความเคยชิน สามารถมีวิธีปฏิบัติอย่างชานาญและรวดเร็ว
แสดงให้เห็นว่า วิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จะทาให้ผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์
สงู ขึน้ พฒั นาขึน้ การสอนมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น
ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในกำรนำผลกำรวิจัยไปใช้
จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิการอ่านวิเคราะห์ สูงข้ึน เมื่อใช้ การจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) ดังน้ันในรายวิชาอ่ืน ๆ อาจจะมีการนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนเพอื่ พัฒนาทักษะความสามารถของนักเรยี น
ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป
1. ควรศึกษาวิจัยเชิงเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กับวิธีการสอน
แบบอนื่ ๆ เพอ่ื หาวิธกี ารสอนที่มปี ระสิทธภิ าพและมีความเหมาะสมกบั นักเรียนต่อไป
2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการนา การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ไปใช้ใน
ระดบั ช้ันอ่ืน ๆ หรอื ทักษะ/พฤตกิ รรม/วชิ าอืน่ ๆ ทม่ี ลี ักษณะเดียวกนั
บรรณำนกุ รม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งท่ี 2
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
ศนู ยพ์ ัฒนาการนเิ ทศและเรง่ รัดคุณภาพการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน. (2559). แนวทางการนิเทศการจดั
กิจกรรม
กระทรวงศึกษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร,2551.
คณะอาจารย์ กลุ่มวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั ธนบุรี.
เอกสารประกอบการสอนวชิ า 1500101 ภาษาไทยเพื่อการส่อื สารและสืบค้น,2547.
ชนาธปิ พรกลุ . การออกแบการสอน การบูรณาการ การอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และการเขียน.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2555.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พ์ บริษัท ศริ วิ ัฒนา อินเตอรพ์ ร้ินท์ จากดั (มหาชน), 2554.
สถาบันภาษาไทย สานักงานวิชาการมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พน้ื ฐาน. การพฒั นาทักษะการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนส่อื ความ. กรงุ เทพมหานคร : โรง
พมิ พส์ านักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, 2557.
สจุ รติ เพยี รชอบและสายใจ อินทรัมพรรย.์ วิธีสอนภาษาไทยระดบั มธั ยมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2538.
สรอ้ ยสน สกลรักษ์และคณะ. โมดลู การพัฒนาครโู ดยใช้กระบวนการสรา้ งระบบการชแี้ นะและการ
เป็นพเ่ี ลี้ยง (Coaching และ Mentoring) เรือ่ งการรหู นังสือ (Literacy),2556.
สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 –2579.กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พ์บรษิ ัท พริกหวานกราฟฟิค จากัด, 2560.
อัจฉรา ชวี ะพันธ.์ เรื่องน่ารู้สาหรับครูภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, 2547.
Bonwell, C.C. (2003). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom (Online)
Availble www.active-learning-site.com
Bonwell, Charles C., and James A. Eison (1991). Active learning: Creating excitement in
the classroom. ERIC Digest. [Online] Available