The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warayut, 2024-02-06 06:22:47

5-FU Leucovorin

5-FU Leucovorin

โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ โทร: 056-219888 ต่อ 21305-6 ( หน่วยงานเคมีบาบัด ) ในวันและเวลาราชการ:8.00–16.00น. การปฏิบัติบั ติตัว สำ หรับรัผู้ป่ผู้วป่ยที่ได้รัยรัา เคมีบมีาบัดบัสตูรตู:ไฟท์เอฟยู/ ลิวโคโวรินริ อาการผิดปกติที่ต้องรีบรีมาพบแพทย์ 5-FU/Leucovorin มีปัญหาเกี่ยวกับการรักษาปรึกษาเรา มีผื่น บวม แดง คัน บริเวณผิวหนัง มีจ้ำ เลือดตามตัว/ มีเลือดออกผิดปกติ อาเจียน/ ท้องเสียอย่างรุนแรง มีไข้ *** หากมีอาการผิดปกติให้ ไปพบแพทย์ โรงพยาบาลใกล้บ้านได้ และให้โทรมาแจ้ง ที่หน่วยเคมีบำ บัดโรงพยาบาลสวรรค์ ประชารักษ์ ว่ารักษาตัวอยู่และแจ้งถึง อาการผิดปกติทิ่เกิดขึ้น “อาการข้างเคียงทั้งหมดที่กล่าวมานั้น เกิด ขึ้นในผู้ป่วยบางรายและ เกิดมากน้อยแตก ต่างกันไป ผู้ป่วยอาจไม่มี อาการข้างเคียง ดังกล่าว เลยก็ได้ การให้ยาเคมีบาบัดไม่น่า กลัวอย่างที่คิด และสามารถ ป้องกันหรือ บรรเทาอาการข้างเคียงต่างๆ ได้” ตัวอย่าย่งรายการอาหารสําสํหรับรัผู้ป่ผู้วป่ยที่ได้รับรัยาเคมีบํมีาบํบัดบั (อาหารธรรมดา) พลังงาน 1,800 - 2,000 กิโลแคลอรี่ต่รี่ต่อวันวั


เคมีบำมีบำบัดบัคืออะไร เคมีบําบัด คือ การรักษาด้วยการใช้ยาเคมี เพื่อควบคมุ หรือทาลายเซลล์มะเร็งไม่ให้มี การกระจายหรือลุกลามมากขึ้น การบริหาร ยาเคมีบาบดั สามารถทาได้หลายวิธี เช่นใน รูปแบบ ของ ยาฉีด ยารับประทาน เป็นต้น กดการท างานของไขกระดูก/ ภูมิต้านทานต่ า อ่อนเพลีย/ ครั่นเนื้อครั่นตัว คลื่นไส้/ อาเจียน/ เบื่ออาหาร ผมร่วง/ บางลง ผื่นแดง/ ผื่นคัน/ ผิวหนังคล้ าขึ้น เยื่อบุปากอักเสบ เกิดแผลร้อนในในปาก ท้องเสีย อาการข้างเคียงที่อาจเกดิขึ้นจากการได้ ร้บยาเคมีบำ บัด พักผ่อนให้เพียงพอ 6-8 ชั่วโมงต่อวัน, รับประทาน อาหารให้ครบ 5 หมู่, ดื่มน้ำ มากๆ 2-3 ลิตร หรือ 8- 12 แก้วต่อวัน งด!!! รับประทํานของหมักดอง อาหารสุกๆ ดิบๆ ยาต้มยาหม้อ ยาจีน และสมุนไพรทุกชนิด สังเกตผิวหนังบริเวณที่ฉีดยา ถ้ารู้สึกปวด บวม แดง หรือสงสัยว่ามียารั่วซึมออกนอกหลอดเลือด ต้องแจ้งแพทย์หรือพยาบาลทันที ผู้ป่วยทุกรายท้ังชายและหญิงควรคุมกําเนิดและ ป้องกัน ไม่ให้มีการต้ังครรภ์ในระหว่างรับการรักษา ด้วยยาเคมีบําบัด เพราะยาเคมีบําบัดอาจส่งผลทําให้ ทารกมีความ ผิดปกติหรือพิการได้ หากสงสัยตั้ง ครรภ์ให้แจ้งแพทย์ทันที การดแูลตนเองทั่วไปในช่วงที่ได้รับยา เคมีบำ บัด การปฏิบัตตัวเมื่อเกิดอาการข้างเคียง ต่างๆ 1. ภูมิต้านทานต่ํา จากการที่เม็ดเลือดขาวลดลง ทําให้ เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ภูมิต้านทานจะต่ําที่สุดหลังจาก ได้รับ ยําเคมีบําบัดไปแล้ว 10 - 14 วัน # ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย ปากและฟันฟั # ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากเข้าห้องน้ำ ทุกครั้ง # หลีกเลี่ยงการพบปะบุคคลที่เป็นไขหวัด หัด อีสุกอีใส วัณโรค รวมทั้งโรคติดเชื้ออื่นๆ # หลีกเลี่ยงการไปในชุมชนที่แออัด หากจำ เป็นต้อง ไป ให้ใส่หน้ากากอนามัยด้วยทุกคร้ัง # รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่ นม เนื้อสัตว์ ไข่ที่ปรุงสุกและสะอาด *** สังเกตุการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูง เจ็บคอ ปัสสาวะ แสบขัด ใหผู้ป่วยมาพบแพทย์ก่อนนัด หรือไปตรวจที่ โรงพยาบาลใกล้บ้าน 2.เกล็ดเลือดต่ํา ทำ ให้เลือดออกง่ายแต่หยุดยาก เฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุถ้ามีบาดแผลให้กด บาดแผลเป็นป็เวลานานอย่างน้อย 5 นาที เฝ้าระวังเลือดออกตามไรฟันฟั ใช้แปรงสีฟันฟัขนอ่อน นุ่ม ระวังไม่ให้มีอาการท้องผูก ***หากเลือดไหลไม่หยุดใหรีบไปพบแพทย์โรงพยาบาล ใกล้บ้าน 3.ผมร่วง/ บางลง ควรใช้หวีซี่ห่างๆ หวีผม เวลาหวีอย่ากระตุก ให้หวี เบาๆ ไม่ควรย้อมหรือดัดผมเพราะอาจทำ ให้ผมร่วงมากขึ้น ให้ใช้แชมพูสระผมชนิดอ่อน 4.คลื่นไส้/ อาเจียน อาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่หลังได้รับยาเคมี บำ บัดและอาจมีอาการนานได้ถึง 48 ชั่วโมงหรือนานเป็นป็ สัปดาห์ รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยคร้ัง หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด มันจัดกลิ่นฉุน ควรดื่มน้ำ อุ่น น้ำ ขิง น้ำ ส้ม น้ำ มะนาว น้ำ ผลไม้ หรือรับประทานผลไม้รสเปรี้ยว บ้วนปากด้วยน้ำ อุ่นหรือน้ำ เกลือเจือจางหลังอาเจียน หรือหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง ใช้เทคนิคผ่อนคลาย เพื่อลดความวิตกกังวลต่างๆ รับประทานยาแก้อาเจียนที่แพทย์จ่ายให้ในช่วง 3-7 วัน แรกหลังจากไดร้บยาเคมีบาบัด 5. ท้องเสีย งดรับประทานอาหารประเภทของหมักดอง ควรรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย ดื่มผงน้eตาลเกลือแร่เสริม *** ถ้าอาการไม่ทุเลาให้ไปพบแพทย์โรงพยาบาลใกล้บ้าน 6.การเปลี่ยนแปลงของสีผิว เช่น สีผิวคล้ำ ขึ้น แห้ง แสบ หรือคัน หลีกเลี่ยงการสัมผัสแสงแดดโดยตรง หากจำ เป็นป็ต้อง โดนแดด ควรใส่เสื้อแขนยาว ทาครีมกันแดดหรือกางร่ม 7. เยื่อบุปากอักเสบ เกิดแผลร้อนในในปาก รักษาความสะอาดในช่องปากอย่างสม่ำ เสมอ ควรใช้แปรงสีฟันฟัที่มีขนแปรงอ่อนนุ่ม แปรงเบาๆ รับประทานอาหารอ่อน เคี้ยวง่าย รสไม่จัด งดเหล้า บุหรี่ หมาก เมี่ยง ดื่มน้ำ มากๆ อย่างน้อยวันละ 8-12 แก้วต่อวัน บ้วนปากด้วยน้ำ เกลือบ่อยๆ และหลังรับประทานอาหาร ทุกครั้ง (น้ำ 1 ลิตร ผสมเกลือ 3 ช้อนชา)


Click to View FlipBook Version