The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jitsupa Somboon, 2023-07-22 11:33:01

Orange Modern Company Annual Report (5)

Orange Modern Company Annual Report (5)

ระดับปฐมวัย สำ หรับครูผู้สอน Best practice Best practice ของนักเรีย รี นชั้นอนุบ นุ าลปีที่ 2/1 โรงเรีย รี นวัด วั เวฬุวัน วั (สารภีช ภี นานุกุ นุ ล) นางสาววาสนา ต๊ะ ต๊ กาบโค ตำ แหน่งครู โรงเรีย รี นวัด วั เวฬุวัน วั อำ เภอสารภี จัง จั หวัด วั เชียงใหม่ สำ นักงานเขตพื้นที่ก ที่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔ การพัฒนาทัก ทั ษะการคิดเชิงคำ นวน โดยใช้ชุดกิจ กิ กรรม KiDS คิด


What life lessons did you learn from the book? แบบรายงานวิธี วิ ก ธี ารปฏิบั ฏิ ติ บั ที่ ติที่เ ที่ป็นเลิศลิ ระดับ ดั ปฐมวัย วั (Best practice) โรงเรีย รี นวัด วั เวฬุวัน วั สำ นักงานเขตพื้นท่ก ท่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔ ชื่อผลงาน Best practice : การพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ โดยใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด ของนักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล) ชื่อผู้นำ เสนอผลงาน : สังกัด : นางสาววาสนา ต๊ะกาบโค ตำ แหน่ง ครู ฃวิทยฐานะ ครูชำ นาญการพิเศษ โรงเรียน วัดเวฬุวัน สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔ ตำ บล ยางเนิ้ง อำ เภอ สารภี จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘๕-๖๙๕๑๑๘๔ E-mail : [email protected] เว็บไซต์โรงเรียน https://www.wrw.ac.th ความสำ คัญของผลงานหรือนวัตกรรมหรือวิธีปฏิบัติที่นำ เสนอ กระทรวงศึกษาธิการประกาศแถลงนโยบายการศึกษาเรื่องเด็กไทยทุกคนต้องเรียน "โค้ดดิ้ง" (Coding) โดยใช้คำ ว่า "Coding for all" เพื่อเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 โดยจะบรรจุ เข้าไปในหลักสูตรการเรียนของเด็กไทย สำ หรับ เด็กปฐมวัย การสร้างโปรแกรมบนกระดาษสามารถ ทำ ได้ โดยเลียนแบบการเขียนโปรแกรมคำ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำ งาน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์จริงให้เด็กลองเขียนภาพบนกระดาษ ตามโปรแกรมที่ทำ เหมือนโปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมคำ สั่ง ให้คอมพิวเตอร์ทำ งาน การเขียน Coding มีข้อดีหลายประการ เป็นทักษะที่ช่วยให้เด็ก เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็น เหตุเป็นผลและสามารถพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ต่อยอดได้แบบสร้างสรรค์ แต่ละขั้นตอนในการเขียน Coding เด็กจะได้เรียนรู้ กระบวนการวางแผน ฝึกฝนกระบวนการคิด และการลงมือทำ อย่างมีประสิทธิภาพ และทำ ให้เด็กได้เรียนรู้โครงสร้างของ คำ ตอบและความคิด ผ่านการแก้ไขปัญหา (พ่อแม่ลูกปลูกรัก, 2562 : ออนไลน์) และปัจจุบันระบบการศึกษาทั่วโลกให้ความสำ คัญต่อการเรียนการสอนวิทยาการคำ นวณ (Computing Science) ซึ่งประกอบด้วย วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) สำ หรับการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) ในระดับ อนุบาล มีจุดเน้น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การใช้การคิดเชิงคำ นวณ (Computational thinking) เพื่อการแก้ปัญหาอย่าง เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ซึ่งประกอบไปด้วย การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหา/งานย่อย (Decomposition) การ พิจารณารูปแบบของปัญหาหรือวิธีการแก้ปัญหา (Pattern recognition) การพิจารณาสาระสำ คัญของปัญหา (Abstraction) และการออกแบบอัลกอริทึม (Algorithms) และส่วนที่ 2 การเขียนโปรแกรม (Programing) โดยเน้น การเขียนโค้ด (Coding) แบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ และการส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาการคำ นวณ (Computing Science) ในระดับอนุบาล ไม่ใช่การเขียนคำ สั่งคอมพิวเตอร์ แต่เป็นเรื่องการสร้างกระบวนการคิดให้กับเด็กอนุบาล ถือ เป็นทักษะที่ต้องเร่งสร้างให้กับคนรุ่นใหม่


What life lessons did you learn from the book? ความสำ คัญของผลงานหรือนวัตกรรมหรือวิธีปฏิบัติที่นำ เสนอ (ต่อ) รวมไปถึงคนรุ่นเก่าก็ต้องใช้ทักษะนี้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดซึ่งกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ เหล่านี้ เป็นสิ่งสำ คัญที่เด็กทุกคน ตั้งแต่ระดับอนุบาลควรได้รับการปลูกฝัง เพื่อเป็นรากฐานของการสร้างนวัตกรรมทาง เทคโนโลยีที่จะนำ ประเทศไปสู่การพัฒนาตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ต่อไป (สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2564 : 1) ในปีการศึกษา 2563ได้มีการนำ กิจกรรมเกมการศึกษามาจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณในเด็ก ปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ซึ่งพบว่า กิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ สามารถทำ ให้เด็กมี ทักษะการคิด ตามมาตรฐานการศึกษาที่ดีขึ้น และในปีการศึกษา 2564 เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19ทางกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำ หนดมาตรการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งหน่วยงาน หรือ Work from Home รวมทั้งให้สถานศึกษาประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงอย่างรอบด้านของนักเรียนหรือครู ที่อาจเป็นกลุ่ม เสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ในช่วงการเปิดเรียน หากมีนักเรียน หรือครูที่เป็นกลุ่มเสี่ยงให้สถาน ศึกษาสามารถพิจารณาปรับการเรียนการสอนเป็นระบบการศึกษาทางไกล คือ On air, Online, On hand และ On demand ได้ตามความเหมาะสม และประสานกับคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอย่างใกล้ชิด (ตรีนุช เทียนทอง,2565) ซึ่งทางโรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล)อยู่ในพื้นที่เสี่ยง จึงได้มีการปรับการเรียนการสอนให้เข้ากับสถานการณ์ โดยการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่หลากหลาย ได้แก่ รูปแบบ On air เป็นการเรียนผ่านมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV, รูปแบบ Online เป็นการเรียนผ่าน Line Meeting, รูปแบบ On hand เป็นการส่งใบงานให้เด็กทำ ที่บ้าน และรูปแบบ On demand เป็นการเรียนผ่านวิดีโอการสอนในแอพพลิเคชัน Youtube จากที่กล่าวมาข้างต้นจึงมีการนำ กิจกรรม Coding มาสร้างเป็นเกมการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย ทำ ให้เด็กปฐมวัยได้ เรียนรู้และลงมือปฏิบัติผ่านการเล่น อีกทั้งกิจกรรมเกมการศึกษานั้นเป็นกิจกรรมที่เด็กปฐมวัยชอบและให้ความสนใจ รวม ถึงสามารถพัฒนาเด็กปฐมวัยครบทุกด้าน ในปีการศึกษา 2563 จึงจัดกิจกรรมเกมการศึกษา ให้เด็กได้เล่นและพัฒนาการ คิดเชิงคำ นวณที่โรงเรียนได้ แต่ในปีการศึกษา 2564 ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 จึงทำ ให้เด็กไม่สามารถจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนได้และการที่จะส่งเกมการศึกษาไปให้เด็กนั้นมีจำ นวน มาก ไม่พียงพอกับจำ นวนเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล) มีการจัดการเรียนการสอนให้เด็กในรูปแบบ On air, Online, On hand และ On demand จึงดำ เนินการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ โดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา Coding แบบออนไลน์ เพื่อพัฒนาเด็กให้เกิดทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และกิจกรรมเกมการศึกษา แบบ Coding ที่สร้างขึ้น โดยใช้เว็บไซต์ Wordwall และเด็กสามารถทำ กิจกรรมเกมการศึกษานี้ผ่านรูปแบบออนไลน์ได้ ตามเวลาที่สะดวก และสามารถเล่นเกมผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลายตามบริบทของแต่ละคน และในปีการศึกษา 2565ได้มีการนำ รูปแบบของกิจกรรมที่บูรณาการทักษะการคิดเชิงคำ นวณ โดยใช้เป็นชุด กิจกรรม KIDS คิด ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน(สารภีชนานุกูล) สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาเชียงใหม่เขต 4 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาทักษะการคิดเชิงคำ นวณและเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสู่ การต่อยอดตามความสนใจของผู้เรียนในอนาคตโดยมีทักษะการคิดเชิงคำ นวณเป็นพื้นฐานผ่านชุดกิจกรรม KIDS คิดเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ


จุดประสงค์ และเป้าหมายของการดำ เนินงาน จุดประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ๒. เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำ นวณสำ หรับเด็กปฐมวัย เป้าหมาย : เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒/๑ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี กำ ลังศึกษาอยู่ในปีการ ศึกษา ๒๕๖๕ จำ นวน ๒๓ คน แบ่งเป็นชาย ๑๒ คน และหญิง ๑๑ คนได้รับการ พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นอนุบาล ๒ ของโรงเรียนวัดเวฬุวัน มีพัฒนาการด้านสติปัญญา อยู่ในระดับคุณภาพดี ตามค่าเป้าหมายของโรงเรียน กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดำ เนินงาน การจัดประสบการณ์โดยใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒/๑ โรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล) โดยมีเครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย ๑. เครื่องมือในการพัฒนาเด็ก คือ ชุดกิจกรรม KIDS คิด จำ นวน ๒๔ กิจกรรม ๒. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒/๑ โรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล) ก่อนและหลัง จำ นวน ๒๐ ข้อ ขั้นตอนในการดำ เนินการ ดังนี้ 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ กิจกรรม บูรณาการทีใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยรวมทั้งศึกษาและคู่มือหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำ หรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี)


ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) 2 ออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักการ จัดประสบการณ์ของทักษะการคิดเชิงคำ นวณของเด็กปฐมวัย


ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) 3 สร้างเครื่องมือและหาประสิทธภาพของเครื่องมือ 4 นำ เครื่องมือเสนอผู้เชี่ยวชาญที่เป็นครูอนุบาล และมีประสบการณ์มา 5 ปี ปรับแก้ตามผู้เชียวชาญแนะนำ และนำ เครื่องมือไปทดลองใช้กับห้องเรียน 5 ใกล้เคียง 6 นำ เครื่องมือมาปรับ และนำ ไปใช้จริงกับนักเรียนชั้น อ.2/1


กิจกรรมเกม จำ แนกของใช้กับสภาพอากาศ ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) 7 ประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณของเด็กนักเรียนโดยใช้แบบประเมิน ก่อนเรียน 20 ข้อ ตัวอย่างแบบประเมินทักษะ ดำ เนินการตามแผนการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ 8 ละ 3 วัน รวมเป็นเวลา 24 ครั้ง กิจกรรมเกม เคลื่อนไหวทาทางตามแบบรูป


กิจกรรมเกมลอตโตต้นไม้ที่รัก กิจกรรมเกม จับคู่ตารางสัมพันธ์รูปบ้าน กิจกรรมเกม เรียงลำ ดับการเจริญเติบโตของต้นไม้ ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) กิจกรรมเกมพาหนูน้อยไปรดน้ำ ต้นไม้ กิจกรรมร้อยหลอดตามแบบรูป


กิจกรรมเกมหนาวๆมาแต่งตัว กิจกรรมเกมสนุกกับ XO กิจกรรมเกม เรียงลำ ดับความยาวหลอด ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) กิจกรรมเกมขยับตามสี กิจกรรมเกมเก็บผักผลไม้ในฤดูหนาว


กิจกรรมระบายสีแผนที่ประเทศไทย กิจกรรมเกมวิ่งจับคู่ช้างน้อย กิจกรรมเกมแทนแกรมมหาสนุก ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) กิจกรรมตามหารูปทรงที่ใช่ กิจกรรมเกมเติมจุดสีหรรษา


กิจกรรมเกมจัดหมวดหมู่กล่องของขวัญ กิจกรรมเกมหุ่นยนต์ตามคำ สั่ง กิจกรรมเกมประกอบร่างซานต้า ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ) กิจกรรมเกมถังสีแสนสวย กิจกรรมเกมวิ่งจำ แนกลูกบอล3สี


กิจกรรมเคลื่อนไหวตามแบบรูป กิจกรรมฟังให้ดีเคาะกี่ที ขั้นตอนในการดำ เนินการ (ต่อ)


การสร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องมือที่ใช้ใน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ การสร้างและหาคุณภาพของชุด กิจกรรม KIDS คิด ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดกิจกรรม KIDS คิด ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และคู่มือหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำ หรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี) ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่บูรณาการทักษะการคิดเชิงคำ นวณ จำ นวน 24 กิจกรรม ดำ เนินการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ชุดกิจกรรม KIDS คิด ลำ ดับขั้นการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด นำ คู่มือและแบบประเมินทักษะการ คิดเชิงคำ นวณที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ นำ แผนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณในเด็ก ปฐมวัย ทดลองใช้ (Try Out) กับเด็กอนุบาลปีที่ 2 ห้อง 2 และนำ มาปรับแก้ไข เป็นฉบับสมบูรณ์ นำ แผนปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง เหมาะสม ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ นำ แผนไปใช้กับเด็กอนุบาลปีที่ 2 ห้อง 1 พร้อม ทั้งสังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมของเด็ก 1 2 3 4


คำ ชี้แจงในการประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณในเด็กปฐมวัย ขั้นตอนการประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณในเด็กปฐมวัย ตัวอย่างแบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณในเด็กปฐมวัย การสร้างแบบประเมินทักษะการคิดเชิง คำ นวณของเด็กปฐมวัย มีขั้นตอนดังนี้ สร้างแบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณสำ หรับเด็กปฐมวัย จำ นวน 1 ชุด มี รายละเอียดดังนี้ ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และคู่มือหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำ หรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี) การแบ่งปัญหาใหญ่ เป็นปัญหาย่อย (Decomposition) การพิจารณารูปแบบ (Pattern Recognition) การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) การออกแบบ อัลกอริทึม (Algorithm) จำ นวน 5 ข้อ จำ นวน 5 ข้อ จำ นวน 5 ข้อ จำ นวน 5 ข้อ กําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ 0 คะแนน หมายถึง เด็กตอบผิด 1 คะแนน หมายถึง เด็กตอบได้ถูกต้อง สร้างคู่มือประกอบคำ แนะนำ ในการใช้แบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ลำ ดับขั้นการสร้างแบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณของเด็กปฐมวัย นำ คู่มือและแบบประเมินทักษะการคิดเชิง คำ นวณที่สร้างขึ้นตรวจทานความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม นำ คู่มือและแบบประเมินทักษะการคิด เชิงคำ นวณที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญ นำ คู่มือและแบบประเมินทักษะการคิดเชิง คำ นวณที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะไป ทดลองใช้ (Try Out) กับเด็กอนุบาลปีที่ 2 นำ คู่มือและแบบประเมินทักษะการคิด เชิงคำ นวณในเด็กปฐมวัยไปใช้ กับเด็ก อนุบาลปีที่ 2/1 การสร้างแบบประเมิน ทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ของเด็กปฐมวัย


ผลการดำ เนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการคิดเชิง คำ นวณโดยใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุ วัน โดยใช้ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทางสถิติ (µ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Ó) รวมทั้งค่าร้อยละความก้าวหน้าของแบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำ นวณของ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน จากตาราง จะเห็นได้ว่า นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน จำ นวน 23 คน ที่ได้รับการ พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณโดยใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด พบว่า หลังการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด นักเรียนมี คะแนนทดสอบเฉลี่ย (µ) เท่ากับ 17.91 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Ó) เท่ากับ 1.66 ซึ่งก่อนการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด นักเรียนมีคะแนนทดสอบเฉลี่ย (µ) เท่ากับ 5.86 คะแนน จากคะแนน เต็ม 20 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Ó) เท่ากับ 1.32 เมื่อพิจารณาพบว่าคะแนนหลังการใช้ชุด กิจกรรม KIDSคิด สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม KIDSคิด และมีความก้าวหน้า ร้อยละ 52.39


จากแผนภูมิ จะเห็นได้ว่า ค่าเฉลี่ยก่อนการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด อยู่ที่ระดับควรพัฒนา คือ 5.86 และค่าเฉลี่ย หลังการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด คือ 17.91 แสดงว่า ผลการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน (สารภีชนานุกูล) หลังการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด ผลสัมฤทธิ์ ผลพัฒนาการด้านสติปัญญาของนักเรียน ปีการศึกษา 2563 อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 83.33 ส่วนผลพัฒนาการด้านสติปัญญาของนักเรียน ปีการศึกษา 2564 อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 84.61 สูงกว่าในปีการศึกษา 2563 และ เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ โรงเรียนกำ หนดไว้ และในปีการศึกษา 2565 ผลพัฒนา การด้านสติปัญญา ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 91.31 สูงกว่าปีการศึกษา 2563 และ ปีการศึกษา 2564


ปัจจัยสู่ความสำ เร็จ สถานศึกษา ครูปฐมวัยใน โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน หน่วยงาน ต้นสังกัด มีความพร้อมในการเป็นแหล่ง เรียนรู้ มีบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนผู้บริหารให้การสนับสนุน ในการส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนรู้การจัดการเรียนการสอน ครูปฐมวัยในโรงเรียน ให้ความ สนับสนุนร่วมเป็นผู้เชี่ยวชาญ การให้คำ แนะนำ รวมถึงการ ทดลองใช้เครื่องมือต่าง ๆ หน่วยงานต้นสังกัด เปิดโอกาส ให้มีการเผยแพร่ผลงาน ผู้ปกครอง และชุมชน ให้ความ ร่วมมือในการทำ กิจกรรมร่วมกับ ครูและทางโรงเรียน ร่วมให้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน เป็นอย่างดี ครูและผู้สนใจสามารถนำ ชุดกิจกรรม KIDS คิด ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ในระดับ ปฐมวัยได้เนื่องจากชุดกิจกรรม KIDS คิด เป็นกิจกรรมที่บูรณาการกับกิจกรรม 6 หลัก นวัตกรรมชุดกิจกรรม KIDS คิด สามารถพัฒนาต่อยอดกับทักษะอื่น ๆ ได้ ชุดกิจกรรม KIDS คิด เป็นกิจกรรมที่เด็กสนใจและตื่นเต้น เนื่องจากมีการจัดกิจกรรม หลากหลายรูปแบบ และเด็กสนุกสนานขณะทำ กิจกรรม ควรมีการสร้างและพัฒนาการใช้ชุดกิจกรรม KIDS คิด สำ หรับเด็กปฐมวัยเพิ่มเติม ควรศึกษาการใช้ชุดกิจกรรม กับเนื้อหากลุ่มประสบการณ์อื่น ๆ ในการจัดกิจกรรม KIDS คิด ควรให้เวลาในการทำ กิจกรรมกับเด็ก มีการเสริมแรง และดูแล ใกล้ชิดขณะปฏิบัติกิจกรรม บทเรียนที่ได้รับ ประโยชน์ที่ได้รับ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาลปี 2/1 โรงเรียนวัดเวฬุวัน จำ นวน 23 คน มีทักษะการคิดเชิงคำ นวณทั้ง 4 องค์ประกอบ เด็กมีพัฒนาการในการกระตือรือร้นในการทำ กิจกรรม การเล่นร่วมกับผู้อื่นการสื่อสารบอกเล่า โรงเรียนได้มีรูปแบบในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการคิดเชิงคำ นวณสำ หรับเด็กปฐมวัย เครือข่ายการศึกษา สามารถนำ รูปแบบที่ได้ไปต่อยอดหรือสามารถนำ ไปใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้


การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ (รางวัลที่ได้รับ) เผยแพร่ระดับโรงเรียนห้องเรียนคุณภาพ เผยแพร่ระดับเขตพื้นที่การศึกษา


- รางวัล นวัตกรรมแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) “เกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณเด็กปฐมวัย การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ (รางวัลที่ได้รับ) เผยแพร่ระดับ สพป.เชียงใหม่ 4 การประกวดผลงานที่ดีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการจัดประสบการณ์ เรียนรู้ ระดับปฐมวัย สำ หรับครูผู้สอน ระดับดีเลิศ จากสำ นักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 รางวัล Best of the Best ประเภท ครูผู้สอน ด้านการจัดการเรียนรู้ปฐมวัย ในงานมหกรรม นวัตกรรมทางวิชาการ ประจำ ปี 2565 ปีการ ศึกษา 2564 การประกวดผลงานที่ดีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการจัดประสบการณ์ เรียนรู้ ระดับปฐมวัย สำ หรับครูผู้สอน ระดับดีเยี่ยม จากสำ นักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4


การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ (รางวัลที่ได้รับ) เผยแพร่ระดับเครือข่ายการศึกษา ที่โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร) ตำ บลแม่สาย อำ เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ร่วมเผยแพร่ผลงานในกิจกรรมการเผยแพร่องค์ความรู้และแสดงผลงานดีเด่นด้าน Coding ภายใต้กิจกรรม“CODING Achievement Awards” ระดับภูมิภาค ภาคเหนือ ณ โรงเรียนวัดเวฬุวัน


การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ (รางวัลที่ได้รับ) เผยแพร่ลงเพจ โรงเรียนวัดเวฬุวัน เผยแพร่บน เวปไซด์ของโรงเรียนวัดเวฬุวัน www.wrw.ac.th scan me ได้มีการขยายผลการใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณเด็กปฐมวัย ในระดับโรงเรียน/เครือ ข่ายครูปฐมวัย และจะได้นำ ไปต่อยอดในปีการศึกษา 2564 โดยนำ มาจัดเป็นกิจกรรมแบบ online ตาม สถานการณ์โควิด-19 โดยจัดทำ เป็นลิงค์ และคิวอาโค้ด ให้เด็กได้ทำ กิจกรรมตามเวลาที่สะดวก อีกทั้งในปี การศึกษา 2565 ได้นำ กิจกรรมเกมการศึกษาแบบ coding ขยายผลกับห้องเรียนอื่นๆ ในกิจกรรมเรียน คอมพิวเตอร์ และออกแบบรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่บูรณาการทักษะการคิดเชิงคำ นวณเข้าไป และจัด ทำ เป็นชุดกิจกรรม KIDS คิด เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำ นวณ ของเด็กปฐมวัย การขยายผลต่อยอด หรือประยุกต์ใช้ผลงาน /นวัตกรรมหรือแนวปฏิบัติ


บรรณานุก นุ รม


Best practice ระดับ ดั ปฐมวัย วั สำ หรับ รั ครูผู้ส ผู้ อน โรงเรีย รี นวัด วั เวฬุวัน วั สำ นักงานเขตพื้นที่ก ที่ ารศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต ๔


Click to View FlipBook Version