The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.1การวิเคราะห์หลักสูตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

1.1การวิเคราะห์หลักสูตร

1.1การวิเคราะห์หลักสูตร

บันทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรียนวดั ผาสกุ าราม(สุวรรณวทิ ยาคาร)

ท่ี พเิ ศษ / 2564 วนั ท่ี 20 พฤษภาคม 2564

เร่อื ง รายงานการวิเคราะห์หลักสูตร

............................................................................................................................................................... ....

เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดผาสุการาม(สวุ รรณวิทยาคาร)

ตามท่ขี า้ พเจา้ นางสาวสุวรีย์ จึงเจริญรัตน์ ตำแหน่งครู โรงเรียนวดั ผาสกุ าราม(สวุ รรณวิทยาคาร)
ตำบลหนองข้างคอก อำเภอเมอื ง จงั หวัดชลบรุ ี ได้รับมอบหมายให้ทำหนา้ ที่ครปู ระจำชนั้ ประถมศึกษาปที ี่
2/2 และได้สอนในรายวชิ า ท13101 วชิ าภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3/2 ประจำปกี ารศึกษา 2564
จึงได้ดำเนินการวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า ท13101 วิชาภาษาไทย

บดั นไ้ี ด้ดำเนินการวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า ท13101 วชิ าภาษาไทย เพื่อพฒั นาหลกั สตู รเรยี บรอ้ ย
แลว้ และได้ทำการสรปุ ผลตามเอกสารที่แนบมาน้ี

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงช่ือ
(นางสาวสวุ รีย์ จงึ เจรญิ รัตน์)

ความคดิ เห็นของผู้บรหิ าร

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................
(นางบญุ นภสั บญุ ไทร)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดผาสุการาม(สวุ รรณวิทยาคาร)

คำนำ

รายงานฉบับน้ี จดั ทำขนึ้ เพ่ือรวมการจัดทำการวิเคราะห์หลักสูตรทใ่ี ชใ้ นการการจัดการเรยี นการสอน
ให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ใหผ้ ูเ้ รยี นมีการเรยี นรอู้ ย่างเตม็ ตามศักยภาพจากกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ ตามของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การวเิ คราะห์หลักสูตรเปน็
กระบวนการการเก็บรวบรวมข้อมลู และการประมวลผลข้อมลู เพือ่ นำมา
ใช้ในการจดั การเรยี นการสอนทส่ี อดคลองกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

เพ่ือคุณภาพทดี่ ีในการจัดการเรยี นการสอนให้ตอบสนองความแตกต่างของผเู้ รียน และสนบั สนนุ ให้
ผู้เรียนมกี ารพฒั นาได้อยา่ งเหมาะสม เต็มศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคลจงึ ได้จัดทำรายงานการวเิ คราะห์หลกั สตู รท่ี
ใช้ในการการจดั การเรยี นการสอนประจำวชิ า ที่เกดิ ผลท่ีดีต่อการจดั การเรยี นการสอน

นางสาวสวุ รรีย์ จึงเจริญรัตน์

คำอธบิ ายรายวิชา

ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำพ้ืนฐาน คำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้อ่ืน คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านจับใจความจากส่ือต่าง ๆ แล้วสามารถ ต้ังคำถาม

และตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดบั เหตุการณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์ โดยระบุเหตุผลประกอบ สรปุ ความรู้และขอ้ คิด

จากเรื่องท่ีอ่าน เพื่อนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน อา่ นหนงั สือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอ่าน

อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำส่ังหรือข้อแนะนำ อ่านข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ และมี

มารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนบรรยายเกี่ยวกับ

ลกั ษณะของคน สตั ว์ ส่ิงของ สถานท่ี ได้อย่าง ชดั เจน เขียนบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตาม

จินตนาการจากคำ ภาพ และหัวข้อที่กำหนด และมีมารยาทในการเขียน จับใจความจากเร่ืองท่ีฟังและดูท้ังท่ี

เป็นความรู้และความบันเทิง โดยสามารถเล่ารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ต้ังคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดง

ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดู พูดแนะนำตนเอง พูดแนะนำสถานท่ีในโรงเรียนและในชุมชน พูด

แนะนำเชิญชวนเก่ียวกับการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ เล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน พูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น

ขอร้อง ทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ ปฏิเสธ ซักถาม และมีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด เขียนสะกดคำ

และบอกความหมายของคำ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำนาม คำสรรพ

นาม และคำกริยาในประโยค แต่งประโยคเพ่ือการส่ือสาร ได้แก่ ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยค

คำถาม ประโยคขอร้อง ประโยคคำส่ัง แต่งคำคล้องจองและ คำขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน

ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและ

แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็กเพ่ือปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรม

ทอ้ งถิ่น และทอ่ งจำบทอาขยาน ตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้เน้นใหผ้ เู้ รียนฝึกทกั ษะการใช้ภาษา ท้งั การอา่ น การเขียน การฟงั การดู และการ

พดู ทีอ่ ยู่บนพ้ืนฐานของหลักภาษา โดยใชก้ ระบวนการกลุ่มและการระดมสมองเป็นหลัก

เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจหลกั ภาษา เกดิ ทกั ษะในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร สามารถนำไปใชใ้ น

ชวี ิตประจำวนั ได้ มคี วามชนื่ ชม เห็นคุณคา่ ภูมิปัญญาไทยและภูมใิ จในภาษาประจำชาติ

รหสั ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมท้ังหมด ๓๑ ตัวชวี้ ัด

โครงสรา้ งหลักสูตร
ปกี ารศึกษา ๒๕๖4

ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ลำดับท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
ตัวช้ีวดั (ชวั่ โมง)
หลกั ภาษาและ
การใช้ภาษาไทย ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ สระใช้ประสมกับพยัญชนะและ ๘
๑ สระไทย...ใช้ประสมคำ ท ๒.๑ ป. ๓/๑ ว ร ร ณ ยุ ก ต์ ใ ห้ เป็ น ค ำ ที่ มี ๗
ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ความห มายเพ่ื อใช้ส่ือสารใน ๗
ชีวิตประจำวนั ๘
๒ มาตรา ก กา... ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ คำท่ีไม่มีตัวสะกดทุกคำจัดป็นคำ ๘
ในมาตรา ก กา
รวู้ า่ ไมม่ ีตัวสะกด ท ๒.๑ ป. ๓/๑ ๗
คำในมาตรา กง กม เกย และ
ท ๔.๑ ป. ๓/๑ เกอว มีตัวสะกดตรงตามเสียง
เพียงตัวเดยี ว
๓ มาตรา กง กม เกย ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ คำในมาตรา กก กด กน และกบ
เป็นคำที่มีตัวสะกดหลายตัว ซ่ึง
เกอว...ตวั สะกด ท ๒.๑ ป. ๓/๑ ออกเสยี งเหมือนกัน
ว ร ร ณ ยุ ก ต์ เป็ น ร ะ ดั บ สู งต่ ำ ข อ ง
กำหนดเสยี ง ท ๔.๑ ป. ๓/๑ เสียงท่ีปรากฏในพยางค์หรือคำ
วรรณยุกตม์ ี ๔ รปู
๔ มาตรา กก กด กน กบ... ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ๕ เสียงเมือ่ นำวรรณยกุ ต์เขียนบน
พยญั ชนะตน้ ของคำจะทำใหเ้ สียง
ตวั สะกดหลายตวั ท ๒.๑ ป. ๓/๑ และความหมายของคำเปลีย่ นไป
พยัญชนะควบกล้ำจะควบกบั ร ล
ท ๔.๑ ป. ๓/๑ หรือ ว บางคำออกสียงพยัญชนะ
ต้นทั้ง ๒ ตัว พร้อมกัน บางคำ
วรรณยุกต.์ ..สนกุ กับการ ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะต้นตัว
5 ผันอกั ษร แรก และบางคำออกเสียง ทร
ท ๒.๑ ป. ๓/๑ เป็นเสียง ซ

ท ๔.๑ ป. ๓/๑

๖ ควบกลำ้ ...คำท่มี ี ร ล ว ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒
ท ๒.๑ ป. ๓/๑
ท ๔.๑ ป. ๓/๑

ลำดับที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น
ตัวชีว้ ดั (ช่ัวโมง)
๗ อกั ษรนำ...ทำใหเ้ สยี ง คำท่ีมีอกั ษรนำจะมพี ยัญชนะตน้
ตา่ งไป ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ๒ ตวั ประสมสระเดยี วกัน ๘
ท ๒.๑ ป. ๓/๑ พยญั ชนะต้นทัง้ ๒ ตวั พรอ้ มกัน
ท ๔.๑ ป. ๓/๑ บางคำออกเสียงเฉพาะพยัญชนะ
ต้นตวั แรกจะเปน็ อกั ษรสูง หรอื
อักษรกลาง สว่ นพยญั ชนะตน้ ตัว
ที่ ๒ ต้องเปน็ อักษรต่ำเดี่ยว
เทา่ นน้ั บางคำออกเสยี งพยางค์
เดยี ว บางคำออกเสียงสองพยางค์

๘ คำทป่ี ระวสิ รรชนยี แ์ ละ ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ คำที่ออกเสียง อะ บางคำมีรูป –ะ ๘

คำที่ไม่ประวิสรรชนยี ์ ท ๒.๑ ป. ๓/๑ และออกเสียงอะ เต็มเสียง บาง

ท ๔.๑ ป. ๓/๑ คำไม่มีรูป –ะ และออกเสียงอะ

ก่ึงเสียง

๙ คำที่ใช้ บัน บรร รร ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ คำที่ใช้ รร ไม่มีตัวสะกด จะออก

ท ๒.๑ ป. ๓/๑ เสียงสระเป็นเสียง อะ และเสียง

ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ตัวสะกดเป็นเสียงในมาตรา กน

ส่วนคำท่ีใช้ รร มีตัวสะกด จะ

ออกเสียงสระเป็นเสียง อะ และ

เสยี งตัวสะกดตามมาตราตัวสะกด

ของคำนั้น ส่วนคำท่ีใช้ บัน บรร

เป็นการเขยี นเฉพาะของแตล่ ะคำ

๑๐ คำทม่ี ีตัวการันต์ ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ตวั อักษรที่มไี ม้ทัณฑฆาต ( -์ )

ท ๒.๑ ป. ๓/๑ เขยี นอยขู่ ้างบนทำใหต้ วั อักษรนน้ั

ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ไมอ่ อกเสียง เรยี กวา่ ตวั การนั ต์

ตัวการนั ต์อาจอยกู่ ลางคำหรือ

ท้ายคำ

ลำดับที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคญั เวลาเรยี น
ตวั ชีว้ ดั (ชว่ั โมง)
๑๑ คำท่ีพยัญชนะและสระ
ไมอ่ อกเสยี ง ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ก า ร อ่ า น แ ล ะ เขี ย น ค ำ ท่ี มี ๖
ท ๒.๑ ป. ๓/๑
ท ๔.๑ ป. ๓/๑ พยัญชนะและสระไม่ออกเสียง

ต้องสังเกตและจดจำตัวอักษร

เหล่านั้น เพ่ือให้อ่านและเขียน

คำได้ถูกต้อง

๑๒ คำทีใ่ ช้ ฑ ฤ ฤา ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ ตัวอักษรบางตัวในภาษาไทย ๗

ท ๒.๑ ป. ๓/๑ สามารถออกเสียงได้หลายแบบ

ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ต้องสังเกตจากการประสมคำ ๗

๑๓ คำพ้อง ท ๑.๑ ป. ๓/๒,ป. ๓/๒ คำพ้องรูปจะเขียนเหมือนกัน ๗

ท ๒.๑ ป. ๓/๑ แ ต่ อ่ า น อ อ ก เสี ย ง แ ล ะ มี

ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ความหมายต่างกัน ส่วนคำพ้อง

เสี ย ง เป็ น ค ำ ท่ี อ่ า น อ อ ก เสี ย ง

เหมือนกัน แต่การเขียนและ

ความหมายต่างกนั

๑๔ ชนิดของคำ...ทำหลาย ท ๔.๑ ป. ๓/๒ ประโยคประกอบด้วยคำหลาย

หนา้ ที่ ชนิดซ่ึงทำหน้าที่ในประโยค

แตกตา่ งกนั

๑๕ การใชพ้ จนานุกรม ท ๔.๑ ป. ๓/๓ พจนานุกรมเป็นหนังสือที่ใช้

สำหรับค้นหาคำในภาษาไทย

เพื่อตรวจสอบการเขียนสะกด

คำการอ่านคำ ความหมายและ

ชนิดของคำ

๑๖ การแต่งประโยคเพื่อการ ท ๔.๑ ป. ๓/๔ ประโยคเกิดจากการนำคำมา

สอ่ื สาร เรียงกันเพื่อบอกเล่า ปฏิเสธ

ถาม ส่ง ขอร้อง ซึ่งเป็นการ

สอื่ สารในชีวติ ประจำวัน

ลำดับท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคัญ เวลาเรยี น
ตวั ชี้วดั (ช่วั โมง)

๑๗ คำคลอ้ งจองและคำขวัญ ท ๔.๑ ป. ๓/๕ คำคล้องจองทำให้ถ้อยคำ ๗

ไพเราะ มเี สยี งของคำเช่อื มโยง

กัน ซงึ่ เปน็ เอกลักษณข์ อง

ภาษาไทย คำขวญั เป็นข้อความ

สั้น ๆ ทม่ี เี สียงคลอ้ งจองกนั ให้

คติสอนใจหรือใหท้ ำสงิ่ ดีงาม

๑๘ ภาษาไทยมาตรฐานและ ท ๔.๑ ป. ๓/๔ ภาษาไทยมาตรฐานเป็นภาษาที่ ๗
ภาษาถน่ิ
ใช้สื่อสารกันทั่วประเทศ ส่วน

ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่กลุ่มคนใน

แต่ละท้องถ่ินใช้สนทนากนั ควร

เลื อ ก ใ ช้ ใ ห้ เห ม า ะ ส ม กั บ

กาลเทศะ

๑๙ การอ่าน ท ๑.๑ ป. ๓/๗, ป. ๓/๘, การอ่านเป็นเครื่องมือในการ ๗
ป. ๓/๙
ค้นคว้าและแสวงหาความรู้เรื่อง

ต่าง ๆ ทำให้ได้แนวคิดที่เป็น

ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ด ำ เนิ น ชี วิ ต

การฝึกฝนทักษะการอ่านอย่าง

สม่ำเสมอ ทำให้มีความรู้เพ่ือ

พัฒนาตนมากยง่ิ ข้นึ

๒๐ การเขยี น ท ๒.๑ ป. ๓/๑, การเขียนเป็นการส่ือสารอย่าง ๑๖
ป. ๓/๒, ป. ๓/๓,
ป. ๓/๔, ป.๓/๕, หนึ่งเพ่ือให้ผู้อ่ืนรับรู้เร่ืองราว
ป. ๓/๖
ต า ม ที่ ผู้ เขี ย น ต้ อ ง ก า ร ใน ก า ร

เขียนจะต้องเขียนด้วยลายมือ

บรรจงและสะอาดเรียบร้อย

ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลาเรียน
๒๑ การฟงั การดู และการ ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง)
พูด การฟัง การดู และการพูด เป็น
ท ๒.๑ ป. ๓/๑, ทกั ษะพน้ื ฐานทสี่ ำคญั อนั จะ ๒๒
วรรณคดแี ละ ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, นำไปสู่การอา่ นและการเขียน
วรรณกรรม ป. ๓/๔, ป.๓/๕, นักเรยี นควรมีมารยาทในการฟงั
๑ นิทานสอนใจ ป. ๓/๖ และการดเู พื่อให้สามารถจบั
ใจความ นำไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ชีวติ ประจำวัน และสามารถพูด
สื่อสารกบั ผอู้ ืน่ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
และมีมารยาทตามความเปน็
ไทย

ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ๑. นทิ านสภุ าษติ เรอ่ื ง กระต่าย ๒
ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ตื่นตูมใหข้ ้อคิดวา่ ควรใชป้ ัญญา
ป. ๓/๕, ป. ๓/๙ ในการไตร่ตรองเร่ืองตา่ ง ๆ ไม่
ท ๕.๑ ป. ๓/๑ หลงเชอ่ื สิ่งใดง่าย ๆ
๒. นิทานสุภาษติ เร่อื ง เด็ก
เล้ียงแกะให้ข้อคิดวา่ ไม่ควรพูด
โกหก หลอกลวงผ้อู ื่นเพราะ
นอกจากจะทำให้ผู้อ่นื เดือดร้อน
แล้วอาจจะสง่ ผลให้ตนเองและ
ครอบครัวเดือดร้อนดว้ ย

ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรียน
๒ หลีกไกลคนพาล ตัวช้ีวดั (ช่วั โมง)

๓ ความสขุ จากการอ่าน ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ๑. นิทานอีสป เรือ่ ง กระต่ายแหย่ ๓
๔ สบื สานบทกลอน
ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, เสือให้ข้อคิดว่า ไม่ควรแกล้งผู้อื่น ๓

ป. ๓/๕, ป. ๓/๙ โดยเฉพาะผู้ที่มีนิสัยพาล เกเร

ท ๕.๑ ป. ๓/๑ เพราะจะทำให้คนเดือดร้อน

๒. นิทานอีสป เร่ือง หมาป่ากับ

ลูกแกะให้ข้อคิดว่า ควรหลีกเล่ียง

หรอื ไม่อยใู่ กล้คนที่มนี ิสยั พาลเกเร

เพราะจะนำภยั มาสู่ตนเองและคน

ท่ีมีนิสัย เกเร จะทำให้ไม่มีใคร

อยากคบหา

ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, หนงั สือ ประถม ก กา เป็น

ป. ๓/๕, ป. ๓/๙ หนงั สอื ทมี่ ปี ระโยชน์การฝึกอ่าน

ท ๕.๑ ป. ๓/๔ จะทำให้อ่านออก เขยี นได้ และใช้

คำได้ถูกความหมาย

ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ๑. บทดอกสร้อยสุภาษติ เรื่อง

ป. ๓/๓, ป. ๓/๕, มดแดงเปน็ บทกลอนที่มีความ

ป. ๓/๖, ป. ๓/๙ ไพเราะ สอนให้รู้จักการมคี วาม

ท ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๔ กล้าหาญและอดทน

๒. บทดอกสรอ้ ยสภุ าษิต เร่ือง

นกกระจาบเปน็ บทกลอนทสี่ อน

ให้ใช้ความละเอียดรอบคอบ รจู้ กั

คดิ ไตรต่ รองในการทำงาน

๓. บทอาขยาน เด็กน้อย สอนให้

เด็กเห็นความสำคัญของการเรยี น

หนังสือ ที่จะทำให้มีอนาคตท่ีดี

ไม่ลำบาก

ลำดบั ที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลาเรยี น
ตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง)
๕ บทเพลงที่ขับขาน ๔. บทอาขยาน
ท ๕.๑ ป. ๓/๒ วิช าห น าเจ้ า ส อ น ให้ เห็ น ๕
๖ ศรศลิ ปไ์ ม่กินกนั
๗ ปรศิ นาพาสนุก ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/ ความสำคัญของการมีวิชาความรู้ ๕
๘ ความสขุ จากการทำ ๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ซ่ึงจะทำให้ชีวิตมีความสุข เป็นท่ี ๒
ความดี ป. ๓/๕, ป. ๓/๙ เชิดหน้าชูตาได้ ๒
ท ๕.๑ ป. ๓/๑ เพลงกล่อมเดก็ และเพลงพวงมาลัย
ท ๕.๑ ป. ๓/๔ เป็นบทเพลงพื้นบ้าน ที่ใช้ถ้อยคำ ๒๐๐
ไพเราะ
ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/ ผู้ขับร้องต้องใช้น้ำเสียงที่ออ่ นหวาน
๒, ในการร้อง เพ่ือให้บทเพลงน่าฟัง
ป. ๓/๕, ป. ๓/๙ มากข้ึน
ท ๕.๑ ป. ๓/๑ ศรศิลป์ไม่กินกัน เป็นสำนวนไทย
ที่มาจากวรรณคดี เร่ือง พระไชย
รวม เชษฐ์ ปัจุบันสำนวนน้ีมีความหมาย
ว่าไมถ่ กู กัน ไม่ลงรอยกนั
ปริศนาคำทาย เปน็ เกมทฝ่ี กึ การใช้
ความคิดฝึกการอ่านภาษาไทย
อยา่ งถูกต้อง สรา้ งความสนุกสนาน
และสง่ เสรมิ เชาวนป์ ัญญา
นิทานชาดก เร่ือง คนพาลย่อม
ส ำ คั ญ ผิ ด คิ ด ว่ า บ า ป นั้ น เป็ น
ความลับ ให้ข้อคิดได้ว่าความลบั ไม่
มีในโลก การทำส่ิงใดแม้ไม่มีใคร
เห็น แต่ตนเองย่อมรู้ดีอยู่แกใ่ จ เกิด
ความทุกข์ การเป็นคนท่ีซื่อสัตย์จะ
ทำให้ได้รับการยกย่องและไวว้ างใจ
จากผู้อนื่

ตารางวิเคราะห์ ตัวช้ีวดั / สาระการเรียนรู้

ปีการศึกษา ๒๕๖4

ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สาระที่ ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิดเพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดำเนิน

ชวี ติ และมีนิสยั รักการอ่าน

ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้

๑. อา่ นออกเสยี งคำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสั้นๆ และบท การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง
รอ้ ยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ท่ี ประกอบด้วย คำพ้นื ฐานเพม่ิ
๒. อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อา่ น จาก ป.๒ ไมน่ ้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ รวมทั้งคำท่ีเรียนรู้ในกลุ่มสาระ
การเรยี นรูอ้ ่ืน ประกอบด้วย
๓. ต้ังคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลเกี่ยวกับ
เรื่องท่ีอา่ น - คำทีม่ ตี วั การันต์
- คำทม่ี ี รร
๔. ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จาก - คำที่มพี ยัญชนะและสระไมอ่ อกเสียง
เรอ่ื งที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ - คำพ้อง
- คำพิเศษอน่ื ๆ เชน่ คำที่ใช้ ฑ ฤ ฤา
๕. สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากเรอื่ งที่อา่ นเพ่ือ การอ่านจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เชน่
นำไปใช้ในชีวิตประจำวนั - นิทานหรอื เร่ืองเก่ียวกบั ท้องถนิ่

- เร่อื งเล่าส้ันๆ

- บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง

- บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนร้อู ื่น
- ขา่ วและเหตุการณ์ในชวี ติ ประจำวนั ในท้องถิ่นและชมุ ชน

๖. อ่านหนังสือตามความสนใจ การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น

อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ือง - หนงั สือทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั
ทอี่ า่ น - หนังสือท่คี รูและนกั เรียนกำหนดรว่ มกัน

๗. อ่านข้อเขียนเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ตั ติ ามคำส่งั การอา่ นข้อเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏบิ ตั ิตามคำสั่งหรอื ข้อแนะนำ
หรือข้อแนะนำ
- คำแนะนำต่างๆ ในชีวิตประจำวัน

- ประกาศ ปา้ ยโฆษณา และคำขวญั

๘. อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ
แผนท่ี และแผนภมู ิ

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้
๙. มมี ารยาทในการอ่าน
 มารยาทในการอ่าน เชน่
- ไมอ่ ่านเสียงดังรบกวนผู้อ่นื
- ไม่เล่นกนั ขณะท่อี ่าน
- ไม่ทำลายหนังสือ

- ไม่ควรแยง่ อา่ นหรอื ชะโงกหน้าไปอ่านขณะทผ่ี ู้อ่ืนกำลงั อา่ น

สาระท่ี ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้

๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม
รปู แบบการเขยี น ตัวอักษรไทย
๒ เขียนบรรยายเก่ียวกับสง่ิ ใดสิ่งหนึง่ ได้อย่าง
ชัดเจน การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานท่ี
๓. เขยี นบนั ทกึ ประจำวนั
๔. เขยี นจดหมายลาครู การเขียนบนั ทึกประจำวนั
๕. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ การเขียนจดหมายลาครู
๖. มมี ารยาทในการเขียน การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ ภาพ และหัวขอ้ ทกี่ ำหนด
มารยาทในการเขยี น เช่น

- เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆา่
- ไมข่ ดี เขยี นในที่สาธารณะ
- ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และบคุ คล
- ไมเ่ ขียนลอ้ เลยี นผ้อู ื่นหรือทำใหผ้ ู้อืน่ เสยี หาย

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ใน

โอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้

๑. เล่ารายละเอยี ดเกี่ยวกบั เร่ืองที่ฟงั และดูทง้ั ท่ี การจบั ใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ และความรู้สกึ จากเรอ่ื ง
เปน็ ความร้แู ละความบันเทิง ทฟ่ี งั และดทู ง้ั ทีเ่ ปน็ ความรแู้ ละความบนั เทิง เช่น
๒. บอกสาระสำคญั จากการฟังและการดู
๓. ต้ังคำถามและตอบคำถามเกีย่ วกบั เร่ืองที่ฟัง - เรอ่ื งเลา่ และสารคดีสำหรับเด็ก
- นทิ าน การ์ตนู เร่ืองขบขัน
และดู - รายการสำหรบั เดก็
๔. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรสู้ กึ จากเรื่อง - ข่าวและเหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจำวัน
- เพลง
ท่ีฟังและดู
๕. พดู สื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์ การพดู สื่อสารในชีวติ ประจำวัน เช่น
- การแนะนำตนเอง
๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู - การแนะนำสถานท่ีในโรงเรียนและ
ในชุมชน
- การแนะนำ/เชิญชวนเกยี่ วกับการปฏิบตั ติ นในด้านต่างๆ
เช่น การรกั ษาความสะอาดของร่างกาย
- การเล่าประสบการณใ์ นชวี ิตประจำวนั
- การพดู ในโอกาสต่างๆ เชน่ การพดู ขอรอ้ ง
การพูดทักทาย การกล่าวขอบคณุ และ
ขอโทษ การพูดปฏเิ สธ และการพูดชกั ถาม

มารยาทในการฟัง เช่น
- ตั้งใจฟัง ตามองผู้พดู
- ไมร่ บกวนผอู้ ืน่ ขณะที่ฟัง
- ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองด่มื ไปรบั ประทานขณะที่ฟงั
- ไม่แสดงกริ ยิ าที่ไม่เหมาะสม เช่น โห่ ฮา หาว
- ให้เกยี รติผู้พูดด้วยการปรบมือ
- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะที่ฟงั

มารยาทในการดู เชน่
- ตัง้ ใจดู
- ไม่ส่งเสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผู้อน่ื

มารยาทในการพดู เช่น
- ใช้ถ้อยคำและกริ ิยาท่สี ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ
- ใช้นำ้ เสียงนมุ่ นวล
- ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะทีผ่ ู้อื่นกำลงั พูด
- ไมพ่ ูดล้อเลียนใหผ้ ้อู นื่ ได้รบั ความอบั อาย
หรอื เสียหาย

สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ

ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้

๑. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย - การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ นเปน็ คำ
ของคำ - มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- การผันอกั ษรกลาง อกั ษรสูง และอักษรต่ำ
๒. ระบชุ นดิ และหนา้ ท่ีของคำในประโยค - คำท่มี ีพยญั ชนะควบกลำ้
๓. ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำ - คำทม่ี ีอกั ษรนำ
๔. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ - คำทป่ี ระวสิ รรชนยี ์และคำที่ไมป่ ระวิสรรชนยี ์
- คำที่มี ฤ ฤา
๕. แต่งคำคล้องจองและคำขวญั - คำที่ใช้ บนั บรร
๖. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถ่ิน - คำที่ใช้ รร
ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ - คำทีม่ ตี ัวการนั ต์
- ความหมายของคำ

ชนิดของคำ ไดแ้ ก่
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกรยิ า

การใชพ้ จนานุกรม

การแตง่ ประโยคเพื่อการสอื่ สาร ได้แก่
- ประโยคบอกเลา่
- ประโยคปฏิเสธ
- ประโยคคำถาม
- ประโยคขอร้อง
- ประโยคคำสั่ง

- คำคลอ้ งจอง
- คำขวัญ

- ภาษาไทยมาตรฐาน
- ภาษาถนิ่

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง

ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้

๑. ระบขุ ้อคิดท่ีไดจ้ ากการอา่ น วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้ืนบ้าน
วรรณกรรมเพ่ือนำไปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั - นิทานหรือเรือ่ งในท้องถิ่น

๒. รูจ้ กั เพลงพืน้ บ้านและเพลงกลอ่ มเด็ก เพื่อ - เร่อื งสั้นงา่ ยๆ ปรศิ นาคำทาย
ปลกู ฝังความช่ืนชมวฒั นธรรมท้องถน่ิ
- บทร้อยกรอง
๓. แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับวรรณคดี
ทอี่ า่ น - เพลงพน้ื บ้าน

๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ย - เพลงกลอ่ มเด็ก
กรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจ
- วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรยี นและ ตามความสนใจ
บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคุณคา่

- บทอาขยานตามท่ีกำหนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ

ข้อตกลงในการวัด-ประเมนิ ผล

ปีการศึกษา ๒๕๖4

ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รายละเอยี ดในการวัด-ประเมินผล

อตั ราส่วน คะแนนระหว่างปีการศกึ ษา : คะแนนปลายปีการศึกษา = 70 : 30

โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

การประเมิน คะแนน ตวั ช้วี ดั /ผลการ วิธีวดั ชนิดของเคร่ืองมือวดั เวลาท่ีใช้

เรียนรขู้ ้อท่ี (นาที/คร้ัง)

ระหว่างปีการศึกษา 70 ท ๑.๑ ป.๒/๑, ทดสอบท้ายหน่วย แบบทดสอบท้ายหนว่ ย ตลอดปี

ป.๒/๒, ป.๒/๓, การศึกษา

ป.๒/๔, ป.๒/๕, ประเมินการอ่านออก แบบประเมินการอ่าน

ป.๒/๖, ป.๒/๗, เสยี ง ออกเสียง
ป.๒/๘ ประเมินการพูดแสดง แบบประเมินการพูด
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ความคิดเห็น
แสดงความคดิ เห็น
ป.๒/๒, ป.๒/๓, ประเมินการนำเสนอ แบบประเมนิ การนำเสนอ
ป.๒/๔ ผลงาน
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ผลงาน
ป.๒/๒, ป.๒/๓,
ป.๒/๔, ป.๒/๕, สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ
ป.๒/๖, ป.๒/๗ ทำงานรายบคุ คล ทำงานรายบุคคล
ท ๔.๑ ป.๒/๑,
สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม

ป.๒/๒, ป.๒/๓, สังเกตคุณลักษณะอันพึง แบบสงั เกตคุณลกั ษณะ
ป.๒/๔, ป.๒/๕ ประสงค์ อนั พึงประสงค์

ปลายปีการศึกษา 30 ท ๕.๑ ป.๒/๑, ทดสอบ แบบทดสอบ 60 นาที

ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม 100

ลงชือ่ .....................................ครผู สู้ อนประจำวิชา
(นางสาวสุวรยี ์ จึงเจรญิ รตั น์)

ลงชอื่ ...................................ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
(นางบญุ นภสั บญุ ไทร)




Click to View FlipBook Version