The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการอบรม ครูผู้ช่วย นางสาวฐิติพร พาสี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by moobbell2, 2021-01-24 23:53:24

รายงานผลการอบรม ครูผู้ช่วย นางสาวฐิติพร พาสี

รายงานผลการอบรม ครูผู้ช่วย นางสาวฐิติพร พาสี

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร โทร.035 - 371509

ที่ ศธ.๐๒๑๐.๔๘๐๕/ วนั ที่ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖3

เรื่อง สรปุ ผลการอบรมโครงการอบรมพฒั นาตามหลักสูตรการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม

ตำแหน่งครผู ้ชู ว่ ย สงั กดั สำนักงาน กศน.กลุ่มเจา้ พระยาป่าสกั

เรียน ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร

ตามที่ หนังสือ ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘/๖๔๓ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๓ แจ้งให้นางสาวฐิติพร พาสี ตำแหน่ง
ครูผู้ช่วย สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ให้เข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตร
การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผูช้ ว่ ย สังกดั สำนักงาน กศน.กลมุ่ เจ้าพระยาปา่ สัก ระหว่างวันท่ี
๑๔ - ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการเข้าร่วม
โครงการใหท้ ราบดังรายละเอยี ด

๑. การอบรมโครงการอบรมหลักสูตรการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัด
สำนักงาน กศน.กลุ่มเจ้าพระยาป่าสัก ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการ
พัฒนาและประเมินผลการพัฒนาครูผู้ช่วย โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์เป้าหมาย หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก .ค.ศ
กำหนด

๒. เนอ้ื หาและหวั ขอ้ การอบรม มดี งั นี้
๑. วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ประกอบด้วย
๑.๑ วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั
๑.๒ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๑.๓ จรรยาบรรณวิชาชพี
๑.๔ การดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๕ จิตวิญญาณความเป็นครู
๑.๖ จิตสำนกึ ความรบั ผดิ ชอบในวิชาชพี ครู
๒. การจัดการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย
๒.๑ การวเิ คราะห์หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัดผลการเรียนรู้
๒.๒ การออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั และสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ
๒.๓ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญและสง่ เสรมิ กระบวนการคิด
๒.๔ การเลอื ก หรอื สร้าง หรือพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยี และแหลง่ เรยี นรู้
๒.๕ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

/๓. การบริหารจัดการช้ันเรียน...

-๒-

๓. การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น ประกอบดว้ ย
๓.๑ การจดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรยี นรู้
๓.๒ ระบบดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รียน
๓.๓ การอบรมบ่มนสิ ยั ใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

๔. การมสี ่วนร่วมการพัฒนาในสถานศึกษาและชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ประกอบด้วย
๔.๑ การทำงานเปน็ ทีม
๔.๒ งานกิจกรรมตามภารกจิ บรหิ ารงานของสถานศึกษา
๔.๓ ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี

๕. ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดจิ ิทัล ประกอบดว้ ย
๕.๑ ทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อพฒั นาตนเอง
๕.๒ ทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียน
๕.๓ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการสื่อสาร

๓. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการอบรม แนวทางในการนำความรู้ ทักษะทไี่ ดร้ ับจากการฝึกอบรมครง้ั น้ี
๓.๑ ไดท้ ราบหลกั เกณฑว์ ธิ ีการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครผู ู้ช่วย สังกัด

สำนักงาน กศน.กลุ่มเจ้าพระยาป่าสกั

๓.๒ แนวทางการนำความรแู้ ละทักษะที่ไดร้ ับจากการฝึกอบรม ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการ
ปฏิบัติงานใหถ้ ูกต้องตามระเบียบตอ่ ไป

๔. เอกสารทไ่ี ดร้ บั จากการไปราชการ / การอบรม มดี ังต่อไปนี้ คือ
๔.๑ เอกสารประกอบการบรรยายหลกั สตู รเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย
๔.๒ หนังสอื หลักเกณฑ์และวิธีการเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย จำนวน ๑ ชุด
๔.๓ หนังสือแบบประเมินการเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผูช้ ่วย จำนวน ๑ ชุด
จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

(นางสาวฐติ ิพร พาสี)
ครูผู้ช่วย

ทราบ

(นางสาวหทยั รตั น์ ศิริแกว้ )
ครูผชู้ ว่ ย

รกั ษาการ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร

คำนำ

เอกสารสรุปผลการอบรม โครงการอบรมหลกั สตู รการเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหนง่
ครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงาน กศน.กลุ่มเจ้าพระยาป่าสัก ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เล่มนี้จัดทำขึน้ เพื่อสรุปผลจากการอบรบ ที่ได้ทราบหลักเกณฑ์วธิ ีการเตรียมความพรอ้ มและ
พฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย สงั กดั สำนกั งาน กศน.กลุ่มเจ้าพระยาป่าสัก และแนวทางการนำความรู้และทักษะท่ี
ได้รับจากการฝึกอบรม ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏบิ ัติงานให้ถูกต้องตามระเบียบต่อไป โดยแนวทางการอบรม
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการพัฒนาและประเมินผลการพัฒนาครูผู้ชว่ ย โดยให้
เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์เป้าหมาย หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่ี ก.ค.ศ กำหนด

ผู้จดั ทำหวงั ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผ้ทู ่ีต้องการศึกษาด้านการพัฒนาหลักสูตรการเตรียม
ความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย ตอ่ ไป

นางสาวฐติ ิพร พาสี
ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย

สารบัญ หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข
หลักสูตรการเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย สงั กัดสำนักงาน กศน. ๑
หมวด ๑ วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ๑

๑.๑ วินัยและการรักษาวินัย ๑
๑.๒ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑
๑.๓ จรรยาบรรณวิชาชพี ๒
๑.๔ การดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒
๑.๕ จิตวิญญาณความเป็นครู ๒
๑.๖ จติ สำนึกความรับผดิ ชอบในวิชาชพี ครู ๓
หมวด ๒ การจัดการเรยี นการสอน ๓
๒.๑ การวิเคราะห์หลักสตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ดั ผลการเรียนรู้ ๓
๒.๒ การออกแบบการจัดการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญและสง่ เสรม
กระบวนการคิด ๓
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียรรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ และสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ ๔
๒.๔ การเลือก หรือสรา้ ง หรือพัฒนาส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ๔
๒.๕ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ๕
หมวด ๓ การบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น ๕
๓.๑ การจดั สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศท่เี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ ๕
๓.๒ ระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น ๕
๓.๓ การอบรมบม่ นิสยั ใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
และ ค่านยิ มที่ดงี าน ๕
หมวด ๔ การมีส่วนร่วมการพฒั นาในสถารศกึ ษาและชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ๕
๔.๑ การทำงานเป็นทีม ๖
๔.๒ งานกจิ กรรมตามภารกิจบริหารงานสถานศึกษา ๖
๔.๓ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ๗
หมวด ๕ ทกั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยีดิจทิ ลั ๗
๕.๑ ทักษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ พฒั นาตนเอง ๗
๕.๒ ทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่อื พัฒนาผู้เรยี น ๗
๕.๓ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการสื่อสาร ๙
บรรณานกุ รม

สรปุ ผลการอบรมโครงการอบรมหลักสูตรการเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้
ตำแหน่งครูผชู้ ว่ ย สังกดั สำนักงาน กศน. กลุ่มเจ้าพระยาป่าสัก
ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๔ - ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๓
ณ โรงแรมกรงุ ศรรี ิเวอร์ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

สรุปผลการอบรมโครงการอบรมหลักสตู รการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม
ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย สงั กัดสำนกั งาน กศน. กลมุ่ เจ้าพระยาป่าสัก
ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓
ณ โรงแรมกรงุ ศรรี ิเวอร์ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

*********************************************************************************************************

วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๓

๐๗.๐๐ – ๐๗.๓๐ น. ลงทะเบยี น
๐๗.๓๐ – ๐๘.๐๐ น. ปฐมนเิ ทศ โดย อาจารย์สาธิต เจรรี ตั น์ และคณะ
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. พธิ เี ปดิ โดย นายวสันต์ รชั ชวงษ์ ประธานกล่มุ เจา้ พระยาปา่ สัก
๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. หมวด ๑ วินยั คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี

โดย นายสจั จา วงศาโรจน์ อดีตผอู้ ำนวยการ กลุ่มเจา้ หน้าท่ี
๑.๑ วนิ ัย และการรักษาวินัย
พ.ร.บ. ระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดก้ ำหนวดไวใ้ น หมวด ๖ วนิ ัยและการ
รกั ษาวนิ ยั สรปุ ไดด้ ังน้ี
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาต้องรกั ษาวินยั ทบี่ ัญญตั ิเป็นข้อห้ามและข้อปฏบิ ัติไว้ในหมวดนีโ้ ดย
เคร่งครัดอย่เู สมอ

หมวด ๖
วนิ ยั และการรกั ษาวินัย
มาตรา ๘๒ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวนิ ยั ท่บี ัญญัติเป็นข้อหา้ มและข้อปฏิบตั ิไว้ใน
หมวดนโี้ ดยเคร่งครัดอยเู่ สมอ
มาตรา ๘๓ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยด้วยความบริสทุ ธ์ใิ จและมหี น้าท่วี างรากฐานให้
เกดิ ระบอบการปกครองเช่นว่านั้น
มาตรา ๘๔ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการ ดว้ ยความซ่ือสัตยส์ จุ ริต เสมอ
ภาคและเทีย่ งธรรม มคี วามวริ ิยะ อุตสาหะ ขยันหม่ันเพียร ดแู ลเอา ใจใส่ รกั ษาประโยชน์ของทางราชการ และต้อง
ปฏิบัตติ นตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี อย่างเคร่งครดั หา้ มมใิ ห้อาศัยหรือยอมใหผ้ อู้ น่ื อาศยั อำนาจและหน้าที่
ราชการของตน ไมว่ ่าจะโดยทางตรงหรอื ทางอ้อม หาประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองหรือผู้อื่น การปฏิบตั หิ รอื ละเว้นการปฏบิ ัติ
หนา้ ทีร่ าชการโดยมชิ อบ เพอ่ื ให้ตนเองหรือผู้อน่ื ไดร้ ับประโยชนท์ ีม่ คิ วรได้ เป็นการทจุ ริตต่อหนา้ ท่รี าชการ เป็น
ความผิดวินัยอย่างรา้ งแรง
มาตรา ๘๕ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาต้องปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ
แบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศกึ ษา มติคณะรัฐมนตรี หรอื นโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสดุ ของ
ผเู้ รยี น และไม่ใหเ้ กิดความเสยี หายแกท่ างราชการ การปฏิบัติหนา้ ทรี่ าชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ
แบบแผนของ ทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มตคิ ณะรฐั มนตรีหรอื นโยบายของรัฐบาล ประมาทเลนิ เล่อ หรอื

ขาดการเอาใจใส่ระมดั ระวังรักษาประโยชนข์ องทางราชการ อนั เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย แกร่ าชการอยา่ งรา้ ยแรง
เป็นความผิดวินัยอยา่ งร้ายแรง

มาตรา ๘๖ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาต้องปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังของ ผบู้ ังคับบัญชาซง่ึ ส่ังในหนา้ ท่ี
ราชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไมข่ ัดขนื หรือหลีกเลี่ยงแต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคำสัง่
น้ันจะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรอื จะเป็นการไมร่ ักษาประโยชนข์ องทางราชการจะเสนอความเหน็ เปน็ หนังสือภายใน
เจด็ วนั เพื่อใหผ้ ู้บังคับบัญชาทบทวนคำสงั่ นนั้ ก็ไดแ้ ละเม่อื เสนอความเห็นแลว้ ถา้ ผู้บงั คบั บัญชายืนยันเป็น หนังสือให้
ปฏบิ ตั ิตามคำสงั่ เดิม ผอู้ ยูใ่ ตบ้ ังคบั บญั ชาจะต้องปฏิบตั ติ าม การขัดคำสง่ั หรือหลีกเลีย่ งไม่ปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั ของ
ผบู้ งั คบั บญั ชา ซง่ึ สัง่ ในหนา้ ที่ ราชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแก่
ราชการอย่างรา้ ยแรง เปน็ ความผดิ วินัยอยา่ งร้ายแรง

มาตรา ๘๗ ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาต้องตรงตอ่ เวลา อุทิศเวลา ของตนใหแ้ ก่ทางราชการและ
ผู้เรยี น จะละทิ้งหรือทอดท้ิงหนา้ ท่รี าชการโดยไม่มเี หตุผลอันสมควร มไิ ด้ การละทิง้ หนา้ ที่หรอื ทอดทงิ้ หน้าท่ีราชการ
โดยไมม่ ีเหตุผลอนั สมควร เปน็ เหตุให้ เสยี หายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือการละท้ิงหนา้ ทร่ี าชการติดต่อในคราว
เดยี วกันเป็นเวลาเกนิ กวา่ สบิ หา้ วัน โดยไม่มเี หตผุ ลอันสมควรหรอื โดยมพี ฤติการณ์อันแสดงถงึ ความจงใจไมป่ ฏบิ ัตติ าม
ระเบยี บของทางราชการเป็นความผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง

มาตรา ๘๘ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤตเิ ปน็ แบบอยา่ ง ท่ีดีแกผ่ ู้เรียน ชมุ ชน สังคม มี
ความสุภาพเรยี บรอ้ ย รักษาความสามคั คี ช่วยเหลอื เก้ือกลู ตอ่ ผเู้ รยี น และระหว่างขา้ ราชการดว้ ยกนั หรอื ผูร้ ว่ มปฏบิ ตั ิ
ราชการ ต้อนรับ ใหค้ วามสะดวก ใหค้ วามเปน็ ธรรมแก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาตดิ ต่อราชการ การกลนั่ แกล้ง ดูหม่นิ
เหยียดหยาม กดข่ี หรือขม่ เหงผู้เรยี น หรือประชาชนผมู้ า ติดต่อราชการอย่างรา้ ยแรง เป็นความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรง

มาตรา ๘๙ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งไม่กล่ันแกล้ง กล่าวหา หรอื ร้องเรียนผู้อื่นโดย
ปราศจากความเปน็ จรงิ การกระทำตามวรรคหนง่ึ ถ้าเป็นเหตใุ ห้ผ้อู ่ืนได้รบั ความเสยี หายอยา่ งร้ายแรง เป็นความผิดวนิ ยั
อยา่ งรา้ ยแรง

มาตรา ๙๐ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทำการหรือยอม ใหผ้ ู้อื่นกระทำการหา
ประโยชน์อนั อาจทำให้เสอื่ มเสียความเที่ยงธรรมหรอื เส่ือมเสยี เกยี รตศิ กั ด์ิใน ตำแหนง่ หน้าท่รี าชการของตน

การกระทำตามวรรคหน่ึง ถา้ เป็นการกระทำโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อ ขาย หรือใหไ้ ด้รบั แตง่ ตงั้ ให้
ดำรงตำแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย หรือเป็นการ กระทำอนั มลี ักษณะเป็นการให้ หรือได้มาซง่ึ
ทรพั ยส์ นิ หรอื สิทธิประโยชนอ์ ่ืน เพ่อื ให้ตนเองหรือ ผู้อืน่ ไดร้ ับการบรรจแุ ละแตง่ ต้ังโดยมิชอบหรือเสื่อมเสยี ความเท่ยี ง
ธรรม เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ ง รา้ ยแรง

มาตรา ๙๑ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งไม่คดั ลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวชิ าการของผูอ้ ืน่
โดยมชิ อบ หรอื นำเอาผลงานทางวชิ าการของผูอ้ ื่น หรือจ้าง วาน ใชผ้ ูอ้ ื่นทำผลงานทางวิชาการเพ่ือไปใชใ้ นการเสนอขอ
ปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การเล่อื นตำแหน่ง การเล่ือนวทิ ยฐานะหรอื การให้ไดร้ ับเงนิ เดอื นในระดับท่สี ูงขึน้ การฝ่า
ฝืนหลักการดงั กลา่ วนี้ เป็นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทีร่ ่วมดำเนินการคัดลอกหรือลอกเลียน ผลงานของผ้อู น่ื โดยมิชอบ
หรอื รับจดั ทำผลงานทางวิชาการไมว่ ่าจะมีคา่ ตอบแทนหรอื ไม่ เพ่อื ให้ ผู้อื่นนำผลงานนนั้ ไปใช้ประโยชน์ในการ
ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง เปน็ ความผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรง

มาตรา ๙๒ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งไม่เป็นกรรมการ ผู้จดั การ หรือผู้จดั การ หรอื ดำรง
ตำแหนง่ อน่ื ใดทม่ี ีลักษณะงานคลา้ ยคลงึ กนั นั้นในหา้ งหนุ้ สว่ นหรือบรษิ ัท

มาตรา ๙๓ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็นกลาง ทางการเมอื งในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
และในการปฏิบตั กิ ารอนื่ ทเี่ ก่ียวข้องกบั ประชาชน โดยต้องไม่อาศัยอำนาจและหน้าทีร่ าชการของตนแสดงการฝักใฝ่
ส่งเสริม เกื้อกลู สนับสนนุ บคุ คล กลมุ่ บคุ คล หรือพรรคการเมอื งใด ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาต้องไมเ่ ขา้
ไปเกีย่ วข้องกับการดำเนนิ การใด ๆ อนั มีลักษณะเป็นการทุจริตโดยการซอื้ สิทธหิ รอื ขายเสียงในการเลอื กต้งั สมาชกิ
รฐั สภาสมาชกิ สภาท้องถน่ิ ผู้บรหิ ารทอ้ งถ่นิ หรือการเลือกตั้งอื่นท่มี ีลักษณะเปน็ การส่งเสริมการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยรวมทง้ั จะต้องไม่ให้การส่งเสรมิ สนับสนนุ หรือชกั จูงใหผ้ ู้อ่นื กระทำการใน ลักษณะเดยี วกนั การ
ดำเนนิ การท่ีฝา่ ฝืนหลักการดงั กลา่ วน้ี เป็นความผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรง

มาตรา ๙๔ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งรักษาชอื่ เสียงของตน และรกั ษาเกียรตศิ กั ดิ์ของ
ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เส่ือมเสยี โดยไม่กระทำการใด ๆ อนั ได้ชอ่ื วา่ เป็นผปู้ ระพฤติชั่วการกระทำความผดิ
อาญาจนไดร้ บั โทษจำคุก หรอื โทษท่ีหนักกวา่ จำคกุ โดยคำพิพากษาถึงทีส่ ุดใหจ้ ำคุกหรือให้รบั โทษที่หนกั กว่าจำคุก เวน้
แต่เปน็ โทษสำหรบั ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหโุ ทษ หรือกระทำการอ่นื ใดอันใดชือ่ วา่ เป็นผู้
ประพฤตชิ วั่ อยา่ งร้ายแรง เปน็ ความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรง

ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีเสพยาเสพติดหรือสนับสนุนให้ผอู้ ่นื เสพยาเสพติด เล่นการพนนั เป็น
อาจณิ หรอื กระทำการลว่ งละเมดิ ทางเพศต่อผเู้ รยี นหรือนักศึกษา ไมว่ า่ จะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของตนหรือไม่ เป็น
ความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา ๙๕ ใหผ้ ูบ้ งั คับบญั ชามหี น้าท่ีเสรมิ สร้างและพัฒนาให้ผ้อู ย่ใู ต้บงั คบั บัญชามีวินยั ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้
บังคบั บัญชากระทำผดิ วินยั และดำเนินการทางวินยั แกผ่ ู้อยู่ใต้ บงั คบั บัญชาซง่ึ มกี รณีอนั มีมลู ท่คี วรกลา่ วหาว่ากระทำผดิ
วินัย การเสริมสรา้ งและพัฒนาให้ผู้อยู่ใตบ้ งั คับบัญชามวี ินยั ใหก้ ระทำโดยการปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี การฝึกอบรม
การสร้างขวัญและกำลงั ใจ การจงู ใจ หรอื การอืน่ ใดในอนั ที่จะเสริมสรา้ งและพัฒนาเจตคติ จิตสำนกึ และพฤติกรรมของ
ผู้อยใู่ ตบ้ งั คับบัญชาใหเ้ ป็นไปในทางที่มวี ินัย

การปอ้ งกันมิให้ผู้อย่ใู ตบ้ ังคับบัญชากระทำผิดวินยั ให้กระทำโดยการเอาใจใสส่ ังเกตการณ์และขจัดเหตุท่ีอาจ
ก่อให้เกดิ การกระทำผิดวินยั ในเร่ืองอันอยู่ในวิสัยท่จี ะดำเนินการปอ้ งกันตามควรแก่กรณีไดเ้ ม่ือปรากฏกรณมี มี ลู ทค่ี วร
กลา่ วหาวา่ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวนิ ัยโดยมีพยานหลกั ฐานในเบื้องต้นอยแู่ ลว้ ให้
ผูบ้ ังคับบัญชาดำเนนิ การทางวินยั ทันทีเมื่อมกี ารกลา่ วหาโดยปรากฏตวั ผู้กล่าวหาหรือกรณเี ป็นท่ีสงสยั วา่ ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาผใู้ ดกระทำผดิ วินัยโดยยังไม่มีพยานหลกั ฐาน ใหผ้ ูบ้ งั คับบัญชารีบดำเนินการสืบสวนหรอื
พจิ ารณาในเบื้องต้นวา่ กรณีมีมลู ท่คี วรกลา่ วหาว่าผ้นู ัน้ กระทำผดิ วนิ ัยหรือไม่ ถ้าเหน็ ว่ากรณไี ม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่า
กระทำผดิ วินยั จึงจะยตุ เิ รื่องได้ ถ้าเห็นว่ากรณีมีมลู ที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินยั กใ็ หด้ ำเนนิ การทางวินัยทนั ทกี าร
ดำเนนิ การทางวนิ ยั แก่ผอู้ ยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมลู ที่ควรกล่าวหาวา่ กระทำผดิ วินัยให้ดำเนินการตามทบ่ี ญั ญัติ
ไวใ้ นหมวด ๗ ผูบ้ ังคบั บัญชาผู้ใดละเลยไมป่ ฏบิ ตั หิ น้าท่ตี ามมาตราน้ีและตามหมวด ๗ หรือมี พฤติกรรมปกป้อง
ช่วยเหลือเพื่อมิใหผ้ อู้ ยู่ใต้บังคับบัญชาถูกลงโทษทางวินยั หรือปฏิบัติหนา้ ที่ ดงั กล่าวโดยไม่สจุ ริตให้ถือวา่ ผนู้ ้นั กระทำผิด
วนิ ัย

มาตรา ๙๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดฝ่าฝนื ข้อห้ามหรือไม่ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ปฏิบัติทางวินยั
ตามทีบ่ ัญญัติไวใ้ นหมวดน้ี ผู้นั้นเป็นผ้กู ระทำผิดวินัย จกั ต้องได้รบั โทษทางวินยั เวน้ แต่มีเหตอุ นั ควรงดโทษตามท่บี ัญญัติ
ไวใ้ นหมวด ๗ โทษทางวนิ ัยมี ๕ สถาน คอื

(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตดั เงนิ เดือน
(๓) ลดข้นั เงนิ เดือน
(๔) ปลดออก
(๕) ไลอ่ อก
ผูใ้ ดถกู ลงโทษปลดออก ใหผ้ ู้นั้นมสี ิทธไิ ดร้ บั บำเหนจ็ บำนาญเสมือนวา่ เป็นผู้ ลาออกจากราชการ
มาตรา ๙๗ การลงโทษข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้ทำเป็นคำสงั่ วธิ ีการออกคำสั่งเกีย่ วกบั การ
ลงโทษให้เปน็ ไปตามระเบยี บของ ก.ค.ศ. ผูส้ ่งั ลงโทษต้องส่ังลงโทษ ใหเ้ หมาะสมกบั ความผดิ และมิให้เปน็ ไปโดย
พยาบาท โดยอคติหรอื โดยโทสะจรติ หรือลงโทษผทู้ ี่ ไมม่ ีความผดิ ในคำส่งั ลงโทษให้แสดงวา่ ผ้ถู กู ลงโทษกระทำผดิ วนิ ัย
ในกรณใี ด ตามมาตราใด และมีเหตผุ ลอย่างใดในการกำหนดสถานโทษเชน่ นั้น

๑.๒ คณุ ธรรม จริยธรรม
คุณธรรม หมายถึง หลกั ของความดีความงาม ความถูกตอ้ ง ซ่ึงจะแสดงออกมาโดยการกระทำ ทางกาย วาจา
และจิตใจของแตล่ ะบุคคล ซ่ึงเป็นหลักประจำใจในการประพฤตปิ ฏิบตั ิจนเกิดเป็นนิสยั เป็นส่งิ ท่มี ี ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
ผูอ้ น่ื และสงั คมใหเ้ กิดความรักสามัคคี ความอบอนุ่ ม่ันคงในชวี ิต
จริยธรรม แยกออกเปน็ จรยิ + ธรรม ซ่งึ คำว่า จริย หมายถึง ความประพฤตหิ รือกริ ยิ าทค่ี วรประพฤติ ส่วนคำ
ว่า ธรรม มคี วามหมายหลายประการ เช่น คุณความดี, หลักคำสอนของศาสนา, หลกั ปฏิบัติ เม่ือนำคำทั้งสองมารวมกัน
เป็น "จรยิ ธรรม" จงึ มคี วามหมายตามตัวอักษรวา่ "หลักแห่งความประพฤติ" หรือ "แนวทางของการประพฤต"ิ
จรยิ ธรรม เป็นส่งิ ทค่ี วรประพฤติ มที ม่ี าจากบทบญั ญตั หิ รือคำสั่งสอนของศาสนา หรอื ใครก็ไดท้ ี่เป็นผมู้ จี รยิ ธรรม และ
ไดร้ บั ความเคารพนับถอื มาแล้ว
คุณธรรมมีความสำคัญต่อครู คือ ครูที่มีคุณธรรมในตนเองจะเป็นหลักประกันคุณภาพของครูให้เป็นที่ยอมรับ
เช่อื ถอื ศรัทธาจากลูกศษิ ย์ ผปู้ กครองและบุคคลในชุมชนในสงั คม
คุณธรรมของวิชาชีพครตู ามหลักพทุ ธธรรม

หลักธรรมคำสอนขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ มีจำนวนมากมาย ท้งั นี้เพ่ือให้พุทธ-บริษทั เลอื กไป
ปฏิบัติ และในอดีตผทู้ ำหนา้ ท่ีเป็นครขู องสงั คมคือ พระภิกษุสงฆ์ ซ่งึ เปน็ ผ้มู ี จริยวตั รครองตนในศีลในธรรม ในทาง
พระพุทธศาสนาจึงยกยอ่ งครเู ปน็ ปูชนียบคุ คล เปน็ ผกู้ ระทำหน้าทย่ี กระดับวิญญาณของมนษุ ย์ใหส้ ูงขึ้น ในปัจจบุ ันครู
เปน็ วิชาชีพท่มี หี ลกั วชิ าเฉพาะทาง มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ ภาระงานความรบั ผดิ ชอบทช่ี ดั เจน และครยู งั ได้รบั การ
ยอมรบั ใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี เปน็ ผ้มู ีจิตใจสูงและเจรญิ ดว้ ยธรรม หากจะกล่าวถงึ คุณธรรมของครูตามแนว
พระพทุ ธศาสนา หรือตามหลักพุทธธรรม สามารถจำแนกคุณธรรมของครอู อกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะงานของ
ครดู ังตอ่ ไปนี้

คุณธรรมของครูเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ในการทำงานของครู ซ่งึ เป็นงานอบรมสง่ั สอนศษิ ยน์ ับเป็นงานทหี่ นัก ฉะน้ันในการทำงานเพ่อื ให้มี

ประสทิ ธิภาพของงานให้มากย่ิงขน้ึ ครตู อ้ งมคี ุณธรรมตามหลกั พุทธธรรมทีเ่ รียกวา่ อทิ ธิ-บาท 4 และอินทรีย์ 5 หรอื พล
ธรรม 5 หลกั คุณธรรมในการทำงาน ดังมรี ายละเอียดดงั นี้

อิทธิบาท 4 แปลตามคำศัพท์ อิทธิ แปลวา่ ฤทธ์ิ หรืออำนาจหรือความสำเรจ็ บาท แปลวา่ การกา้ ว
ไป หรอื การดำเนนิ ไปสู่ ฉะน้นั อทิ ธบิ าท จึงหมายถึง การดำเนินไปสู่ความสำเรจ็ ซงึ่ ประกอบดว้ ยองคธ์ รรม 4 ประการ
คอื

ฉนั ทะ คือ ความยนิ ดี พอใจในวชิ าชีพครู มีความรักความศรัทธาท่ีจะเปน็ ครเู มอ่ื ผ้ปู ระกอบวิชาชีพครู
เปน็ ครดู ว้ ยใจรกั มีความชอบ ยอ่ มมีความตั้งใจในการทำหน้าท่ีครู โดยมคี วามต้ังใจในการสอน มกี ารเตรยี มการสอนท่ี
เหมาะสมกบั เด็กตามวยั และความแตกต่างของเด็ก มีการสอนที่น่าสนใจ สนกุ สนาน ทำให้เด็กมคี วามรแู้ ละคณุ ธรรม
เพราะครจู ะสั่งสอนด้วยความรกั ความเมตตา ความหวังดี

วริ ิยะ คอื ความเพียรพยายามในการประกอบวชิ าชพี ครู โดยมีความเพียรพยายามทีจ่ ะสอนเด็กให้
ไดผ้ ลทง้ั ทางวชิ าการความรู้ และคุณธรรม โดยครจู ะไม่ย่อท้อในงานที่หนัก จะใช้ความขยัน ใชค้ วามเพยี ร ใชค้ วาม
พยายาม ในการพัฒนาศษิ ย์ใหเ้ ป็นคนทมี่ ีความรู้ ความสามารถควบคู่กับมคี ุณธรรม

จิตตะ คือ การเอาใจฝกั ใฝ่ในความเปน็ ครู คดิ เสมอว่าครูเป็นอาชีพสำคัญ ในการพัฒนาตนใหเ้ ป็น
มนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์จึงมีจติ เอาใจใสใ่ นการทำงานให้เกิดผลดีแก่ศิษย์ ต้ังใจในการศึกษาคน้ คว้าวชิ าการท่ีดที ีเ่ หมาะสมทจ่ี ะ
ฝกึ ฝนให้ศษิ ยม์ ีการพัฒนาในทุกดา้ น กลา่ วยอ่ ๆ กค็ ือ มีจิตฝักใฝใ่ นการทำหนา้ ท่ีของครใู ห้ดที สี่ ดุ

วมิ ังสา คือ การหมนั่ ตริตรอง คิดพจิ ารณาด้วยหลักเหตแุ ละผลในการทำหนา้ ที่ครวู ่าทำได้ดี มี
ประสทิ ธิภาพหรอื ไม่ มีงานอะไรทตี่ ้องทำเพ่ิมเติมเพ่ือการพัฒนาเดก็ ให้เกิดประสทิ ธผิ ลท่ีดีขึ้นมสี ิ่งใดทยี่ ังไมค่ ่อยดี ต้องมี
การพัฒนาปรบั ปรุงแก้ไข ก็พยายามแสวงหาแนวทางทเี่ หมาะสมในการแก้ไขส่ิงนัน้ เช่น คน้ หาวธิ กี ารสอนแบบใหม่ ๆ
ทเ่ี หมาะสมกบั เด็กในยคุ ปัจจบุ ันโดยการวิจยั

พละธรรม 5 แปลตามคำศัพท์ แปลว่า เปน็ ใหญ่ในหน้าที่ หรอื เป็นธรรมทเี่ ป็นกำลัง กล่าวคือ องค์
ธรรมนช้ี ว่ ยในการทำหนา้ ทีใ่ ห้ประสบความสำเรจ็ ประกอบดว้ ยองค์ธรรม 5 ประการ คือ

ศรทั ธาพละ คือ ศรัทธา ความเชื่อ
วริ ยิ ะพละ คือ วิรยิ ะหรือความเพียร
สติพละ คือสติ ความระลึกได้
สมาธพิ ละ คือ สมาธิหรอื ความต้งั ใจมนั่
ปญั ญาพละ คอื ปัญญา ความรอบรู้ ดงั รายละเอยี ดดงั น้ี
มรรคมอี งค์ 8 มรรค มาจากรากศัพท์ภาษาบาลี คือ มคฺค อา่ น มคั คะ แปลว่า ทาง แนวทาง หรือ
หนทาง ในทน่ี ี้หมายถึง หนทางแหง่ การดบั ทกุ ข์ เป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) คือ ทางท่นี ำไปส่กู ารพน้ ทุกข์ท่ี
พระพุทธเจ้าไดท้ รงตรัสรดู้ ว้ ยปัญญา มี 8 ประการ จดั เป็น 3 หมวดหมู่ได้เป็น ศลี (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ
สมั มาอาชวี ะ) สมาธิ (สมั มาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธ)ิ ปัญญา (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกปั ปะ) ดังน้ี

พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมของพรหม เป็นธรรมอันประเสริฐของผู้ที่ทำหน้าทเี่ ป็นทพี่ ึ่งของผอู้ น่ื ผู้
เป็นผนู้ ำ ผู้เป็นผใู้ หญ่ ซงึ่ บคุ คลท่ีเปน็ ครตู อ้ งมีธรรมน้ีประจำใจดงั นี้

เมตตา คือ ความคิดปรารถนาดี ตอ้ งการใหผ้ ู้อ่ืนมีความสขุ มคี วามรกั ผู้อ่ืน ปรารถนาเกอ้ื กลู ให้ผ้อู ืน่
พน้ จากทุกข์ ซึ่งบคุ คลที่เปน็ ครูต้องมีคุณธรรมข้อนโี้ ดยครตู ้องมีความรกั ความปรารถนาดีต่อศิษย์ ชว่ ยเหลือศษิ ย์ใหม้ ี
ความสุข มีความเจริญกา้ วหน้าในการดำเนนิ ชีวิต คอยระวงั มใิ หศ้ ิษย์ตกไปสคู่ วามประมาทอันเป็นหนทางนำไปสู่
ความเสื่อม เช่น เกียจครา้ นในการเลา่ เรยี น เท่ยี วเตร่เสเพล

กรุณา คือ ความสงสารและชว่ ยให้ผอู้ ่นื พ้นจากความทุกข์ ความเดอื ดร้อน โดยลงมือปฏิบตั ิ
ชว่ ยเหลอื ในสิ่งทท่ี ำได้โดยผู้เป็นครจู ะต้องมีความสงสารเอ็นดูศิษย์ให้ความรักความเขา้ ใจ ให้ความอบอนุ่ และชว่ ยเหลือ
ศษิ ย์ให้พน้ จากความทุกข์ พน้ จากอวิชชา ความไมร่ ู้ ใหไ้ ดร้ ู้ไดเ้ ห็นอยา่ งถูกต้อง ตามครรลองครองธรรม

มุทิตา คือ ความยินดเี มอ่ื ผู้อ่ืนได้ดหี รอื มคี วามสุขก็มใี จแช่มชนื่ เบกิ บานไปดว้ ย และพร้อมท่ีจะ
ช่วยเหลือสนบั สนนุ ไม่กีดกันริษยาเมื่อผู้อนื่ มีความสามารถมากกวา่ กล่าวคือ ผเู้ ป็นครูต้องแสดงความชนื่ ชมยนิ ดเี ม่ือ
ศิษยห์ รอื เพื่อนครูได้ดี ยกย่องเชิดชเู กยี รติใหป้ รากฏ เปน็ การให้กำลงั ใจ ทำให้ศษิ ยห์ รือผู้เกยี่ วข้องเกิดความภาคภูมใิ จใน
ตนเอง และมคี วามรู้สึกท่ีดีต่อครผู มู้ คี ณุ ธรรมนั้น

อเุ บกขา คือ ความวางเฉย วางใจเปน็ กลางไมเ่ อนเอียงไปเพราะความชอบ ความชงั ความเกลียด
หรอื ความกลวั ทำใจใหม้ ่นั คงต้งั อยู่ในความยตุ ธิ รรม เมื่อพิจารณาเหน็ ศิษยห์ รือผอู้ ืน่ ได้รับผลดี ผลชว่ั สมควรแก่เหตทุ เี่ ขา
กระทำมาก่อน ครยู ่อมวางเฉยไมเ่ ข้าขา้ ง ไม่ลำเอียง ไม่ใช่วา่ เป็นศษิ ย์รกั ศิษย์โปรด เวลาศษิ ย์ทำผดิ ก็เขา้ ข้างว่าถูก
เพราะรัก ฉะนน้ั การที่ครูจะมีอเุ บกขาได้ ครตู อ้ งใชส้ ตใิ ช้ปัญญาในการพจิ ารณาดว้ ยหลักเหตุและผล ประกอบด้วยจงึ จะ
วางใจเป็นกลางไดธ้ รรมท้ัง 4 ประการน้ี

สังควตั ถุ 4 เป็นธรรมทีย่ ึดเหนย่ี วนำ้ ใจคน หรอื ธรรมทชี่ ว่ ยให้มมี นษุ ยสัมพันธ์ท่ดี ีต่อกนั ซงึ่ หากครู
ประพฤตปิ ฏบิ ัติประจำ จะทำใหค้ รูมเี สนห่ ์ เป็นทรี่ ักของศิษย์ ประกอบดว้ ย

ทาน คือ การใหป้ ัน การเสียสละ ความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ การใหน้ ี้เปน็ การใหว้ ิชาการความรู้ ให้ความ
รกั ความห่วงใย ใหว้ ัตถุส่งิ ของท่ีเป็นประโยชน์แกผ่ ู้อืน่ รวมถึงการให้อภัยแกผ่ อู้ นื่ ซึ่งส่งผลให้สังคมอยกู่ นั อย่างสงบสุข

ปิยวาจา คือ การพดู จาไพเราะ พูดด้วยถ้อยคำสภุ าพ พูดด้วยนำ้ เสยี งนุ่มนวล พูดชี้แจงในสิ่งท่ีเป็น
ประโยชน์ พดู ใหก้ ำลงั ใจ ซึ่งงานของครูเกยี่ วข้องกบั การพูดเปน็ ส่วนใหญ่ ครจู ึงจำเปน็ ต้องมปี ิยวาจา เพ่ือก่อใหเ้ กิดความ
พึงพอใจแก่ผฟู้ ัง ซง่ึ อาจจะเป็นผ้ปู กครอง ผ้เู รยี นหรือเพื่อนครดู ว้ ยกนั

อัตถจรยิ า คือ การบำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่ืน เปน็ การปฏิบตั ิสง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ กนั การ
มีน้ำใจช่วยเหลือผ้อู น่ื โดยไมห่ วังผลตอบแทนด้วยกำลงั ความคิด กำลังกาย และกำลังทรัพย์ ซงึ่ ผู้ประกอบวิชาชพี ครูต้อง
มีธรรมในขอ้ น้ีเพ่ือทำสิ่งที่เป็นประโยชน์แกศ่ ษิ ย์

สมานัตตตา คือ การปฏิบัตติ น เสมอตน้ เสมอปลาย ทำตวั เปน็ กนั เองกับผอู้ ื่น ไมถ่ ือเขาถือเรา ผูก
มติ รกบั ผอู้ ืน่ ร่วมเผชญิ และแก้ปญั หาเพื่อประโยชนส์ ุขแกส่ ่วนรวม ซ่ึงผเู้ ปน็ ครพู ึงปฏิบตั เิ พือ่ สร้างความคนุ้ เคยเป็น
กันเองกับศิษย์ เพื่อผู้เป็นศิษย์จะกล้าซักถามในส่งิ ท่ีไม่รู้

สรุปได้ว่า การปลกู ฝงั คุณธรรมในครูต้องอาศยั ความรว่ มมอื จากหลายหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องท้ังภาครัฐ
และเอกชน โดยเฉพาะครุ ุสภาทีม่ ีหนา้ ทโ่ี ดยตรงกำหนดมาตรฐานคณุ ธรรมและจริยธรรมสำหรับครู โดยจดั โครงการต่าง
ๆ เพ่อื ส่งเสริมคุณธรรมครู โดยมวี ิธีการปลกู ฝัง ได้แก่ การปลูกฝงั โดยใช้กิจกรรมฝึกการอบรม การปลูกฝงั โดยใชเ้ พลง
การปลกู ฝงั โดยใช้คำประพันธ์ การปลกู ฝงั โดยการประกาศเกียรติคณุ ให้รางวลั

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. หมวด ๑ วินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี

โดย นายสัจจา วงศาโรจน์ อดตี ผู้อำนวยการ กลุ่มเจา้ หนา้ ท่ี
๑.๓ จรรยาบรรณวิชาชีพ
จรรยาบรรณในวชิ าชพี หมายถงึ ประมวลมาตรฐานความประพฤตทิ ี่ผปู้ ระกอบวิชาชีพจะต้องประพฤติปฏิบตั ิ
เปน็ แนวทางใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชีพปฏิบัติอย่างถูกต้องเพือ่ ผดุงเกยี รติและสถานะ ของวชิ าชีพนนั้ ก็ได้ผกู้ ระทำผดิ
จรรยาบรรณ จะตอ้ งไดร้ บั โทษโดยว่ากล่าว ตักเตอื น ถูกพักงาน หรือถูกยกเลิกใบประกอบวชิ าชีพได้
ความสำคญั
จรรยาบรรณในวชิ าจะเป็นสิง่ สำคัญในการท่จี ะจำแนกอาชีพว่าเป็นวชิ าชีพหรือไม่ อาชีพที่เป็น “วิชาชีพ” นนั้
กำหนดใหม้ ีองค์กรรองรับ และมกี ารกำหนดมาตรฐานของความประพฤติของผอู้ ยู่ในวงการวิชาชพี ซ่งึ เรยี กวา่
“จรรยาบรรณ“ สว่ นลกั ษณะ “วิชาชพี ” ที่ สำคญั คือ เป็นอาชีพที่มศี าสตร์ชัน้ สูงรองรบั มกี ารศึกษา
คน้ ควา้ วิจัยและพฒั นาวิชาชพี มีการจดั การสอนศาสตรด์ ังกล่าวในระดบั อดุ มศึกษาทั้งการสอนดว้ ยทฤษฏีและการ
ปฏิบตั จิ นผู้เรียนเกดิ ความชำนาญ และมปี ระสบการณ์ในศาสตร์น้นั นอกจากนจ้ี ะต้องมีองค์กรหรือสมาคมวชิ าชพี
ตลอดจนมี “จรรยาบรรณในวชิ าชีพ” เพ่อื ให้สมาชิกในวชิ าชพี ดำเนนิ ชีวิตตามหลกั มาตรฐานดงั กล่าวหลกั ที่กำหนดใน
จรรยาบรรณวิชาชพี ทัว่ ไป คือ แนวความประพฤติปฏบิ ัติท่ีมีต่อวชิ าชพี ต่อผเู้ รียน ต่อตนเอง และต่อสังคม
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู มีความสำคญั ต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับทีจ่ รรยาบรรณวิชาชพี มีความสำคญั ต่อวิชาชพี อน่ื ๆ ซึ่ง
สรปุ ได้ 3 ประการ คือ
๑. ปกป้องการปฏบิ ตั งิ านของสมาชิกในวิชาชีพ
๒. รกั ษามาตรฐานวิชาชีพ
๓. พฒั นาวิชาชพี
จรรยาบรรณของ วิชาชพี มี ๕ กลมุ่ ดงั น้ี
จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งมีวินัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวิชาชพี บคุ ลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้
ทันตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองอยเู่ สมอ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซื่อสตั ย์สจุ รติ รบั ผดิ ชอบตอ่ วิชาชีพ และเป็นสมาชกิ ทีด่ ขี อง
องค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ บั บรกิ าร
ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ ให้กำลงั ใจแกศ่ ิษย์ และผรู้ ับบรกิ าร
ตามบทบาทหน้าท่โี ดยเสมอหนา้
ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนรู้ ทกั ษะ และนสิ ัยท่ีถกู ต้องดงี ามแก่ศิษย์ และ
ผ้รู ับบรกิ าร ตามบทบาทหน้าทอ่ี ยา่ งเต็มความสามารถ ด้วยความบริสทุ ธใ์ิ จ
ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทดี่ ี ทัง้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ
ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏปิ ักษต์ ่อความเจริญทางกาย สตปิ ัญญา จิตใจ อารมณ์
และสังคมของศิษย์ และผ้รู บั บริการ

ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งให้บริการด้วยความจรงิ ใจและ เสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับหรอื ยอมรับ
ผลประโยชนจ์ ากการใช้ตำแหนง่ หน้าทโ่ี ดยมิชอบ

จรรยาบรรณต่อผ้รู ่วมประกอบวิชาชพี
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา พงึ ชว่ ยเหลือเกื้อกลู ซ่ึงกนั และกันอยา่ งสร้างสรรค์ โดยยึดมนั่ ในระบบคุณธรรม
สรา้ งความสามัคคใี นหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อสังคม
ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พึงประพฤติปฏิบัตติ นเปน็ ผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม
ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา สง่ิ แวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ สว่ นรวม และยดึ มั่นในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. หมวด ๑ วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
โดย นางอัญชลี ธรรมะวธิ ีกุล อดตี ศึกษานเิ ทศก์

๑.๔ การดำรงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทาง การดำรงชีวติ และปฏบิ ตั ิตนของประชาชนทุกระดับ
ตงั้ แต่ ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดบั รฐั ทัง้ ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั การพฒั นาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไป
ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือให้ ก้าวหน้าต่อการเปล่ยี นแปลงของโลก
เศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ อย่ำงไร
เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึง เศรษฐกจิ ท่สี ามารถอุ้มชตู ัวเองไดใ้ ห้มี ความพอเพียงกบั ตัวเอง (Self
Sufficiency) อยไู่ ด้โดยไม่สร้างความเดือดรอ้ นให้ตนเองและผอู้ ื่น ซ่ึงต้องสร้าง พนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของตนเองให้ดี
เสียกอ่ น มคี วามพอกินพอใช้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถ สรา้ งความเจริญกา้ วหนา้ และฐานะทางเศรษฐกจิ ของ
ประเทศได้
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปรัชญาท่ี ทุกๆ คน สามารถนาไปปฏิบตั ิในชีวิตประจำวนั ได้ ไม่ว่าจะเปน็
ตัวเราเอง นักเรียน เกษตรกร ขา้ ราชการ และประชาชนทวั่ ไป ตลอดจนบริษัท ห้างร้าน สถาบันต่าง ๆ ท้งั นอกภาค
การเกษตรและในภาคการเกษตร สามารถนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งดังกลา่ ว ไปปฏบิ ัติ เพอ่ื ดำรงชีวิตและพฒั นา
ธุรกิจการค้าไดจ้ รงิ การดำเนินชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงต้องตง้ั อยบู่ นพ้ืนฐานของ ทางสายกลาง และ ความไม่
ประมาท โดยคานึงถึงหลักการ ๓ ประการ ดงั นี้
๑. ความพอประมาณ
๒. ความมเี หตผุ ล
๓. การสรา้ งภมู ิคุ้มกันท่ีดีในตัว
โดยการดำเนนิ งานเศรษฐกิจพอเพยี งที่ดีจะต้องอยู่ภายใตเ้ ง่อื นไข ความรู้ และ คุณธรรม ตลอดจนตอ้ งเป็นคนดี
มีความอดทน พากเพยี ร ความพอประมาณ หมายถึง การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั การดำรงชวี ิต การดำเนินธรุ กจิ อยา่ ง
พอเพียงตามความสามารถ และศักยภาพของตนท่ีมอี ยู่ และต้องเป็นไปอยา่ ง มีเหตุผล ท่ี เหมาะสมตลอดจนพงึ นึกถึง
ผลท่จี ะเกดิ ขึ้นจากการกระทำน้นั ๆ การมภี มู คิ ุ้มกันที่ดีในตัว เปน็ การเตรยี มความพร้อม ความรู้ ทจี่ ะรบั ผลกระทบ และ
การ เปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ที่จะเกดิ ขน้ึ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีคาดวา่ จะ เกิดขึ้นในอนาคตท้ัง
ใกล้และไกล เพื่อป้องกันและลดความเสยี่ งจากการเปลยี่ นแปลง หรือทเ่ี ราได้ยนิ กันคุ้นหูกค็ อื 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข

การดำเนินการพัฒนาตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงจะนำไปสู่
๑. การดำรงชวี ิตท่ีสมดลุ มคี วามสขุ ตามอตั ภาพ
๒. การพฒั นาเศรษฐกจิ ของตนเองและประเทศชาตมิ นั่ คง
๓. การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมเกิดความเอื้ออาทรซ่ึงกนั และกัน
“...เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ เสมอื นรากฐานของชีวติ รากฐานความม่ันคงของแผน่ ดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ท่ถี ูก
ตอกรองรบั บ้านเรือนตวั อาคารไวน้ ั่นเอง สงิ่ ก่อสร้างจะม่นั คงไดก้ ็อยทู่ ่เี สาเขม็ แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเขม็ และลมื
เสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...”

๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. หมวด ๑ วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
โดย นางอัญชลี ธรรมะวิธีกุล อดตี ศึกษานเิ ทศก์

๑.๕ จติ วญิ ญาณวามเปน็ ครู
จิตวิญญาณความเป็นครมู ืออาชีพ วญิ ญาณความเปน็ ครมู ืออาชพี สังคมกำลังเรียกร้องหาและเป็นความ
คาดหวังของ ผ้ปู กครองทเี่ ฝา้ รอและหวงั วา่ บตุ รหลานของตนน้นั จะไดร้ บั การศกึ ษาท่ีดีมีคณุ ภาพ ไมเ่ กิด ความเล่อื มล่ำ
ทางการศึกษา ไม่แบง่ ชนชนั้ วรรณะ แต่มีความเสมอภาคทางการศึกษาเท่าเทียบ กันทกุ พ้ืนท่ขี องประเทศไทย ความ
คาดหวังเหล่าน้ี จึงตกเปน็ ภาระหนา้ ท่ขี องผ้ทู ำหน้าท่ี คือ “ครู” ซ่ึงเป็นบคุ คลที่ได้รบั การยกย่องและเปน็ ที่เคารพนบั ถือ
ของสังคมด้วยเกยี รตยิ ศของอาชพี ครูจึงเปน็ บุคคลตน้ แบบ หรือเป็นแบบอยา่ งที่ดีทางกาย วาจา จิตใจท่อี ่อนโยน และ
ความ ประพฤตทิ ่ีแสดงออกต่อสังคม บง่ บอกถงึ ความรกั ความเมตตาต่อศิษย์ทุก ๆ คน และเพื่อน รว่ มงาน ความ
ประพฤตขิ องครู จึงมีอิทธิพลตอ่ สงั คมและศษิ ยด์ า้ นการศึกษา ความเสียละ ความรบั ผดิ ชอบต่อการปฏิบัตหิ น้าท่ี จงึ เป็น
แบบอยา่ งท่ีดใี ห้กบั ศิษย์ได้ยดึ เปน็ แนวทางการปฏบิ ัตติ นทั้งด้านความประพฤติ เพราะการศึกษาของเยาวชน จะมี
ประสทิ ธภิ าพ หรือด้อย ประสิทธิภาพ ไม่ได้เกดิ จากความล้มเหลวทางการศึกษาของเยาวชนเท่านั้น ครกู ็เปน็ ส่วนหน่งึ

ของความสำเร็จ เพราะเปน็ ผู้ทำหนา้ ทถ่ี า่ ยทอดความรู้ ตา่ ง ๆ โดยพร่ำสอนให้ลูกศษิ ยไ์ ด้รับ การศกึ ษาด้วยความ
เสยี สละ ความรกั ความเมตตา ต่อลูกศิษย์ และยงั อุทิศตนต่อการปฏบิ ตั ิ หนา้ ท่ี โดยไมร่ ู้จกั คำว่าเหน็ดเหน่ือย หรือความ
ยงุ่ ยากลำบาก แต่แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ มีศิลปะวิทยาทั้งศาสตร์และศิลปใ์ นคนเดยี วกนั เรยี กว่า ครูที่มีจิต
วญิ ญาณความ เปน็ ครมู ืออาชีพและครูควรไดร้ ับการพัฒนาด้านการศึกษาด้านการสอน และการฝึกอบรมการ จัด
กิจกรรมทเี่ อ้ือต่อการเรียนการสอน สอดรบั กับแนวคิด

๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. พักรับประทานอาหารเยน็
๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. หมวด ๑ วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี

โดย นางอัญชลี ธรรมะวิธีกลุ อดตี ศึกษานิเทศก์
๑.๕ จิตวญิ ญาณวามเปน็ ครู
กล่าวโดยสรปุ ว่า การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องให้มคี วามรู้ โดยเฉพาะทกั ษะการใช้ เทคโนโลยี และทกั ษะใน
การสอน ประพฤตเิ ปน็ แบบอยา่ งทด่ี เี อาใจใส่ และหวงั ดตี ่อศิษย์ ปรารถนาให้ศษิ ย์ทกุ คนไดม้ กี ารงานทดี่ ีทำและเป็นคนดี
ของสังคม การปฏิบัตงิ านของครู ลักษณะดงั กลา่ วเรยี กได้ว่าการปฏบิ ัตดิ ้วย “จิตวญิ ญาณความเปน็ ครู” การปฏบิ ัติ
หน้าที่ ของครู ดว้ ยความวริ ยิ ะ มุง่ ม่นั และทุ่มเทด้วยจติ และวญิ ญาณ อุทิศตนเพอื่ การสอน และมกี ารพัฒนาสื่อ การสอน
ตลอด กจ็ ะทำใหเ้ กิดความตระหนกั และมุ่งม่ันทมุ่ เทในการทำงาน พยายามรกั ษา ศักดิ์ศรแี ห่งตนและวชิ าชีพ และที่
สำคัญคือ ความศรัทธาในวชิ าชพี ครมู ุ่งมน่ั พัฒนาตนเอง ครูจะต้องมีการพัฒนาตนเอง และครูจะประสบความสำเร็จตอ่
หน้าท่ีการงานทีป่ ฏบิ ตั ิ อยู่ จะตอ้ งเกิดจากการพฒั นา “ใจ” หรอื “จติ สำนกึ ” มใี จรกั ต่ออาชีพครู และใจตอ้ งพร้อมที่
จะเสียสละเพ่ือสังคม จึงจะประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ครูที่ไดร้ บั การพัฒนาน้นั จะมมี าก น้อยเพียงใดในแต่ละปี
สว่ นหน่ึงกข็ ้ึนกับต้นสังกัด จะทำใหโ้ อกาสของครเู หลา่ นไ้ี ด้มีโอกาส พัฒนาตนเองดา้ นการศกึ ษา หรือไม่อยา่ งไร สังคม
กำลงั ต้องการครูท่ีมีสำนึกในความเปน็ ครู เปน็ ผ้เู สยี สละ อดทน อุทิศตนในการสอน หรือการบรหิ าร กน็ บั วา่ เป็น “ครูที่
มีจิตวิญญาณ ความเป็นคร”ู ปฏิบตั ิหน้าท่ีและพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องระมดั ระวังการประพฤติปฏบิ ตั ใิ ห้อยู่ ในหลกั
ศีลธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ซ่ึงลักษณะ ดังกลา่ ว จะนำ ไปสู่การเป็น “ครมู อื อาชพี ” ควรมลี ักษณะ 3 ประการ
1) แสวงหาความรู้ พฒั นาตนเองตลอดเวลา เนน้ เจตนาท่ีจะ ให้ผูร้ ่วมงานประสบความสำเร็จดว้ ยกัน 2) ความปรารถนา
ดี เปน็ ความคิดที่อย่เู หนือระดับ เหตผุ ลและตรรกะ เปน็ ความคดิ ท่ีมาจากจติ วิญญาณหรือจิตใต้สำนึก 3) สรา้ งความ
เช่อื มั่นใน ตนเอง มงุ่ ม่นั ในการท างาน และศรัทธาในผลสำเรจ็ ทีเ่ กิดจากการปฏิบัตงิ าน

๑๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. หมวด ๑ วินัย คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
โดย นางอญั ชลี ธรรมะวิธกี ลุ อดตี ศกึ ษานเิ ทศก์

๑.๖ จิตสำนกึ ความรับผดิ ชอบในวชิ าชพี ครู
"...ครูทแี่ ท้จริงน้ันตอ้ งเปน็ ผู้ทำแต่ความดี คือต้องหม่ันขยนั และ อุตสาหะพากเพียร ต้องเอื้อเฟอื้ เผ่อื แผแ่ ละ
เสียสละ ต้องหนกั แนน่ อดทน และอดกลัน้ สำรวมระวงั ความประพฤติปฏิบตั ิของตน ให้อย่ใู นระเบียบ แบบแผนท่ดี งี าม
รวมทั้งตอ้ งซ่ือสตั ย์ รกั ษาความจริงใจวางใจเปน็ กลาง ไมป่ ล่อยไปตามอำนาจอคติ..."
ครใู นอดตี มีจำนวนมาก ทม่ี ลี ักษณะครูอาชพี เป็นครูด้วยใจรกั เปน็ ครดู ว้ ยจิตและวิญญาณ มีความหว่ งใยต่อ
ศิษยด์ ุจลูกของตนเอง แต่เมื่อเวลาผา่ นมามกี ระแสแห่งการเปล่ยี นแปลงดา้ นต่าง ๆ มากระทบทำใหม้ ีครูอาชีพที่เปน็ ปู

ชนยี บคุ คลลดน้อยลงไปอยา่ งนา่ เป็นหว่ ง ดว้ ยสาเหตอุ ะไรน้ันเป็นเรื่องน่าคิด แตก่ ็ไม่อยากให้คดิ มากจนเสียเวลาทจี่ ะ
เตรียมระบบใหมท่ จี่ ะสรา้ งครูของครูใหเ้ ป็นครูอาชพี เพื่อท่ีจะเปน็ เมลด็ พนั ธแุ์ หง่ ความดสี ่งต่อไปยังลูกศิษยท์ เ่ี ป็นครู
ครูท่มี คี วามเชือ่ ม่ันว่าตนเองสามารถสรา้ งภาพลักษณข์ องครทู ี่ดไี ด้ นั่นคือ ครูที่ศรัทธาต่ออาชพี ครู รักษาเกียรติและ
ศักดศิ์ รีแหง่ ความเป็นครทู ่ีเป็นวิชาชพี ชั้นสูง เห็นคุณค่าของวถิ ชี วี ติ ทเ่ี ปน็ ครู

และครจู ะตอ้ งถา่ ยทอดพันธุกรรมแห่งความดีไปยงั ผู้เรยี นด้วยจิตสำนึกและวญิ ญาณของความเปน็ ครูอย่าง
แท้จริง การสร้างจติ สำนึกและวิญญาณครู ทำอย่างไรจึงจะเหมาะสมกบั สถานการณ์ เนื่องจากในระยะทผ่ี ่านมา อาชีพ
ครูคอ่ นข้างไดร้ บั การดูถูกดูแคลนจากสงั คมเป็นอยา่ งมากจนนา่ วติ ก ด้วยสาเหตหุ ลายประการ เชน่ คนดคี นเก่งไม่
เรียนครู คณาจารยท์ ีส่ อนครยู ่อหยอ่ นในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ภาระงานของครมู มี าก แรงจูงใจคอ่ นข้างตำ่ ระบบการพัฒนา
ไม่มีประสิทธิภาพ การอบรมพัฒนาไมต่ รงตามทีต่ ้องการ เปน็ ต้น

“ จติ สำนึกและวิญญาณครู” จุดเรม่ิ ตน้ น่าจะอยทู่ ่กี ารสร้างศรทั ธา ให้กลับมาสอู่ าชีพของครูให้ไดม้ าก
ที่สดุ จรรยานำมาแหง่ จติ วิญญาณ คำวา่ วิญญาณของความเป็นครู หรอื ว่า จติ ใจเจตนารมณ์ของความเป็นครู ที่สูงที่สุด
คงจะเปน็ การอบรมสัง่ สอนให้ เด็กมีจติ วิญญาณของความเป็นผรู้ ู้ เป็นเดก็ ทส่ี ว่างไสว แจ่มแจ้ง เจริญงอกงามขึ้น ในดา้ น
ความคดิ สติปญั ญาสิ่งท่ีจะทำใหเ้ ด็กนกั เรยี น หรือผเู้ รยี นมคี ุณภาพชีวติ ท่ดี ไี ดน้ น้ั ครูควรเป็นครูดว้ ยใจจริง ควรจะต้อง
ยดึ ถอื และปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู ปฏิบตั ใิ ห้เกิดความสมั พนั ธก์ ับมาตรฐานของวชิ าชพี ซือ่ มีความสำคัญ และ
ความจำเปน็ “ครูมอื อาชพี มิใช่เพียงแตม่ ีอาชพี ครู” กเ็ ป็นครูมอื อาชพี ในดา้ นพน้ื ฐานที่เกิดจากตน ควรจะต้องมี
ลักษณะท่ีจะต้องพึงปฏบิ ตั ิให้เกดิ เป็นจิตวญิ ญาณในความเป็นครู

วันท่ี ๑๕ ตลุ าคม ๒๕๖๓

๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. พฒั นากาย พัฒนาจติ โดยอาจารสาธิต เจรรี ตั นแ์ ละคณะ
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. เติมเตม็ ความรู้และนำเสนอข่าวสารข้อมูล โดยอาจารสาธิต เจรรี ตั น์และคณะ
๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. หมวด ๑ วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ

โดย นางอญั ชลี ธรรมะวิธกี ุล อดีตศึกษานิเทศก์
๑.๖ จติ สำนกึ ความรับผิดชอบในวิชาชีพครู
อุดมการณ์ท่ดี ีของครู
การท่ีครจู ะปฏิบตั หิ นา้ ของครอู ยา่ งเตม็ ศกั ดิ์ศรแี ละเต็มความภาคภูมิไดน้ น้ั ครูจำเปน็ ตอ้ งมหี ลักยดึ เพือ่ นำตน
ไปสู่ส่ิงที่สงู สุดหรอื เปน็ อดุ มคตขิ องอาชีพ นั่นก็คือ การมีอุดมการณ์ครู
อุดมการณค์ รู มหี ลักการทจี่ ะยึดไวป้ ระจำใจทกุ ขณะท่ปี ระกอบภารกจิ ของครูมีอยู่ ๕ ประการ คือเตม็ รู้ เต็มใจ
เต็มเวลา เต็มคน เตม็ พลงั
๑.เต็มรู้ คอื มีความร้บู รบิ ูรณ์
อาชีพ ครูเปน็ อาชีพท่ีตอ้ งถา่ ยทอด อธิบายให้ความร้แู ก่คน ดังนั้นครทู ุกคนจะต้องเป็นผ้ทู ่ที ำให้ตนเองนน้ั
บริบรู ณ์ หรอื เตม็ ไปด้วยความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ๓ ประการ คือ ๑. ความรูด้ า้ นวชิ าการและวชิ าชพี ครู ๒. ความรู้
เรอื่ งโลก ๓.ความรู้เรื่องธรรมะ

๒. เต็มใจ คือ ความมีใจเป็นครู
พทุ ธศาสนาถือว่า “ใจนัน้ แหละเปน็ ใหญ่ ทกุ สิง่ ทุกอย่างเกดิ จากใจทัง้ นน้ั ” ดงั นั้น คนจะเปน็ ครูท่มี ีอุดมการณ์
จำเป็นต้องสรา้ งใจ ใหเ้ ปน็ ใจทเี่ ตม็ บรบิ ูรณ์ดว้ ยการ มีใจเป็นครู การทำใจใหเ้ ต็มนั้นมีความหมาย ๒ ประการคือ ๑.รัก
อาชพี ๒. รักศิษย์
๓.เตม็ เวลา
คือ การรับผดิ ชอบ การทุ่มเทเพอื่ การสอน ครูทีม่ ีอุดมการณ์ จะต้องใชช้ วี ิตครอู ย่างเต็มเวลาทั้ง ๓ สว่ น คอื
๑. งานสอน ๒. งานครู ๓. งานนกั ศึกษา
๔. เตม็ คน คอื การพฒั นาตนเองใหม้ ีความเป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์
ครเู ปน็ ผ้ทู คี่ นในสังคมคาดหวงั ไวส้ ูง และมีอิทธิพลตอ่ ผ้เู รยี นมาก ครจู งึ จำเปน็ ที่ต้องมีความบริบรู ณใ์ นความ
เปน็ มนษุ ยท์ งั้ รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์สงั คม โดยต้องมีความสำรวมกาย วาจา ใจ เป็นแบบอย่างที่ดีงามในการแสดงออก
ทง้ั ในและนอกห้องเรยี น มีความคดิ ที่ถูกต้อง มีการพูดที่ดี มีการดำเนินชีวิตที่ดี หมนั่ คดิ พจิ ารณาตนเอง ปรบั ปรุงตนเอง
ใหม้ ีความบริบูรณ์อยู่เสมอ
๕. เตม็ พลงั คอื การทุ่มเทพลังสตปิ ัญญาและความสามารถเพ่ือการสอน
ครู จะต้องใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอน เพื่อวิชาการ เพ่ือศิษย์ ครูตอ้ งอทุ ิศตนอย่างเตม็ ที่
ทำงานอย่างไมค่ ิดออมแรง เพ่ือผลงานทีส่ มบูรณ์นัน้ ก็คือ การป้ันศษิ ย์ใหม้ ีความรู้ความประพฤติงดงาม เปน็ ที่พึง
ประสงคข์ องสงั คม
ครูท่มี หี ลกั ยดึ ครบเต็ม ๕ ประการดังกล่าว ย่อมเป็นครูทมี่ คี ุณธรรม ท่ีพร้อมจะเป็นผู้ชท้ี าง แห่งปัญญา ช้ที าง
แหง่ ชีวิต และชที้ างแห่งสังคม ในอนาคตได้เปน็ อย่างดี ดงั น้ันครคู วรสรา้ ง อดุ มการณเ์ พื่อความกา้ วหนา้ ของสงั คมไทย
และการพฒั นาวชิ าชพี ครู

๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. หมวด ๒ การจัดการเรยี นการสอน
โดย นางนฤมล อนั ตะริกานนท์ ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ

๒.๑ การวิเคราะหห์ ลกั สตู รมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัดผลการเรยี นรู้
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ความนำ

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๔๙ กำหนดว่า บุคคลย่อมมสี ิทธิเสมอกนั ในการ
รับการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ สิบสองปีท่ีรฐั จะตอ้ งจัดใหอ้ ยา่ งท่วั ถึงและมคี ุณภาพ และมาตรา ๘๐ ไดก้ ำหนดเปน็ นโยบาย
ด้านการศึกษาว่า ต้องดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจดั การศึกษาในทกุ ระดบั และทกุ รปู แบบ ให้
สอดคลอ้ งกับความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม จัดให้มแี ผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพ่ือพัฒนาการศึกษา
ของชาติ ซึง่ กฎหมายเพ่ือพัฒนาการศึกษาของชาติ กำหนดใหม้ ีการส่งเสริมการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศยั และพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑๕ กำหนดนิยามการศกึ ษานอกระบบ เปน็ การศึกษาทม่ี ีความยืดหย่นุ ในการกำหนดจุดมงุ่ หมาย รูปแบบ
วธิ กี ารจดั การศึกษา ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ซงึ่ เป็นเงื่อนสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดย
เนือ้ หาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปญั หาและความต้องการของบุคคลแตล่ ะ
กลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นการพฒั นาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จึงเป็น

การพฒั นาหลักสูตรท่มี ีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความตอ้ งการของบคุ คลท่ีอย่นู อกโรงเรยี น ซงึ่
เป็นผมู้ คี วามรู้และประสบการณ์จากการทำงานและการประกอบอาชีพ โดยกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ
เรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล ให้ความสำคญั กับการพฒั นากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ใหม้ ีคณุ ธรรม
ควบค่ไู ปกบั การพัฒนาการเรียนรู้ สรา้ งภูมคิ มุ้ กัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ท้ังภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ และเทคโนโลยี
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยใู่ นสังคมทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ตามแนวปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งรวมท้ังคำนึงถงึ ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน ทอ่ี ยู่นอกระบบโรงเรยี น และสอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกจิ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจรญิ กา้ วหน้าของเทคโนโลยแี ละการสื่อสาร
ปรชั ญา

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ยดึ ปรชั ญา “คิดเป็น” มาใช้ในการ
จดั การศึกษา ปรชั ญา”คดิ เป็น” อย่บู นพน้ื ฐานความคดิ ทว่ี ่า ความต้องการของแตล่ ะบคุ คลไม่เหมือนกนั แต่ทุกคนมีจุด
รวมของความต้องการท่ีเหมอื นกนั คอื ทุกคนต้องการความสขุ คนเราจะมคี วามสุขเมื่อตัวเรา ความรู้ทางวิชาการ
สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม ผสมกลมกลืนกันไดก้ ็จะมีความสุข โดยคดิ แบบพอเพยี ง พอประมาณ ไม่มากไมน่ ้อย เปน็ ทางสาย
กลาง สามารถอธิบายได้ดว้ ยเหตผุ ล

กระบวนการเรียนรู้ ตามปรชั ญา “คิดเปน็ ” มผี เู้ รียนสำคัญทีส่ ดุ โดยครูจะเปน็ เพียงผู้จดั โอกาส กระตุน้ ให้ผเู้ รียน
คิด วเิ คราะห์ ปัญหาหรือความต้องการ มกี ารเรียนรู้จากข้อมลู จรงิ และตดั สนิ ใจบนฐานข้อมลู ทเ่ี พียงพอและเช่อื ถือได้
คอื ข้อมูลตนเอง วิชาการ ชมุ ชน สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม ถ้าหากสามารถทำให้ปัญหาหายไป กระบวนการกย็ ตุ ิลง ถ้ายัง
ไม่พอใจแสดงว่ายงั มีปญั หาอยู่ กจ็ ะเร่มิ กระบวนการพิจารณาทางเลือกใหมอ่ ีกคร้งั กระบวนการน้ีก็จะยุติลงเม่อื บุคคล
พอใจและมีความสขุ
หลักการ
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดหลักการไว้ดังน้ี

๑. เปน็ หลักสูตรทม่ี ีโครงสร้างยืดหยุน่ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรยี น และการจัดการเรยี นรูโ้ ดยเน้นการบูรณาการ
เน้ือหาใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ติ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และชมุ ชน สงั คม

๒. ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๓. ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี น ได้พัฒนาและเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยตระหนกั ว่าผู้เรียนมีความสำคัญ สามารถ
พัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ
๔.ส่งเสรมิ ใหภ้ าคเี ครอื ข่ายมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จุดหมาย
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาใหผ้ เู้ รียนมคี ุณธรรม
จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี มศี ักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง ซ่ึงเป็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทีต่ ้องการ จึงกำหนดจดุ หมายดังตอ่ ไปนี้
๑. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่ดงี ามและสามารถอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างสันติสุข
๒.มคี วามรูพ้ ้นื ฐานสำหรบั การดำรงชวี ติ และการเรยี นรตู้ ่อเน่ือง
๓.มคี วามสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนัดและตามทนั ความ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง
๔. มที กั ษะการดำเนนิ ชีวิตท่ีดี และสามารถจดั การกับชีวติ ชุมชน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสุขตามปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพียง
๕. มีความเขา้ ใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม

ประเพณี กฬี า ภูมิปัญญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ยึดมัน่ ในวถิ ีชีวิตและการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

๖. มจี ิตสำนึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
๗. เป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรู้และบรู ณาการความรู้มาใช้
ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
โครงสร้าง
เพอื่ ให้การจดั การศึกษาเปน็ ไปตามหลักการ จดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ ท่ีกำหนดไว้ให้สถานศึกษาและ
ภาคเี ครอื ขา่ ยมีแนวปฏบิ ตั ใิ นการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษา จึงได้กำหนดโครงสรา้ งของหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไว้ดังน้ี

๑. ระดบั การศึกษา ระดับการศึกษา แบ่งออกเปน็ ออกเป็น 3 ระดบั ดงั นคี้ ือ
๑. ระดบั ประถมศึกษา
๒. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
๓. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

๒.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรปู้ ระกอบด้วย ๕ สาระ ดังน้ี
๑. สาระทักษะการเรยี นรู้ เป็นสาระเก่ียวกบั การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ การจัดการ

ความรู้ การคิดเป็นและการวิจัยอยา่ งงา่ ย
๒. สาระความรู้พ้นื ฐาน เป็นสาระเก่ียวกบั ภาษาและการส่ือสาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี
๓. สาระการประกอบอาชีพ เปน็ สาระเกยี่ วกับการมองเห็นช่องทางและการตดั สินใจประกอบ

อาชีพ ทักษะในอาชพี การจดั การอาชีพอย่างมคี ุณธรรมและการพัฒนาอาชีพใหม้ ัน่ คง
๔. สาระทกั ษะการดำเนินชวี ิต เปน็ สาระเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพอนามยั และความ

ปลอดภัยในการดำเนินชวี ติ ศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ
๕. สาระการพัฒนาสงั คม เปน็ สาระทเ่ี ก่ียวกับ

ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมือง และการ
พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

๓.กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตเปน็ กจิ กรรมทจี่ ัดข้ึนเพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม

๔. มาตรฐานการเรียนรู้
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดมาตรฐานการ

เรียนรู้ ตามสาระการเรยี นรู้ท้ัง ๕ สาระ ที่เป็นขอ้ กำหนดคุณภาพของผเู้ รียน ดังน้ี
๑. มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เป็นมาตรฐานการเรยี นรู้ใน

แต่ละสาระการเรียนรู้เม่ือผู้เรียนเรยี นจบหลกั สตู ร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒. มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั เป็นมาตรฐานการเรียนรูใ้ นแต่ละสาระการเรียนรู้ เมือ่ ผเู้ รียนเรยี นจบในแต่ละ
ระดับ ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๕. เวลาเรียน
ในแต่ละระดบั ใช้เวลาเรยี น ๔ ภาคเรยี น ยกเวน้ กรณที ม่ี ีการเทียบโอนผลการเรียนท้ังน้ี ผู้เรียนตอ้ ง

ลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน
๖. หนว่ ยกติ
ใชเ้ วลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง มคี า่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ
๗. โครงสรา้ งหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. หมวด ๒ การจดั การเรยี นการสอน

โดย นางนฤมล อนั ตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ
๒.๒ การออกแบบการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั และส่งเสริมกระบวนการคิด
๑. วิธกี ารจดั การเรยี นรู้
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานมวี ิธีการจัดการเรียนรทู้ ่ีหลากหลายดังน้ี
๑. การเรียนรดู้ ้วยตนเอง เปน็ วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ท่ผี ู้เรยี นกำหนดแผนการเรยี นรขู้ องตนเองตาม
รายวชิ าท่ีลงทะเบยี นเรียน โดยมีครูเปน็ ท่ีปรึกษาและให้คำแนะนำในการการศกึ ษาหาความรดู้ ้วยตนเอง ภมู ปิ ัญญา ผ้รู ู้
และสื่อต่าง ๆ
๒. การเรียนรแู้ บบพบกลุ่ม เป็นวิธีการจัดการเรยี นรทู้ กี่ ำหนดใหผ้ ูเ้ รยี นมาพบกันโดยมคี รูเป็น
ผดู้ ำเนนิ การให้เกิดกระบวนการกลุ่ม เพ่ือใหม้ ีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ และหาข้อสรุปรว่ มกนั
๓. การเรียนร้แู บบทางไกล เป็นวิธกี ารจดั การเรียนรู้จากสอ่ื ตา่ ง ๆ โดยทผ่ี ูเ้ รยี นและครูจะสอื่ สารกัน
ทางสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์เปน็ ส่วนใหญ่ หรือถ้ามีความจำเปน็ อาจพบกนั เป็นคร้งั คราว
๔. การเรียนรู้แบบช้ันเรยี น เปน็ วธิ กี ารจดั การเรียนรทู้ ่สี ถานศึกษากำหนดรายวชิ า เวลาเรียน และ
สถานที่ ท่ีชัดเจน ซึ่งวธิ กี ารจัดการเรียนรเู้ หมาะสำหรับผ้เู รียนทมี่ เี วลามาเขา้ ชนั้ เรียน
๕. การเรยี นร้ตู ามอัธยาศยั เป็นวธิ ีการจัดการเรียนรทู้ ี่ผเู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ และ
ความสนใจ จากส่อื เอกสาร สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝกึ ปฏบิ ตั ติ ามแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ
แลว้ นำความรูแ้ ละประสบการณม์ าเทยี บโอนเข้าสู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
๖. การเรยี นรจู้ ากการทำโครงงาน เปน็ วิธีการจัดการเรยี นรู้ทผี่ ้เู รยี นกำหนดเรอ่ื งโดยสมคั รใจ ตาม
ความสนใจ ความต้องการ หรือสภาพปญั หา ทจี่ ะนำไปสู่การศกึ ษาค้นควา้ ทดลอง ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง และมกี ารสรุปผล
การดำเนนิ การตามโครงการ โดยมีครูเป็นผใู้ ห้คำปรึกษา แนะนำ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตุ้น
เสริมแรงให้เกิดการเรยี นรู้
๗. การเรยี นรรู้ ูปแบบอืน่ ๆ สถานศกึ ษาสามารถออกแบบวธิ ีการจัดการเรียนร้ใู นรปู แบบ อ่ืน ๆ ได้
ตามความต้องการของผเู้ รียน

วธิ กี ารจัดการเรียนรู้ดังกล่าวขา้ งต้น สถานศึกษาและผู้เรียนรว่ มกนั กำหนดวิธเี รียนโดยเลอื กเรียนวิธใี ดวธิ หี นง่ึ
หรอื หลายวิธีก็ไดข้ ้นึ อยกู่ บั ความยากง่ายของเนอ้ื หา และสอดคล้องกับวิถี ชวี ติ และการทำงานของผู้เรียน โดย
ขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจัดใหม้ ีการสอนเสริมไดท้ ุกวธิ ีเรยี น เพอื่ เตมิ เต็มความรู้ใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรู้

๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. หมวด ๒ การจดั การเรยี นการสอน
โดย นางสาวพัชรา จงโกย ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ

๒.๓ การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ และส่งเสริมกระบวนการคิด
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาให้ผูเ้ รยี นสูค่ วามเปน็ คน “คดิ เปน็ ” โดยเนน้ พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ และ
สรา้ งองค์กรความรสู้ ำหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซงึ่ กำหนดการจดั กระบวนการเรยี นรู้ กศน. หรอื ONIE MODEL ซงึ่
เปน็ กระบวนการเรียนรู้ท่จี ดั ขึ้นอยา่ งเปน็ ระบบตามปรชั ญา “คดิ เป็น” ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ดงั น้ี

ขั้นที่ ๑ กำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ (O: Orientation)
ขัน้ ที่ ๒ แสวงหาข้อมูลและจดั การเรียนรู้ (N: New ways of learning)
ขัน้ ท่ี ๓ ปฏบิ ตั ิและนำไปประยุกต์ใช้ (I: Implementation)
ข้นั ที่ ๔ ประเมินผลการเรียนรู้ (E: Evaluation)
ขั้นท่ี ๑ กำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O: Orientation)
เป็นการเรยี นรจู้ ากสภาพ ปัญหา หรือความต้องการของผู้เรยี น และชมุ ชน สังคม โดยใหเ้ ชอื่ มโยงกบั
ประสบการณเ์ ดมิ และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรูข้ องหลกั สตู ร
ขน้ั ตอนการเรียนรู้
๑. ครูและผู้เรียนรว่ มกันกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ ซงึ่ อาจจะได้มาจากสถานการณ์ใน
ขณะน้ัน หรือเป็นเร่ืองท่ีเกดิ ข้ึนในชวี ติ จรงิ หรอื เปน็ ประเด็นทกี่ ำลงั ขดั แยง้ และกำลงั อยู่ในความสนใจของชุมชน ซ่งึ จะ
ชว่ ยกระตุ้นให้ผู้เรยี นกระตอื รือรน้ ทคี่ ดิ จะหาทางออกของปัญหา หรือความต้องการนั้น ๆ
๒. ทำความเข้าใจกับสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในสงิ่ ท่ีต้องการเรียนรู้ โดยดึงความรแู้ ละประสบการณ์เดิม
ของผู้เรยี น เน้นการมสี ่วนร่วม มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้สะท้อนความคดิ และอภิปรายโดยให้เช่อื มโยงกับความรูใ้ หม่
๓. วางแผนการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม โดยกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่กำหนดสามารถมองเห็นแนวทางในการค้นพบ
ความร้หู รือคำตอบไดด้ ว้ ยตนเอง
ขั้นท่ี ๒ ข้ันแสวงหาข้อมูลและจดั การเรียนรู้ (N: New ways of learning)
การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรยี นรู้ โดยศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ และรวบรวมข้อมูลของตนเอง ข้อมูลของ
ชมุ ชน สงั คม และข้อมลู ทางวชิ าการ จากสือ่ และแหล่งเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายมกี ารระดมความคดิ เห็น วิเคราะห์
สงั เคราะหข์ ้อมลู และสรปุ เป็นความรู้
ข้นั ตอนการเรยี นรู้
๑. ผเู้ รยี นแสวงหาความรู้ตามแผนการเรยี นร้ทู ีก่ ำหนดไว้ โดยเน้นการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรู้ผา่ น
ประสบการณ์ กระบวนการกลมุ่ ศกึ ษาจากผ้รู ู้ /ภูมิปัญญาและวธิ อี ่ืน ๆ ทเ่ี หมาะสม
๒. ครแู ละผู้เรียนร่วมกนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้ และสรุปความรู้เบื้องต้น โดยใช้คำถามปลายเปดิ ในการชวนคิด
ชวนคยุ เป็นเครอ่ื งมือ ดว้ ยกระบวนการการระดมสมอง สะท้อนความคดิ และอภิปราย

๓. ผูเ้ รียนนำความร้ทู ่ีได้ไปตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อประเมินความเปน็ ไปไดโ้ ดยวิธีตา่ ง ๆ เช่น การทดลอง
การทดสอบ การตรวจสอบกับผรู้ ู้
ข้ันท่ี ๓ การปฏบิ ัตแิ ลละนำไปประยุกต์ใช้ ( I: Implementation)

นำความรทู้ ีไ่ ด้ไปปฏบิ ัติ และประยุกต์ใช้ใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมและสังคม
ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ผู้เรียนปฏบิ ัติตามขั้นตอน โดยสังเกตปรากฏการณ์ จดบันทึก และสรุปผล เกบ็ รวบรวมไว้ในแฟ้ม
สะสมงาน ระหวา่ งดำเนินการต้องมีการตรวจสอบหาข้อบกพรอ่ ง และรวบรวมไวใ้ นแฟม้ สะสมงาน
ขั้นท่ี ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E: Evaluation)

ประเมนิ ทบทวน แก้ไขขอ้ บกพร่อง ผลจากการนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้แลว้ สรุปเป็นความรใู้ หม่ พร้อมกับ
เผยแพรผ่ ลงาน

ข้ันตอนการเรยี นรู้ ครู และผเู้ รียนนำแฟ้มสะสมงาน และผลงานทไ่ี ดจ้ ากกการปฏิบัตมิ าใช้เป็นสารสนเทศในการ
ประเมินคุณภาพการเรยี นรู้

๑. ครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั สรา้ งเกณฑ์การประเมินคุณภาพการเรยี นรู้
๒. ครู ผูเ้ รียนและผู้เกย่ี วขอ้ งร่วมกนั ประเมิน พฒั นาการเรียนร้ใู ห้เปน็ ไปตามเกณฑ์คุณภาพการเรยี นรู้
การจดั กระบวนการเรียนรู้ ทงั้ 4 ขั้นตอนเป็นวงจรของกระบวนการเรยี นรู้ ตามปรัชญาคิดเป็น ซึ่งสถานศกึ ษา
สามารถปรบั ใช้ ข้ันตอนการเรียนรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสมตามสภาพของรายวชิ า หรอื เง่ือนไขอ่ืน ๆ ตามความต้องการของ
ผู้เรียน
สอ่ื การเรียนรู้
ในการจัดการเรยี นรู้เน้นใหผ้ ู้เรยี นแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง โดยการใช้ส่ือการเรยี นร้ทู ่ี
หลากหลาย ได้แก่ ส่ือสง่ิ พมิ พ์ สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ สื่อบคุ คล ภมู ิปัญญา แหลง่ เรยี นรู้ท่ีมีอยู่ในทอ้ งถิน่ ชมุ ชนและ
แหล่งเรียนรอู้ น่ื ๆ ผเู้ รียน ครู สามารถพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ข้ึนเองหรือนำสื่อต่าง ๆ ท่ีมอี ยู่ใกลต้ ัวและข้อมลู สารสนเทศท่ี
เก่ียวขอ้ งมาใชใ้ นการเรยี นรู้ โดยใช้วจิ ารณญาณในการเลือกใช้ส่ือต่าง ๆ ซงึ่ จะช่วยสง่ เสรมิ ให้การเรยี นรเู้ ปน็ ไปอย่างมี
คุณค่า นา่ สนใจ ชวนคิด ชวนตดิ ตาม เขา้ ใจง่าย เป็นการากระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นรู้จักวิธีการแสวงหาความรู้ เกดิ การเรียนรู้
อยา่ งกวา้ งขวาง ลกึ ซึ้งและต่อเนอื่ งตลอดเวลา
การเทียบโอน
สถานศึกษาต้องจดั ให้มีการเทียบโอนผลการเรียน หรอื เทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณข์ องผเู้ รียน ให้เปน็
ส่วนหนึง่ ของผลการเรยี นตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดย
สถานศกึ ษาต้องจัดทำระเบยี บหรือแนวปฏิบตั กิ ารเทียบโอนให้สอดคล้องกบั แนวทางการเทียบโอนทสี่ ำนกั งาน กศน.
กำหนด

๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. พักรับประทานอาหารเยน็
๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. หมวด ๒ การจัดการเรยี นการสอน

โดย นางสาวพชั รา จงโกย ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ
๒.๔ การเลือกหรอื สรา้ ง หรือพฒั นาสื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้
การสรา้ งและการพฒั นา ส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และแหลง่ เรยี นรู้ หมายถึง การเลอื ก การคดั
สรร ใช้ สรา้ งและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรยี นรู้ เพ่ือนำไปใชใ้ นการจัดการเรียนร้ทู ่ี
เหมาะสมกับผู้เรียนสอดคล้องกบั เน้ือหาสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. สรา้ งและพัฒนาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้ นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
เหมาะสมกับผูเ้ รยี น สอดคล้องกบั เนอื้ หาสาระมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด หรือผลการเรยี นร้แู ละ
จุดประสงค์การเรียนรู้
๒. ประเมนิ ผลการใช้ส่ือนวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้ และนำผลการประเมินไป
ปรับปรงุ พฒั นาให้มคี ุณภาพสูงขึน้
๓. สามารถนำส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรยี นรู้ ไปปรบั ประยุกต์ใชใ้ น
สถานศกึ ษาที่มีบรบิ ทใกล้เคียง
๔. เป็นแบบอย่างท่ดี ี เปน็ ผู้นำ
หลกั ฐาน รอ่ งรอย
๑. สอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหลง่ เรยี นรู้
๒. หลักฐาน รอ่ งรอยการประเมินผลและหรือปรบั ปรุงสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยที างการศึกษา และแหลง่
เรียนรู้
๓. หลกั ฐาน ร่องรอย การนำสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหล่งการเรียนร้ไู ปประยุกตใ์ ช้
ในสถานศึกษาที่มีบริบทใกล้เคยี ง
๔. หลักฐานและร่องรอยอื่นๆ เพิ่มเติมเก่ียวข้อง

วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๓

๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. พัฒนากาย พัฒนาจติ โดยอาจารสาธติ เจรรี ตั นแ์ ละคณะ
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. เตมิ เตม็ ความรู้และนำเสนอขา่ วสารข้อมูล โดยอาจารสาธติ เจรีรตั น์และคณะ
๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. หมวด ๒ การจัดการเรียนการสอน

โดย นางสาวพชั รา จงโกย ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพเิ ศษ
๒.๕ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนเปน็ ภารกิจที่สำคญั ประการหน่งึ ของสถานศึกษา ท่ีจะชว่ ยให้สถานศึกษาทราบ
ความกา้ วหน้าของผู้เรยี นทั้งในดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมจริยธรรม ซ่ึงจะตอ้ งดำเนนิ การดว้ ยวิธีการที่
หลากหลาย เนน้ การปฏิบัตจิ ริงที่เหมาะสมกับลักษณะธรรมชาตขิ องรายวชิ า และผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวังในแตล่ ะสาระ
การเรียนรู้ ตลอดจนความสอดคล้องกบั ระดับการศึกษา โดยจะต้องดำเนินการอยา่ งต่อเนื่องควบคู่ไปกบั การจดั กจิ กรรม
การเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น

หลกั การ
๑. สถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สังกัดเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนของผูเ้ รยี น
๒. เปิดโอกาสให้ผเู้ ก่ยี วข้องมีสว่ นร่วมในการวัดและประเมินผลการเรยี น
๓. ใหม้ ีการประเมนิ ผลการเรียนเปน็ รายวชิ าตามโครงสร้างหลักสูตร
๔. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรใู้ หด้ าเนนิ การควบคู่ไปกบั กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยตอ้ ง
ดำเนนิ การดว้ ยวิธีการและเคร่ืองมือทหี่ ลากหลายให้สอดคล้องกับระดบั การศึกษา และธรรมชาติรายวชิ า
๕. สถานศกึ ษาต้องเปิดโอกาสให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศึกษาและรปู แบบการศึกษาตา่ ง ๆ
๖. การวัดและประเมินผลจะต้องได้มาตรฐานและมีคุณภาพตามทหี่ น่วยงานต้นสงั กัด กำหนด
กรอบการวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ข้ันพ้นื ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 มดี ังน้ี
๑. การวัดและประเมินผลการเรียนเปน็ รายวชิ า เป็นการประเมินเพ่อื ทราบสภาพและความกา้ วหนา้ ทั้งดา้ น

ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องสถานศกึ ษาในแต่ละ
รายวชิ า ดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมนิ จากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏบิ ัติตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบตั จิ ริง (Authentic Assessment) ทดสอบย่อย
(Quiz) ประเมินจากกจิ กรรม โครงงาน หรอื แบบฝึกหัด เปน็ ตน้ โดยเลอื กใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกับธรรมชาตขิ อง
รายวิชา ควบคู่ไปกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น การกำหนดคะแนนระหวา่ งภาคเรยี นและปลายภาคเรยี นให้เปน็ ไป
ตามเกณฑท์ สี่ านักงาน กศน. กำหนด โดยการวัดผลระหวา่ งภาคเรียนสถานศึกษาเป็นผู้ดำเนนิ การ สำหรบั การวดั ผล
ปลายภาคเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีสำนักงาน กศน. กำหนด

๒. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) เปน็ เงอื่ นไขหน่งึ ในการจบหลักสูตร ในแตล่ ะระดับ
การศึกษา ซึง่ ผเู้ รยี นทุกคนต้องทำกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต เพือ่ การพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม
จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐๐ ชว่ั โมง ตามเกณฑ์การประเมินทส่ี ถานศกึ ษากำหนด โดยประเมินจากโครงการ หรือกิจกรรม
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และให้ผู้เก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ ม ในการประเมนิ

๓. การประเมินคุณธรรม เปน็ เง่อื นไขหน่ึงทผี่ ูเ้ รียนทุกคนต้องได้รบั การประเมนิ ตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด
จึงจะได้รบั การพจิ ารณาให้จบหลกั สตู รในแตล่ ะระดบั การศึกษา โดยคณะกรรมการการวัดและประเมนิ ผลของ
สถานศกึ ษาพิจารณาคุณธรรมเบื้องต้น ที่สำนักงาน กศน. กำหนด ท้งั นี้สถานศึกษาสามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ โดยเสนอ
ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและประกาศให้ผเู้ กี่ยวข้องได้รบั ทราบและมีส่วนรว่ มในการประเมิน
คุณธรรม

๔. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาจะต้องจดั ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนท่ีเรียนในภาค
เรยี นสดุ ท้ายของทุกระดับการศกึ ษา ไดเ้ ข้ารับการประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ ตามทีส่ ำนักงาน
กศน. กำหนด ผลการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ จะนำไปใช้ในการวางแผน พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
และคุณภาพการศกึ ษา ของแตล่ ะสถานศึกษา และภาพรวมของสำนกั งาน กศน.ตอ่ ไป หากผเู้ รียนไม่เข้ารบั การประเมิน
คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติจะมผี ลทาใหไ้ มจ่ บหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

เกณฑก์ ารจบหลักสูตร
ผเู้ รยี นทงั้ ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มเี กณฑก์ ารจบ

หลกั สตู รในแต่ละระดบั การศึกษา ดังนี้
๑. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การเรียนรู้และไดห้ นว่ ยกติ ในรายวชิ า แต่ละระดบั การศึกษา ตามโครงสรา้ งหลักสตู ร

คอื
๑.๑ ระดบั ประถมศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ ๔๘ หน่วยกติ แบง่ เป็นวิชาบังคบั ๓๖ หน่วยกติ และวชิ าเลือกไม่

นอ้ ยกวา่ ๑๒ หนว่ ยกติ
๑.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไมน่ ้อยกวา่ ๕๖ หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ วชิ าบงั คับ ๔๐ หนว่ ยกิต และวชิ า

เลอื กไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๖ หน่วยกิต
๑.๓ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมน่ ้อยกวา่ ๗๖ หน่วยกิต แบง่ เป็นวิชาบังคับ ๔๔ หน่วยกติ และ

วิชาเลอื กไมน่ ้อยกวา่ ๓๒ หน่วยกิต
๒. ผา่ นเกระบวนการประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.) ไมน่ ้อยกว่า 200 ชั่วโมง
๓. ผ่านกระบวนการประเมินคณุ ธรรม ในระดับพอใชข้ ้นึ ไป
๔. เข้ารับการประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. หมวด ๓ การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น
โดย นายพานิช ศรงี าม อดีตผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเชีย่ วชาญ

๓.๑ การจดั สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
การจัดบรรยากาศในชั้นเรยี น

ความหมายของการจัดบรรยากาศในชน้ั เรียน
การจดั บรรยากาศในชน้ั เรยี น หมายถึง การจดั สภาพแวดล้อมในชนั้ เรยี นให้เอ้ืออำนวยต่อการเรยี นการสอน
เพ่อื ชว่ ยส่งเสรมิ ให้กระบวนการเรียนการสอนดำเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และช่วยสร้างความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา
ตลอดจนช่วยสร้างเสรมิ ความมีระเบียบวนิ ยั ใหแ้ ก่ผู้เรียน
ความสำคัญของการจัดบรรยากาศในชัน้ เรียน
บรรยากาศในชัน้ เรยี นเปน็ สว่ นหนึ่งทสี่ ง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเกิดความสนใจในบทเรียนและเกิดแรงจูงใจในการ
เรยี นร้เู พิม่ มากขนึ้ การสร้างบรรยากาศที่อบอ่นุ ท่คี รใู ห้ความเอื้ออาทรต่อนักเรยี น ท่นี กั เรยี นกับนักเรยี นมีความสัมพันธ์
ฉันทม์ ิตรต่อกันทม่ี ีระเบยี บ มีความสะอาด เหล่านี้เปน็ บรรยากาศทีน่ ักเรียนต้องการ ทำให้นักเรยี นมคี วามสุขที่ได้มา
โรงเรียนและในการเรยี นรว่ มกับเพ่ือนๆ ถา้ ครผู ู้สอนสามารถสร้างความรู้สึกน้ีให้เกดิ ขึ้นต่อนักเรยี นได้ กน็ ับวา่ ครูได้ทำ
หนา้ ท่ใี นการพฒั นาเยาวชนของประเทศชาติให้เติบโตขึ้นอยา่ งสมบรู ณ์ทง้ั ทางดา้ นสตปิ ัญญา รา่ งกาย อารมณ์ และ
สงั คม โดยแท้จรงิ ดงั น้ัน การสรา้ งบรรยากาศในชั้นเรยี นจึงมคี วามสำคัญอย่างมาก สามารถสรุปได้ ดังนี้
๑. ช่วยส่งเสริมใหก้ ารเรียนการสอนดำเนนิ ไปอย่างราบร่ืน เชน่ ห้องเรียนที่ไม่คับแคบจนเกนิ ไป ทำให้นักเรยี น
เกดิ ความคล่องตัวในการทำกิจกรรม
๒. ชว่ ยสร้างเสรมิ ลกั ษณะนสิ ัยทด่ี งี ามและความมีระเบยี บวินัยให้แกผ่ ูเ้ รยี น เช่น ห้องเรียนท่ีสะอาด ทจ่ี ดั โตะ๊
เกา้ อี้ไว้อยา่ งเป็นระเบยี บ มีความเอือ้ เฟ้ือเผอื่ แผต่ ่อกนั นักเรยี นจะซมึ ซบั สิ่งเหล่านี้ไว้โดยไมร่ ้ตู วั

๓. ช่วยส่งเสรมิ สุขภาพที่ดใี ห้แก่ผเู้ รียน เชน่ มีแสงสวา่ งที่เหมาะสม มีทีน่ ง่ั ไมใ่ กล้กระดานดำมากเกินไป มีขนาด
โตะ๊ และเก้าอ้ีทเ่ี หมาะสมกับวัย รปู ร่างของนักเรียน

๔. ชว่ ยสง่ เสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิง่ ขึน้ เช่น การจัดมุมวชิ าการต่างๆ การจัดป้าย
นเิ ทศ การตกแต่งห้องเรียนด้วยผลงานของนกั เรยี น

๕. ชว่ ยสร้างเจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นและการมาโรงเรียน เพราะในช้นั เรียนมีครูท่ีเขา้ ใจนักเรยี น ใหค้ วามเมตตา
เออ้ื อารีต่อนกั เรียน และนักเรียนมคี วามสัมพันธ์อันดีต่อกนั

สรปุ ไดว้ า่ การจดั บรรยากาศในชนั้ เรียนจะชว่ ยส่งเสรมิ และสร้างเสริมผู้เรียนในดา้ นสติปัญญาร่างกาย อารมณ์
และสังคมไดเ้ ป็นอย่างดี ทำให้นกั เรยี นเรียนด้วยความสุข รักการเรียน และเปน็ คนใฝเ่ รียนใฝร่ ู้
บรรยากาศท่พี ึงปรารถนาในชัน้ เรียน

ในการจัดการเรยี นการสอน ผู้สอนต่างปรารถนาให้จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนดำเนนิ ไปอย่างราบรื่น และ
ผูเ้ รียนเกดิ พฤตกิ รรมตามจุดประสงคท์ ี่กำหนดไวใ้ นหลักสตู ร บรรยากาศในชัน้ เรียนท่จี ะนำไปส่คู วามสำเรจ็ ในการสอน
จดั แบ่งได้ ๖ ลกั ษณะ สรปุ ได้ดังนี้

๑. บรรยากาศทีท่ ้าทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศที่ครูกระตุ้นให้กำลังใจนักเรยี นเพื่อให้ประสบผลสำเรจ็ ใน
การทำงาน นักเรยี นจะเกดิ ความเชือ่ มน่ั ในตนเองและพยายามทำงานให้สำเร็จ

๒. บรรยากาศทมี่ ีอิสระ (Freedom) เปน็ บรรยากาศทีน่ ักเรยี นมโี อกาสได้คดิ ได้ตัดสนิ ใจเลือกสิ่งท่ีมี
ความหมายและมีคุณคา่ รวมถงึ โอกาสที่จะทำผิดด้วย โดยปราศจากความกลวั และวิตกกังวล บรรยากาศเชน่ นจ้ี ะ
ส่งเสริมการเรยี นรู้ ผู้เรียนจะปฏิบัติกจิ กรรมด้วยความตัง้ ใจโดยไม่รสู้ ึกตงึ เครยี ด

๓. บรรยากาศทม่ี ีการยอมรบั นบั ถือ (Respect) เป็นบรรยากาศท่ีครูรูส้ ึกวา่ นักเรยี นเป็นบุคคลสำคญั มีคุณคา่
และสามารถเรยี นได้ อันส่งผลใหน้ ักเรียนเกดิ ความเชือ่ ม่ันในตนเองและเกดิ ความยอมรับนับถือตนเอง

๔. บรรยากาศทม่ี ีความอบอ่นุ (Warmth) เป็นบรรยากาศทางด้านจติ ใจ ซ่งึ มีผลต่อความสำเรจ็ ในการเรียน
การทค่ี รูมคี วามเขา้ ใจนกั เรียน เปน็ มติ ร ยอมรับให้ความชว่ ยเหลือ จะทำใหน้ ักเรียนเกิดความอบอุ่น สบายใจ รักครู รัก
โรงเรียน และรกั การมาเรยี น

๕. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control) การควบคุมในที่น้ี หมายถึง การฝึกให้นักเรยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั มิใช่
การควบคมุ ไมใ่ ห้มอี ิสระ ครตู ้องมีเทคนิคในการปกครองชนั้ เรยี นและฝึกให้นักเรยี นรู้จักใชส้ ทิ ธิหนา้ ทข่ี องตนเองอยา่ งมี
ขอบเขต

๖. บรรยากาศแหง่ ความสำเร็จ (Success) เปน็ บรรยากาศท่ีผ้เู รียนเกดิ ความรูส้ ึกประสบความสำเรจ็ ในงานที่
ทำ ซงึ่ สง่ ผลใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้ดขี นึ้ ผู้สอนจึงควรพดู ถึงส่ิงที่ผู้เรยี นประสบความสำเรจ็ ให้มากกวา่ การพดู ถงึ ความ
ล้มเหลว เพราะการทคี่ นเราคำนงึ ถงึ แต่สิ่งที่ล้มเหลว เพราะการทค่ี นเราคำนึงถงึ แต่ความลม้ เหลวจะมีผลทำให้ความ
คาดหวังต่ำ ซ่ึงไม่สง่ เสริมให้การเรียนรู้ดีขึน้

บรรยากาศทั้ง ๖ ลกั ษณะนี้ มีผลตอ่ ความสำเรจ็ ของผู้สอนและความสำเรจ็ ของผเู้ รยี นผ้สู อนควรสรา้ งให้เกิดใน
ชนั้ เรยี น

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. หมวด ๓ การบริหารจัดการช้นั เรยี น

โดย นายพานชิ ศรงี าม อดีตผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเชี่ยวชาญ
๓.๑ การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้
ประเภทของบรรยากาศในช้ันเรียน
จากผลการวิจยั เรือ่ งสภาพในปจั จุบนั และปญั หาดา้ นการเรียนการสอนของครปู ระถมศึกษาไว้ สรปุ ไดว้ ่า
บรรยากาศในชั้นเรียนต้องมลี ักษณะทางกายภาพที่อำนวยความสะดวกต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรสู้ ร้างความสนใจใฝ่
รู้และศรทั ธาต่อการเรยี น นอกจากน้ีปฏิสัมพันธร์ ะหว่างกลุ่มนกั เรยี นและระหว่างครูกบั นักเรยี น ความรักและศรัทธาที่
ครแู ละนักเรยี นมีต่อกัน การเรียนที่รื่นรมย์ปราศจากความกลวั และวิตกกังวล สงิ่ เหล่านจี้ ะชว่ ยสร้างบรรยากาศการเรียน
ไดด้ ี ดังนน้ั จงึ สามารถแบง่ ประเภทของบรรยากาศในชัน้ เรียนได้ ๒ ประเภทคือ
๑. บรรยากาศทางกายภาพ
๒. บรรยากาศทางจิตวิทยา
๑. บรรยากาศทางกายภาพ (Physical Atmosphere)
บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางดา้ นวัตถุ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ภายในห้องเรยี น
ใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย นา่ ดู มีความสะอาด มีเครื่องใช้ และสงิ่ อำนวยความสะดวกต่าง ๆ ทจ่ี ะสง่ เสริมให้การเรียน
ของนักเรียนสะดวกขึน้ เชน่ ห้องเรียนมีขนาดเหมาะสม แสงเข้าถูกทาง และมีแสงสวา่ งเพยี งพอ กระดานดำมขี นาด
เหมาะสม โตะ๊ เกา้ อม้ี ีขนาดเหมาะสมกบั วัยนกั เรียน
การจัดบรรยากาศทางดา้ นกายภาพ
การจดั บรรยากาศทางด้านกายภาพ เป็นการจดั วัสดอุ ปุ กรณส์ งิ่ อำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการเรยี น
การสอน รวมตลอดไปถึงสิ่งต่าง ๆ ทเี่ สรมิ ความรู้ เชน่ ปา้ ยนิเทศ มมุ วิชาการ ช้ันวางหนงั สอื โตะ๊ วางส่ือการสอน ฯลฯ
ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ทำให้เกดิ ความสบายตา สบายใจ แก่ผูพ้ บเห็น ถ้าจะกลา่ วโดยละเอยี ดแลว้ การจัดบรรยากาศ
ทางด้ายกายภาพ ได้แก่ การจดั ส่ิงต่อไปน้ี
๑. การจดั โต๊ะเรียนและเก้าอี้ของนักเรียน
๑. ให้มขี นาดเหมาะสมกบั รูปรา่ งและวัยของนักเรียน
๒. ให้มีชอ่ งว่างระหวา่ งแถวท่ีนักเรียนจะลกุ นั่งไดส้ ะดวก และทำกิจกรรมไดค้ ล่องตวั
๓. ให้มคี วามสะดวกต่อการทำความสะอาดและเคลื่อนย้ายเปลยี่ นรปู แบบทน่ี ัง่ เรียน
๔. ให้มรี ูปแบบที่ไม่จำเจ เช่น อาจเปล่ียนเปน็ รูปตัวที ตวั ยู รูปคร่ึงวงกลม หรือ เขา้ กลุ่มเป็นวงกลม ได้อยา่ ง
เหมาะสมกับกิจกรรมการเรยี นการสอน
๕. ให้นักเรียนทน่ี ัง่ ทกุ จดุ อ่านกระดานดำได้ชดั เจน
๖. แถวหน้าของโตะ๊ เรยี นควรอยู่หา่ งจากกระดานดำพอสมควร ไม่น้อยกวา่ 3 เมตร ไม่ควรจัดโตะ๊ ตดิ กระดาน
ดำมากเกินไป ทำให้นกั เรียนต้องแหงนมองกระดานดำ และหายใจเอาฝุ่นชอล์กเขา้ ไปมากจะทำใหเ้ สียสขุ ภาพ
๒. การจัดโต๊ะครู
๑ ให้อยู่ในจดุ ทเี่ หมาะสม อาจจัดไวห้ น้าห้อง ขา้ งหอ้ ง หรือหลงั ห้องก็ได้ การจัดโต๊ะครนู ้ันขึ้นอยู่กับรูปแบบการ
จดั ทน่ี ่ังของนกั เรยี นด้วย

๒. ให้มคี วามเป็นระเบียบเรยี บร้อย ทงั้ บนโต๊ะและในล้ินชักโตะ๊ เพือ่ สะดวกต่อการทำงานของครู และการวาง
สมุดงานของนักเรยี น ตลอดจนเพ่ือปลูกฝงั ลกั ษณะนสิ ยั ความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยแก่นกั เรียน

๓. การจัดสภาพห้องเรยี น ต้องใหถ้ ูกสุขลักษณะ กล่าวคือ
๑. มอี ากาศถา่ ยเทได้ดี มหี นา้ ต่างพอเพียง และมปี ระตูเขา้ ออกไดส้ ะดวก
๒. มีแสงสวา่ งพอเหมาะ เพื่อชว่ ยให้ผ้เู รยี นอา่ นหนังสือได้ชัดเจน เพอ่ื เปน็ การถนอมสายตา ควรใช้ไฟฟา้ ช่วย
ถา้ มแี สงสวา่ งน้อยเกนิ ไป
๓. ปราศจากสงิ่ รบกวนตา่ ง ๆ เชน่ เสียง กลนิ่ ควนั ฝนุ่ ฯลฯ
๔. มคี วามสะอาด โดยฝึกใหน้ ักเรยี นรบั ผดิ ชอบช่วยกันเกบ็ กวาด เช็ดถู เป็นการปลูกฝังนิสยั รกั ความสะอาด
และฝึกการทำงานรว่ มกนั

๔. การจัดมมุ ตา่ ง ๆ ในห้องเรียน ไดแ้ ก่
๑. มุมหนงั สือ ควรมีไว้เพอื่ ฝึกนสิ ัยรักการอา่ น สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนอา่ นคล่อง สง่ เสริมการ ค้นคว้าหาความรู้
และการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ครูควรหาหนงั สือหลาย ๆ ประเภท ทม่ี ีความยากงา่ ย เหมาะสมกับวัยของนักเรยี น
มาให้อา่ น และควรหาหนังสือชุดใหม่มาเปลยี่ นบอ่ ย ๆ การจดั มมุ หนังสือควรจดั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยเพอ่ื สะดวกต่อ
การหยบิ อ่าน
๒. มมุ เสริมความรู้ กลมุ่ ประสบการณต์ ่าง ๆ ควรจดั ไว้ให้นา่ สนใจ ช่วยเสรมิ ความรู้ ทบทวนความรู้ เช่น มุม
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา มมุ ความร้ขู ่าว เหตุการณ์ ฯลฯ
๓. มุมแสดงผลงานของนกั เรยี น ครูควรตดิ บนปา้ ยนเิ ทศ แขวนหรอื จดั วางไว้บนโต๊ะ เพื่อใหน้ กั เรยี นเกดิ ความ
ภมู ใิ จในความสำเร็จ และมีกำลังใจในการเรยี นต่อไป อกี ทง้ั ยังสามารถแก้ไขพฒั นาผลงานของนักเรียนให้ดขี น้ึ โดยลำดบั
ได้อีกดว้ ย
๔. ตู้เก็บส่อื การเรยี นการสอน เช่น บตั รคำ แผนภูมิ ภาพพลิก กระดาษ สี กาว ฯลฯ ควรจดั ไวใ้ หเ้ ป็นระเบียบ
เปน็ สัดสว่ น สะดวกต่อการหยิบใช้ อปุ กรณ์ช้นิ ใดท่ีเก่าเกนิ ไปหรอื ไม่ใช้แล้วไม่ควรเกบ็ ไว้ในตูใ้ หด้ ูรกรงุ รัง
๕. การประดับตกแตง่ ห้องเรียน ครูสว่ นใหญม่ กั นยิ มประดับตกแต่งห้องเรยี นด้วยสงิ่ ตา่ งๆ เชน่ มา่ น มลู่ ี่ ภาพ
ดอกไม้ คำขวัญ สุภาษติ ควรตกแต่งพอเหมาะไม่ให้ดรู กรุงรัง สีสันทีใ่ ชไ้ ม่ควรฉูดฉาด หรือใช้สีสะท้นแสง อาจทำให้
นกั เรียนเสียสายตาได้ การประดบั ตกแต่งห้องเรยี น ควรคำนงึ ถึงหลกั ความเรียบง่าย เปน็ ระเบยี บ ประหยัด มุ่ง
ประโยชน์ และสวยงาม
๖. มมุ เกบ็ อุปกรณท์ ำความสะอาด ตลอดจนชน้ั วางเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของนักเรยี น เช่น
แปรงสีฟัน ยาสฟี ัน แกว้ นำ้ กล่องอาหาร ปนิ่ โต ฯลฯ ควรจัดวางไวอ้ ยา่ งเป็นระเบียบ และหมนั่ เช็ดถใู หส้ ะอาดเสมอ
๒. บรรยากาศทางจติ วทิ ยา (Psychological Atmosphere)
บรรยากาศทางจติ วิทยา หมายถงึ บรรยากาศทางดา้ นจิตใจท่ีนักเรียนรสู้ กึ สบายใจ มีความอบอุ่น มคี วามเป็น
กันเอง มีความสมั พนั ธ์อันดีต่อกนั และมคี วามรักความศรทั ธาตอ่ ผสู้ อน ตลอดจนมีอิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมี
ระเบยี บวินัยในชั้นเรยี น
การจดั บรรยากาศทางด้านจติ วิทยา
การจัดบรรยากาศทางดา้ นจติ วทิ ยาหรือทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้างความรู้สึกใหน้ ักเรยี นเกดิ ความสบายใจใน
การเรยี น ปราศจากความกลัวและวติ กกังวล มีบรรยากาศของการสรา้ งสรรค์เรา้ ความสนใจ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกจิ กรรม
การเรียนการสอนด้วยความสุข นักเรยี นจะเกิดความรเู้ ช่นน้ี ขนึ้ อยู่กับ “ คร”ู เปน็ สำคญั

๑. บุคลกิ ภาพของครู สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมสี ว่ นสัมพนั ธ์กับบคุ ลิกภาพของครู ครูท่ีมีบคุ ลิกภาพดี
เช่น การแต่งกาย การยืน การเตน้ ทา่ ทาง น้ำเสยี ง การใช้คำพดู การแสดงออกทางสีหนา้ แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับ
การเปน็ ครู จะช่วยสง่ เสริมบรรยากาศการเรยี นร้ไู ดด้ ี

๒. พฤติกรรมการสอนของครู พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดใี หแ้ กน่ ักเรียน
เชน่ เดียวกับบคุ ลิกภาพของครู ในการสอนครตู ้องใชเ้ ทคนคิ และทกั ษะการสอนทส่ี อดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและ
บทเรียน เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเกดิ ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทีห่ ลักสูตรกำหนด พฤติกรรมของครูควรเปน็ ดังน้ี

๑. ตอบสนองพฤตกิ รรมของนักเรยี นโดยใช้เทคนคิ การเสริมแรงทเ่ี หมาะสม เช่น ใช้วาจา ใชท้ า่ ทาง ให้
รางวลั และสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ ตลอดจนใหท้ ำกิจกรรมที่นักเรยี นชอบ ครคู วรเริมแรงให้ท่วั ถึงและเหมาะสม

๒. เปดิ โอกาสให้นักเรียนแสดงความคดิ เห็น และยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของนักเรียน แสดงให้นักเรยี น
เห็นว่าความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคดิ เหล่านั้นมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการเรียนรู้

๓. ฝกึ การทำงานเป็นกล่มุ การใหท้ ำงานเป็นกลุ่มจะชว่ ยให้นกั เรยี นร้จู ักทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนไดใ้ ช้
ความรูค้ วามคิดความสามารถท่ีมอี ยู่ใหเ้ กิดประโยชน์ ฝกึ การสร้างมนษุ ยสัมพนั ธท์ ี่ดแี ละไดผ้ ลงานนำมาสคู่ วามภาคภมู ิใจ
ในกล่มุ และตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำนน้ั ครูควรคำนึงถึงความยากงา่ ยของงาน ความรู้และความสามารถ
ของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือใหง้ านกลุ่มประสบความสำเรจ็ เปน็ การสรา้ งความรู้สึกทางบวกใหแ้ ก่นักเรยี น งานใดที่ครูเห็น
วา่ ยาก ครคู วรเข้าไปดูแลกระตุ้นใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั คิดแกป้ ัญหาในกลมุ่ ของตน ครจู ะต้องมคี วามอดทนที่จะไมร่ บี ช้ีแนะ
หรอื บอกวิธีการแก้ปัญหาตรง ๆ ต้องฝึกให้นักเรยี นใช้วิธกี ารตา่ ง ๆ หลาย ๆ แบบจนสามารถแก้ปัญหาไดส้ ำเรจ็

๔. ใช้เทคนิคและวธิ ีสอนท่ีไม่ทำใหน้ ักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดคน้ คว้าและแสวงหา
แนวทางวธิ ีการใหม่ ๆ มาใช้จดั การเรยี นการสอน วธิ กี ารสอนควรเป็นวิธีทยี่ ึดนกั เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง หรือนักเรียนเป็น
ผูก้ ระทำกจิ กรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสบื สวนสอบสวน แบบ
แบ่งกลุม่ ทำกิจกรรม แบบอภปิ ราย แบบศนู ย์การเรยี น ตลอดจนนวัตกรรมการสอนทน่ี ่าสนใจ การจะใชว้ ิธีสอนแบบใด
นนั้ ครูต้องเลือกให้เหมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สติปัญญา และวยั ของนกั เรยี น

๓. เทคนิคการปกครองชนั้ เรยี นของครู เทคนิคหรอื วธิ ีการท่ีครูใช้ปกครองชนั้ เรียนมสี ่วนส่งเสริมในการสร้าง
บรรยากาศทางจติ วิทยา กลา่ วคอื ถา้ ครปู กครองชนั้ เรยี นด้วยความยุตธิ รรม ยึดหลักประชาธปิ ไตย ใช้ระเบยี บกฎเกณฑ์
ที่ทกุ คนยอมรับ ยนิ ดีปฏิบตั ิ นักเรียนก็จะอยูใ่ นห้องเรียนอยา่ งมีความสขุ เกดิ ความรสู้ ึกอบอุ่นพอใจและสบายใจ ในทาง
ตรงกันขา้ ม ถา้ ครโู ลเล ไมย่ ุติธรรม เลือกท่ีรกั มักที่ชงั ปกครองช้นั เรียนแบบเผด็จการ นักเรียนจะเกดิ ความรสู้ ึกไม่
ศรทั ธาครู ไม่เห็นคณุ คา่ ของระเบียบกฎเกณฑ์ ส่งผลใหน้ ักเรยี นไม่สนใจเรียน ไมอ่ ยากมาโรงเรยี นในท่ีสุด ดงั นน้ั เทคนิค
วธิ ีการปกครองชั้นเรยี นของครจู งึ มคี วามสำคัญต่อการสร้างบรรยากาศทางจติ วทิ ยาด้วย

๔. ปฏิสมั พนั ธ์ในหอ้ งเรยี นปฏสิ ัมพันธ์ ( interaction) หมายถงึ ความสมั พันธ์ทางสงั คมระหว่างบุคคล ๒ คน
หรอื บุคคล 2 ฝ่าย โดยต่างฝา่ ยต่างมอี ิทธิพลซงึ่ กนั และกัน ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรยี นมี ๓ ลักษณะ ได้แก่

๑. ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างครกู บั นักเรยี น ถา้ ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งครกู บั นักเรยี นเป็นไปด้วยดี
หมายถึง ทง้ั ครแู ละนักเรียนต่างมคี วามสัมพันธอ์ นั ดีต่อกนั ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้ซกั ถาม ครูให้ความเป็นกันเองแก่
นักเรยี น ให้นักเรยี นมีอิสระ และมคี วามสบายใจในการทำกิจกรรม บรรยากาศภายในห้องเรียนกจ็ ะไมต่ งึ เครียด เปน็
บรรยากาศทีร่ นื่ รมย์ น่าเรียน นา่ สอน ซ่ึงจะสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรียนรทู้ ด่ี ี

๒. ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างนักเรียนกบั นักเรยี น บรรยากาศในห้องเรยี นจะเตม็ ไปดว้ ยความ
อบอนุ่ สร้างความรูส้ ึกทดี่ ีให้แก่นกั เรยี นได้ถา้ นักเรียนมีปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ตี ่อกนั คอื มีความสมคั รสมานสามัคคี รกั ใครก่ ลม
เกลยี วกัน ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีนำ้ ใจเอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่ซ่งึ กนั และกนั นักเรยี นจะมีปฏิสมั พนั ธ์ที่ดตี ่อกนั ได้นนั้ ขึ้นอยู่กับ
ครเู ปน็ สำคัญ คือ เป็นแบบอย่างทีด่ ีแกน่ ักเรยี น ปกครองดูแลนักเรียนไดท้ วั่ ถึง ส่ังสอนอบรมบ่มนสิ ยั และแกไ้ ข
พฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของนักเรียนได้ถกู ต้อง นกั เรียนก็จะค่อยๆ ซึมซาบและซับเอาส่ิงทดี่ ีงามไวป้ ฏิบตั ิจนเปน็ คณุ
ลกั ษณะเฉพาะตนทพ่ี ึงประสงค์ เม่อื นักเรยี นทกุ คนต่างเปน็ คนดี เพราะมีครูดี ทุกคนก็จะมีปฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ีต่อกนั อันเป็น
ส่วนสร้างเสริมให้เกิดบรรยากาศที่พึงปรารถนาขึน้ ในห้องเรียน

๓. ปฏสิ ัมพนั ธท์ างวาจา หมายถงึ การพดู จารว่ มกันในช้นั เรียนระหวา่ งครูกับนักเรยี น อาจ
เป็นการบรรยาย การอภปิ ราย การถามคำถาม การมอบหมายงาน การพูดของนักเรียน เปน็ ต้น ทั้งหมดนม้ี ีอิทธิพลตอ่
การสรา้ งบรรยากาศในช้ันเรยี นเช่นกัน
ลักษณะของชน้ั เรยี นท่ีดี
เพ่อื ใหก้ ารจดั ชน้ั เรียนที่ถูกต้องตามหลักการ ผสู้ อนควรได้ทราบถงึ ลักษณะของชัน้ เรียนที่ดี สรุปไดด้ ังน้ี

๑. ชน้ั เรยี นทด่ี คี วรมสี ีสนั ทนี่ ่าดู สบายตา อากาศถา่ ยเทได้ดี ถกู สุขลกั ษณะ
๒. จัดโตะ๊ เก้าอี้และส่ิงทที่ ี่อยูใ่ นชน้ั เรยี นให้เอ้ืออำนวยตอ่ การเรยี นการสอน และกจิ กรรมประเภทต่าง ๆ
๓. ใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นอยา่ งมีความสุข มีอสิ รเสรภี าพ และมวี นิ ยั ในการดูแลตนเอง
๔. ใชป้ ระโยชน์ช้ันเรยี นใหค้ มุ้ คา่ ครอู าจดัดแปลงให้เปน็ ห้องประชมุ ห้องฉายภาพยนตร์และอ่ืน ๆ
๕. จัดเตรียมช้นั เรยี นใหม้ ีความพร้อมต่อการสอนในแตล่ ะครง้ั เชน่ การทำงานกลมุ่ การสาธิตการแสดงบทบาท
สมมุติ
๖. สร้างบรรยากาศใหอ้ บอุ่น ให้ความเป็นกันเองกับผูเ้ รียน
สรุป
การจดั บรรยากาศในชน้ั เรียน เปน็ สิ่งสำคญั ในการช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผเู้ รียนและส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียน
สามารถรับผิดชอบควบคมุ ดูแลตนเอง ได้ในอนาคต การจดั บรรยากาศมีทง้ั ด้านกายภาพ เปน็ การจดั สภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนท้ังการจดั ตกแตง่ ในหอ้ งเรยี น จัดที่นั่ง จัดมุมเสรมิ ความรตู้ า่ งๆ ใหส้ ะดวกต่อการเรยี นการสอน ทางดา้ น
จิตวิทยา เป็นการสรา้ งความอบอุ่น ความสุขสบายใจให้กบั ผู้เรียน ผู้สอนควรจัดบรรยากาศท้งั ๒ ด้านนี้ให้เหมาะสม
นอกจากนีก้ ารสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ให้เกิดความสุขแก่ผเู้ รียนเป็นองค์ประกอบสำคัญประการหนงึ่ ทจี่ ะสร้าง
คณุ ลกั ษณะนสิ ยั ของการใฝเ่ รียนรู้ การมีนสิ ัยรกั การเรียนรู้ การเปน็ คนดี และการมีสุขภาพจติ ท่ีดี สามารถอยู่ในสงั คมได้
อยา่ งมีความสขุ ท่ังในปัจจบุ นั และอนาคตต่อไป ซ่ึงบุคคลสำคัญทจ่ี ะสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อยา่ งมีความสขุ ให้เกดิ ขึ้น
ไดค้ ือ ครูผ้นู ำทางแหง่ การเรียนรนู้ ่นั เอง

๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. หมวด ๓ การบรหิ ารจดั การช้ันเรียน
โดย นายพานิช ศรีงาม อดีตผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเชี่ยวชาญ

๓.๒ ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
วิธี เรียน กศน. เปน็ วิธเี รียนทผี่ ้เู รยี น ตอ้ งฝกึ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เก่ยี วกับเน้อื หา
สาระในแตล่ ะรายวชิ า รวมทั้งการเรยี นทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ตามสภาพความพร้อมพร้อมและความต้องการของ
ผูเ้ รยี นโดยมคี รเู ป็นผู้สง่ เสริมและ อำนวยความสะดวกในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี นอย่างต่อเน่ือง
ตลอดหลักสตู ร พร้อมทั้งมกี ารใหบ้ รกิ ารแนะแนวหรือระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน ดว้ ยการให้คำปรกึ ษา ช่วยเหลอื
แนะนำและร่วมกับผู้เรยี นและผ้เู กย่ี วข้องในการแกป้ ัญหาให้กับผู้เรียน ซ่ึงวิธกี ารเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ดงั ทกี่ ล่าวมาแล้วเรยี กวา่ “วธิ เี รียน กศน.” ซึง่ สามารถจดั การเรียนรู้
ได้หลายรูปแบบ โดยพิจารณาจากปจั จัย ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ความพรอ้ ม ความสนใจ และศกั ยภาพของผู้เรยี น
๒. ความพรอ้ มในการบริหารจดั การของสถานศึกษา
๓. ความพร้อมและศักยภาพของครูผสู้ อน
๔. ความยากงา่ ยของเนื้อหารายวชิ า
วิธเี รยี น กศน. ตามตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ที่ เหมาะสม
กับผเู้ รียน เชน่ การเรยี นรู้แบบพบกลมุ่ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรูแ้ บบทางไกล การเรียนร้แู บบชัน้ เรยี น ซึ่งการ
เรยี นรแู้ ต่ละรูปแบบมีลกั ษณะ ดังต่อไปน้ี
การเรยี นรู้แบบพบกลมุ่
การเรยี นรแู้ บบพบกล่มุ เป็นการจัดการ เรียนรู้ที่กำหนดให้ผเู้ รียนมาพบกนั โดยมคี รูเปน็ ผู้ดำเนินการใหเ้ กดิ
กระบวน การกลุม่ เพื่อใหม้ ีการอภิปราย แลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละหาข้อสรปุ ร่วมกัน ทุกสัปดาห์ครูจะต้องจัดให้มกี ารพบ
กลมุ่ อยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ ๓ ชั่วโมง
หลกั การในการจัดการเรียนรู้แบบพบกล่มุ มดี งั นี้
๑) จัดพบกล่มุ ในรายวิชาที่ยากปานกลาง
๒) เน้นการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ระหวา่ งผ้เู รียนกบั ผู้เรียนและผ้เู รยี นกบั ครู
๓) ใหผ้ ู้เรียนเรียนรดู้ ้วยการศึกษาค้นคว้า เปน็ รายบคุ คล เป็นกลุ่ม และการทำโครงงาน
๔) จดั กระบวนกลมุ่ ที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ และสอดแทรกกระบวนการ “คิดเป็น” ใหผ้ ้เู รียนไดฝ้ กึ คิด
วิเคราะหใ์ นแต่ละรายวิชาท่ีเชอื่ มโยงสูก่ ารประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริงและอาจ สอนเพิ่มเตมิ ในบางเนอื้ หาท่ีผู้เรียนต้องการ
๕) มีการทดสอบย่อย (QUIZ)
๖) จดั พบกลุม่ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 6 ช่ัวโมง
๗) เรยี นรูต้ อ่ เน่อื ง ณ ศนู ยก์ ารเรียน สัปดาหล์ ะ ๓ ชวั่ โมง

การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เป็นการเรยี นรทู้ ผี่ เู้ รียนแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยผ้เู รยี นกำหนดแผนการเรยี นรขู้ อง

ตนเองใหส้ อดคล้องกับรายวชิ าทล่ี งทะเบยี น โดยระบุขั้นตอนการเรียนรตู้ ง้ั แต่ตน้ จนจบ และมคี รูเป็นทปี่ รกึ ษา ให้
คำแนะนำในการศึกษาหาความรู้จากส่อื ตา่ ง ๆ และแหล่งการเรยี นรู้

๑) ลกั ษณะของผเู้ รียนท่สี ามารถเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง
๑) สมคั รใจท่จี ะเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ไม่ไดเ้ กิดจากการบังคบั
๒) ผ้เู รยี นเป็นแหลง่ ข้อมูล คือสามารถบอกไดว้ า่ ตนเองจะเรยี นเร่ืองอะไร มที ักษะและข้อมลู
อะไรบา้ ง สามารถกำหนดเป้าหมายได้ บอกวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูลได้ บอกวธิ กี ารประเมินผลการเรยี นได้ รถู้ ึง
ความสามารถของตนเอง ตดั สินใจได้ มคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าทแ่ี ละเปน็ ผูเ้ รียนรทู้ ด่ี ี
๓) รู้ “วิธกี ารท่ีจะเรยี น” คือรู้ข้ันตอนในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง วา่ จะต้องทำกจิ กรรมอะไรบา้ งจงึ จะทำใหเ้ กิด
การเรียนรู้
๔) มคี วามคดิ เชิงบวก มีแรงจูงใจ และสามารถเรียนแบบรว่ มมือกบั เพื่อนหรือบุคคลอืน่
๕) มีระบบการเรยี น รู้จกั ประยุกตก์ ารเรียน และสนกุ กบั การเรียน
๖) มกี ารเรียนรู้จากข้อผิดพลาดและความสำเร็จ มีการประเมินผลเองและเขา้ ใจถงึ ศักยภาพของตนเอง
๗) มคี วามพยายามหา วธิ ีการใหม่ ๆ เพื่อหาคำตอบ รู้จักประยุกตใ์ ช้ความรทู้ ่ีได้จากการเรียนไปใชก้ บั
สถานการณ์จริง และหาโอกาสในการพัฒนา ค้นควา้ หาข้อมลู เพือ่ แกป้ ญั หา
๘) สามารถแสดงความคดิ เห็นและ อภปิ รายในกลุม่ เรยี นอยา่ งสร้างสรรค์
๙) การมีปฏสิ มั พันธ์กบั บุคคลอืน่ สามารถเกบ็ ข้อมูล และนำขอ้ มลู ไปใช้ประโยชนใ์ นการเรียน

๒) วธิ กี ารเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
๑) การวเิ คราะห์และกำหนดความต้องการ ผ้เู รยี นวิเคราะหแ์ ละกำหนดความต้องการในการเรยี นรู้ โดย
คำนงึ ถงึ ความต้องการและความสนใจเกีย่ วกบั เนื้อหาสาระทีต่ ้องการเรยี น
๒) การกำหนดจดุ มงุ่ หมายในการเรยี นรู้ ผู้ เรียนกำหนดจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ ท่มี ีความเป็นไปได้และ
สามารถปฏบิ ัติได้จริง โดยศึกษาจดุ มงุ่ หมายของรายวิชา แล้วเขยี นจดุ มงุ่ หมายในการเรยี น และระบุพฤติกรรมที่
คาดหวงั หรือผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั ทส่ี ามารถวดั ได้
๓) การวางแผนการเรียน ผ้เู รียนกำหนดแนวทางในการเรยี นของตนเอง เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ของรายวิชา
กำหนดเวลาเรยี น คอื กำหนดจำนวนช่วั โมง และจำนวนครงั้ ในการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ทำกจิ กรรมกลุม่ พบครเู พ่ือขอ
คำปรึกษา แนะนำ สอนเสรมิ และกำหนดเวลาทส่ี ิ้นสดุ การเรยี นของตนเอง
๔) การเลือกรปู แบบการ เรยี น คอื ผู้เรียน เลือกกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้แก่แหลง่ วิทยาการ ผรู้ ู้ แหล่ง
เรยี นรู้ เชน่ หอ้ งสมดุ วดั สถานีอนามัย และส่ือในการเรยี น เช่นหนังสอื เรียน วีซีดี สอ่ื คอมพวิ เตอร์
๕) การกำหนดบทบาทผู้ ชว่ ยเหลอื ในการเรียน เพือ่ ช่วยให้ผ้เู รียนเข้าใจในเนื้อหาสาระ และเกดิ ทักษะย่งิ ข้ึน
และประสบผลสำเร็จในกาเรียน เช่นมีเพ่ือร่วมเรียนเพ่อื ใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
๖) การกำหนดวิธีการ ประเมินผลการเรียน ครูและผเู้ รยี น ควรร่วมกันกำหนดวธิ กี ารวดั ผลและประเมินผล เช่น
กำหนดเครื่องมือวัดผลได้แก่แบบทดสอบตา่ ง ๆ หรอื ชนิ้ งาน เปน็ ต้น
การเรยี นรู้แบบช้นั เรียน
การเรียนรู้แบบช้ันเรียน เปน็ การเรียนรใู้ นลักษณะแบบห้องเรียน ท่สี ถานศึกษากำหนดรายวชิ า เวลาเรยี น และ
สถานที่ท่ีเรยี นชัดเจน การเรยี นร้แู บบชัน้ เรยี นเหมาะสำหรับผูเ้ รียนทม่ี ีเวลามาเข้าชัน้ เรยี นสมำ่ เสมอ

๑. หลักในการเรียนรูแ้ บบช้ันเรียน
๑) สถานศึกษากำหนดสถานที่เรยี นและตารางเรียนทเี่ หมาะสม
๒) จดั ให้มีการประชาสัมพนั ธ์การเรียนรแู้ บบชั้นเรยี น เกย่ี วกับสถานท่ี วัน เวลาท่ีเรียนและครผู ูร้ ับผดิ ชอบให้

ผู้เรียนทราบอยา่ งทั่วถงึ
๓) สถานศกึ ษาจัดหาสือ่ และอุปกรณ์การเรยี นการสอน เชน่ เครอ่ื งมือ – อุปกรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์ เครื่อง

คอมพวิ เตอร์ และโสตทัศนูปกรณ์ ทมี่ คี ุณภาพ
๔) ผูเ้ รียนจะตอ้ งมเี วลามาเรยี นตามทกี่ ำหนดไว้ในตารางเรียน
๒. วธิ ีดำเนนิ การจดั การเรยี นรู้
๑) การจัดกระบวนการเรียนรู้ การ จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยครู ผูร้ ู้ หรอื ผเู้ ชี่ยวชาญ ด้านเนื้อหานน้ั ๆ เป็นผู้

ถา่ ยทอดความรู้และฝึกทักษะใหก้ ับผูเ้ รียน โดยเปิดโอกาสให้ผ้เู รียน ซกั ถาม แสดงความคิดเห็นและลงมอื ฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ
และครูควรจดั เวลาในการให้คำปรึกษาแกผ่ ู้เรยี น

๒) การจัดกระบวนการปฏิสัมพนั ธ์ เป็น การจัดกระบวนการท่ีสง่ เสรมิ การมีปฏสิ มั พันธ์ในการเรียนรู้ระหวา่ งครู
กับผู้ เรยี น และผู้เรียนกับผูเ้ รียน เชน่ กจิ กรรมกล่มุ การจดั ทนี่ ัง่ เปน็ กลุม่

๓) การจัดให้มีการปรับบทบาทผ้เู รยี น เช่นการแบ่งผ้เู รียนเป็นกลมุ่ ยอ่ ย ๆ และมอบหมายงานใหป้ ฏิบัติ ในการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ ครูจะจัดกจิ กรรม 3 ลกั ษณะ ดังน้ี

(๑) การใหข้ ้อมูล ข้อเทจ็ จรงิ
(๒) การเรยี นร้ดู ว้ ยการลงมือปฏิบตั จิ รงิ
(๓) การสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกนั ระหว่างผเู้ รียนและครู
๔) การตดิ ตาม และช่วยเหลอื ผเู้ รยี น เชน่ จดั บรกิ ารแนะแนว จัดบริการให้คำปรกึ ษา จดั ใหม้ ผี ูช้ ่วยสอน และ
การติดตามชว่ ยเหลอื โดยเพอ่ื หรอื กลมุ่ เพ่ือน
การเรยี นรูจ้ ากรูปแบบ ดังที่กล่าวขา้ งต้น สถานศึกษาและผู้เรยี นจะรว่ มกนั กำหนดว่าในแต่ละรายวิชาจะเรยี นรู้
แบบใด ซ่ึงขน้ึ อยู่กบั ความยากงา่ ยของเนื้อหาสาระของแต่ละรายวชิ านน้ั ๆ โดยใหส้ อดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ติ และการประกอบ
อาชพี ของผู้เรียน และขึ้นอยูก่ ับความพร้อมของสถานศึกษาในการจัดสอนเสรมิ เพ่ือเติมเต็มความรู้ ใหก้ ับผเู้ รยี นได้
เรยี นรูใ้ ห้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรทู้ ีก่ ำหนดไว้ นอก จากน้ันสถานศกึ ษาสามารถออกแบบการเรียนร้แู บบอนื่ ๆ ไดต้ าม
ความต้องการของผู้เรียนและความพร้อมของสถานศกึ ษาแต่ละแห่ง สำนกั งาน สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั

๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. หมวด ๓ การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น
โดย นางสาวเอมอร บริบูรณ์ อดีตขา้ ราชการครู ชำนาญการพิเศษ

๓.๓ การอบรมบ่มนิสยั ให้ผู้เรียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมคณุ ลกั ษณะอันพ่ึงประสงคแ์ ละค่านยิ มท่ีดงี าม
ความหมายของคณุ ลักษณศกึ ษา

“คุณลกั ษณศกึ ษา” เป็นคำที่แปลมาจากศพั ท์ภาษาอังกฤษวา่ “character education” ซึ่งมคี วามเกี่ยวข้อง
และคลา้ ยคลึงกับ "moral education" และ "virtue education" คำเหลา่ น้มี ักจะใช้แทนกนั และใช้ในความหมาย
เดยี วกันในเชงิ การจัดการศึกษาหรอื กระบวนการขัดเกลาทางสงั คมท่ีมุ่งเนน้ การพัฒนาบุคคลให้มพี ฤตกิ รรมและ
ความคดิ ที่ดีงามตามอุดมคติท่ีสงั คมพึงประสงค์ หมายถงึ กระบวนการเรียนรู้ทง้ั ท่ีเปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการท่มี ุ่ง
พฒั นาความคิด ความเชื่อ คา่ นิยม และพฤติกรรมที่ดีในบุคคลเพ่ือสร้างสรรค์สงั คมทีด่ ีต่อไป นยิ ามข้างตน้ ช้ใี ห้เหน็ ว่า
แนวทางการพฒั นาคุณลกั ษณะท่ีดีของเด็กและเยาวชนมขี อบข่ายครอบคลุมแนวคดิ ท่ีเกี่ยวกบั การพฒั นาความคิด ความ
เชื่อ ความรสู้ กึ และพฤติกรรม ตามกรอบของค่านิยม จารีต ประเพณี คุณธรรม ศลี ธรรมตามหลักศาสนา มาตรฐาน

กฎเกณฑแ์ ละขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ในสงั คม ตลอดจนสภาพในอุดมคติท่ีควรจะเป็นท้ังในระดับบุคคล คือ ในเด็กและเยาวชน
ตลอดจนในระดบั สงั คมและประเทศต่อไป
คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์สำหรับสงั คมไทย

คุณลกั ษณะทด่ี ขี องคนไทยทพี่ ึงประสงค์ ซ่งึ กำหนดในมาตรฐานการศกึ ษาชาตคิ ือ คณุ ธรรมและจติ สำนึกใน
ความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยคนไทยตอ้ งมีการดำเนินชวี ติ โดยกายสจุ ริต วจสี จุ รติ และมโนสจุ รติ สำหรบั การ
วจิ ัยนีไ้ ดก้ ำหนดคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ออกเป็น ๓ ดา้ น ได้แก่ คุณลักษณะดา้ นคณุ ธรรม คณุ ลักษณะดา้ นสังคม และ
คณุ ลกั ษณะดา้ นการเรยี นรู้

๑. คุณลกั ษณะด้านคุณธรรม หมายถงึ คุณลกั ษณะทเี่ ปน็ สภาพความดงี ามในดา้ นต่างๆ และ หากยดึ ชดุ ของ
คณุ ธรรมระดับบุคคลเพอ่ื มุ่งความสำเรจ็ ของส่วนรวมตามแนวพระราชดำริของพระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว จากการ
วิเคราะห์ของไกรยทุ ธ ธรี ตยาคนี นั ท์ พบว่าคุณธรรมระดับบุคคลเพ่ือความสำเรจ็ ในการดำเนนิ ชวี ิตและเปน็ ประโยชน์ต่อ
ส่วนรวมมี ๔ ชุด ไดแ้ ก่

๑ คุณธรรมท่ีเปน็ ปจั จยั แรงผลักดนั หมายถึง สภาพความดีงามทีช่ ว่ ยเรง่ รดั ใหก้ ระทำการใด ๆ ให้
บรรลุจุดมุง่ หมายที่ตง้ั ไว้ เช่น ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความอดทน ความสามารถพ่งึ ตนเอง และความมีวนิ ัย

๒ คณุ ธรรมทเี่ ป็นปัจจัยหลอ่ เล้ียง หมายถึง สภาพความดีงามท่ีช่วยเรง่ รัดให้กระทำการใด ๆ ใหบ้ รรลุ
จุดมุ่งหมายทต่ี ้ังไว้อยา่ งต่อเน่ือง เชน่ ฉนั ทะ ความรับผดิ ชอบ ความสำนึกในหนา้ ที่ และความกตัญญู

๓ คณุ ธรรมทเ่ี ป็นปจั จัยเหนย่ี วร้ัง หมายถงึ สภาพความดีงามท่ชี ว่ ยยึดประวงิ หรือตักเตือนใหก้ ระทำ
การใด ๆ ให้บรรลจุ ุดมุ่งหมายทตี่ งั้ ไว้ เช่น ความมสี ติและรอบคอบ และความตั้งจติ ให้ดี

๔ คณุ ธรรมทเ่ี ป็นปจั จัยสนบั สนุน หมายถงึ สภาพความดีงามท่ชี ่วยส่งเสรมิ ใหก้ ระทำการใด ๆ ให้
บรรลุจดุ มงุ่ หมายท่ตี ง้ั ไว้ เช่น ความเมตตา ความปรารถนาดตี ่อกนั ความเอ้ือเฟอ้ื ต่อกัน ความไมเ่ ห็นแก่ตัว ความไมเ่ อา
รดั เอาเปรยี บผอู้ ื่น ความอะลุ้มอล่วยถอ้ ยทีถ้อยอาศัย

๒. คุณลักษณะด้านสงั คม หมายถงึ คุณลักษณะทีเ่ ก่ยี วข้องกับการเขา้ สังคมและการมปี ฏิสัมพนั ธก์ ับผอู้ นื่ เชน่
ความมีกริ ิยามารยาท การปรับตวั ความตรงตอ่ เวลา ความสุภาพ การมีสัมมาคารวะ การพดู จาไพเราะ และความอ่อน
น้อมถ่อมตน

๓. คณุ ลักษณะด้านการเรยี นรู้ หมายถงึ คุณลักษณะท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการศึกษาหาความรู้ การทำความเข้าใจใน
เรื่องตา่ ง ๆ เช่น ความใฝ่ร้ใู ฝ่เรียน ความรักโรงเรียน และความรกั การอ่าน

๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. พักรับประทานอาหารเยน็
๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. หมวด ๓ การบริหารจัดการช้ันเรยี น

โดย นางสาวเอมอร บริบูรณ์ อดีตขา้ ราชการครู ชำนาญการพเิ ศษ
๓.๓ การอบรมบ่มนสิ ยั ให้ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรมจริยธรรมคณุ ลักษณะอันพ่ึงประสงค์และค่านยิ มทด่ี งี าม
นวตั กรรมการพฒั นาคณุ ลักษณะที่ดี
ผลการดำเนินโครงการทำใหค้ รอู าจารย์ในโรงเรียนได้มีการพัฒนานวตั กรรมคุณลกั ษณะศึกษาซึ่งสามารถ
จำแนกเปน็ ประเภทต่าง ๆ ได้ดังน้ี
๑. นวัตกรรมหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum Innovation) การจดั กจิ กรรมบรู ณาการแบบ
เนน้ คณุ ธรรม (moral-focused activity) โดยการสอดแทรกการพฒั นาคุณธรรมระหวา่ งการพฒั นาทกั ษะ

ความสามารถของนกั เรียนตามจดุ มงุ่ หมายทก่ี ำหนดในหลกั สตู ร
๒. นวตั กรรมกระแสนิยม (In Trend Innovation) การจัดกิจกรรมใชก้ ารสร้างกระแสหรอื การนำคา่ นยิ มท่ี

เกดิ ขึน้ ตามกระแสในชว่ งนน้ั มาใชเ้ ปน็ สอ่ื ในการออกแบบกจิ กรรมเพ่ือดงึ ความสนใจของนักเรียน หรือการกำหนด
กิจกรรมที่มลี กั ษณะการแข่งขัน เพอ่ื ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งสถานภาพของบุคคลหรือชนชน้ั

๓. นวัตกรรมขบวนการบูรณาการ (Integrated Process Innovation) การจัดกิจกรรมทีม่ ีการบรู ณาการ
กระบวนการดำเนนิ งานของนักเรยี นในกิจกรรมตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เน่ืองเป็นระยะ ๆ มิใชจ่ ดั กจิ กรรมใดกิจกรรมหนึ่งแล้ว
หยดุ แลว้ เริ่มทำกจิ กรรมอ่ืนต่อไปทีไ่ ม่สัมพนั ธก์ ับกิจกรรมเดมิ

๔. นวัตกรรมริเรมิ่ จากนักเรียนร้อยแปดแบบ (108 Student Initiations Innovation) การจดั กิจกรรมท่ีให้
นกั เรียนเปน็ ผ้คู ดิ ริเริ่มและออกแบบกจิ กรรม เพ่ือให้ได้กิจกรรมและการขยายผลท่นี ำไปสู่การพฒั นาคุณลักษณะ

๕. นวตั กรรมทที่ ำให้เข้าระบบสถาบนั (Institutionalized Innovation) การจดั กิจกรรมทีก่ ำหนดเป้าหมาย
ของการดำเนนิ งานในระดับสูง และทำใหเ้ ปน็ ภารกิจปกติของโรงเรียนโดยกำหนดเปน็ แผนงานหลกั

๖. นวตั กรรมองิ การเรียนรจู้ ากการบรกิ าร (Service Learning-Based Innovation) การจัดกิจกรรมทจี่ ัด
โอกาสใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรจู้ ากการทำงานท่ีเป็นการใหบ้ รกิ ารแก่สังคม

๗. นวตั กรรมการประชุม (Forum Innovation) การจดั กิจกรรมทที่ ำใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรผู้ ่านการประชุม
ในรูปแบบของสมชั ชาหรอื การเสวนา เพอื่ ให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรูร้ ว่ มกนั

๘. นวัตกรรมคุณค่าเพือ่ ชีวิต (Living Values Innovation) การจัดกิจกรรมโดยใชแ้ นวคิด “คุณค่าเพ่ือชีวติ ”
ซึ่งพัฒนาโดยนักวิชาการชาวตะวันตก บนพ้ืนฐานแนวคดิ ของการพัฒนาจติ ใจของนกั เรียนใหม้ ีความสงบ และเรียนรู้ท่ี
จะพัฒนาตนเองใหด้ ำรงชีวติ อย่างมคี ุณคา่

๙. นวัตกรรมทเ่ี ปน็ นสิ ยั ประจำ (Routine Habit Innovation) การจัดกิจกรรมโดยครูเป็นผู้กำหนด
คณุ ลักษณะท่ีจำเปน็ ต้องพฒั นาในตัวนักเรยี นและฝึกปฏิบัติเปน็ นสิ ัยในชวี ิตประจำวัน

๑๐. นวตั กรรมการพฒั นาตนเอง (Self-Development Innovation) การจดั กจิ กรรมโดยการฝกึ ใหน้ ักเรยี น
รู้จกั ประเมนิ ตนเอง และมีการพัฒนาตนเองในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ กิจกรรมการเผากิเลส ให้นักเรยี นเขยี นพฤติกรรมท่ีไม่
เหมาะสมที่ตนเองได้ปฏิบตั บิ นกระดาษ

๑๑. นวัตกรรมการประยกุ ต์ในโลกแห่งความเป็นจริง (Real World Application Innovation) การจัด
กิจกรรมโดยการนำพฤตกิ รรมที่เกดิ ขึน้ ในโลกแห่งความเปน็ จริงมาใชก้ บั การแสดงพฤติกรรมในโรงเรยี น
อำรุง จันทวานิช เลขาธิการสภาการศึกษา สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) กล่าวถงึ การพัฒนาคณุ ลักษณะที่
พึงประสงค์ของคนไทยว่า สกศ. ไดศ้ ึกษาเรอ่ื งคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของคนไทย

๑๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. พบปะวทิ ยากรพ่ีเล้ียง

วันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๓

๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. พัฒนากาย พัฒนาจติ โดยอาจารสาธติ เจรรี ตั นแ์ ละคณะ
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. เตมิ เตม็ ความร้แู ละนำเสนอขา่ วสารข้อมูล โดยอาจารสาธิต เจรีรัตน์และคณะ
๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. หมวด ๔ การมีส่วนรว่ มการพัฒนาในสถาศกึ ษาและชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี

โดย นายอำไพ ขาขนั มะลี รองผ้อู ำนวยการ สำนกั งาน กศน.ขงั หวัดอา่ งทอง
๔.๑ การทำงานเปน็ ทีม
การทำงานเป็นทมี หมายถงึ การร่วมกนั ทำงานของสมาชิกท่ีมากกวา่ หน่งึ คน โดยทส่ี มาชกิ ทกุ คนจะตอ้ งมี
เป้าหมายเดยี วกันวา่ จะทำอะไร ทกุ คนต้องยอมรับร่วมกันและมีการวางแผนร่วมกนั การทำงานเป็นทีมมีความสำคัญต่อ
ทุกองคก์ ร เป็นสิ่งจำเปน็ สำหรับการทำงานใหม้ ีประสิทธภิ าพและเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการบริหารงาน การทำงานเป็น
ทีมมีบทบาทสำคัญทจ่ี ะนำไปสูค่ วามสำเรจ็ ของงาน ที่จะตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือของกลุ่มสมาชิกเปน็ อย่างดี
ลักษณะของการทำงานเป็นทีม ๔ ประการ
๑ การมปี ฏิสมั พันธ์ของบคุ คล หมายถึงสมาชกิ ต้ังแต่สองคนข้นึ ไป มีความเก่ยี วข้องในกจิ กรรมของกลมุ่ ทีมให้
ความตระหนักในความสำคัญของกนั และกัน แสดงออกซึง่ การยอมรับ การใหเ้ กยี รติกนั สำหรับกลุ่มขนาดใหญม่ ักมี
ปฏสิ ัมพันธ์กันเป็นเครือข่ายมากกวา่ การติดตอ่ กนั แบบตัวต่อตัว
๒ มจี ุดมงุ่ หมายและเป้าหมายรว่ มกัน การที่สมาชิกกลุ่มจะมสี ว่ นกระตุ้นใหเ้ กิดกิจกรรมร่วมกนั ของทมี
โดยเฉพาะจุดประสงคข์ องสมาชกิ กลุม่ ต้องสอดคลอ้ งกบั องค์การ จะชว่ ยให้งานประสบความสำเรจ็ ไดง้ ่าย
๓ การมโี ครงสรา้ งของทีมหรือกลุ่ม หมายถงึ ระบบพฤติกรรมทีเ่ ปน็ ระเบียบแบบแผนของกล่มุ ซง่ึ สมาชิกของ
กลุม่ ปฏบิ ตั ิตาม
๔ สมาชิกมีบทบาทและมีจดุ มุ่งหมายเดยี วกัน รกั ษาบทบาทหน้าทีม่ นั่ คงในแต่ละทีมหรือกลมุ่ มีการจดั แบง่
มอบหมายหน้าทใ่ี ห้ตามความเหมาะสมและความสามารถ
การทำงานเป็นทมี ต้องยึดหลักประชาธิปไตย มีความเสมอภาค เคารพใหเ้ กยี รติ ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็น สรา้ ง
ความสามคั คีในทีมหรอื กลุม่ จะช่วยให้งานประสบความสำเรจ็ และสมาชิกทำงานรว่ มกันในบรรยากาศแหง่ ความรัก มี
ความสขุ ในการทำงาน
คุณลักษณะของทีม
ทีมจะประสบความสำเรจ็ ในการทำงาน ทมี ทที่ ำงานรว่ มกันเพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายของงาน ทมี จะต้องยดึ ส่ิง
ต่อไปน้เี ปน็ กรอบในการทำงานรว่ มกัน คอื
๑. มีความเป็นหน่งึ เดียว มีความเขา้ ใจแผนงานหรือโครงการตรงกัน
๒. จดั การด้วยเหตุผล การดำเนินการให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มและมีสว่ นรับผดิ ชอบ
๓. พ่ึงพาตัวเอง โดยนำความถนัดและความสามารถที่แต่ละคนมีออกมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์
๔. ขนาดของกลมุ่ พอเหมาะ จำนวนสมาชิกไม่มากเกินไป หากเปน็ จำนวนค่จี ะงา่ ยต่อการออกเสียง
การรู้จกั เพอ่ื นรว่ มทีม
การรจู้ กั นสิ ัยใจคอ ความรู้ความสามารถ จะช่วยให้การทำงานเป็นทีมราบร่นื สมาชกิ ทกุ คนต้องมีความเขา้ ใจว่า
สมาชกิ แต่ละคนมีความแตกต่างกนั ในความรู้ความสามารถ น่ันคอื มบี ุคลิกภาพแตกต่างกัน ทุกคนต้องใจกว้าง ยึดหยุน่
และใหอ้ ภัยความผิดพลาดหรือความบกพร่องที่อาจเกิดขึน้ ตวั อย่างลกั ษณะของสมาชิก

๑. เปน็ นกั คิด ชอบแสดงความคิดเหน็ เปน็ เจา้ ความคดิ ชอบแสดงความคิดเหน็ ในงานของผู้อื่น
๒. เป็นนกั จดั องคก์ ร เปน็ เจ้าระเบยี บ ชอบจัดแจงส่ิงตา่ งๆ อาจไปยุง่ เกีย่ วกับการทำงานของทมี งาน
๓. เปน็ นกั ปฏิบตั ิการ เป็นคนมีความรับผิดชอบ ชอบทำงาน มุ่งส่คู วามสำเรจ็ มักไม่พอใจกับความลา่ ช้า

ความไมเ่ ปน็ ระบบระเบยี บ
๔. เป็นนักตรวจสอบ ชอบจับตาดคู วามก้าวหน้า หรือความบกพร่องทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ในการทำงาน บางคนเหน็

วา่ คอยจับผดิ อาจทำใหเ้ กิดความขดั แย้งในทีมได้
๕. เปน็ นักประเมิน อาจจะไมเ่ ป็นที่ช่ืนชอบของสมาชกิ เพราะการวพิ ากษว์ ิจารณ์การทำงาน
การทำงานเปน็ ทีมที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
การทำงานในสมยั ปจั จุบนั หรือการบรหิ ารงานในแนวใหม่จะทำแบบ “ขา้ มาคนเดยี ว” หรือ “วันแมน
โชว์” หรือ “ศลิ ปนิ เด่ียว” หรือ “อัศวินมา้ ขาว” ดูจะเปน็ ไปไดย้ าก และสำเรจ็ ยากด้วย กลุ่มงานที่มปี ระสิทธภิ าพ
จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบ 3 ประการ หรอื 3Ps ได้แก่
๑. มีวตั ถปุ ระสงค์ (Purpose) ชดั เจน
๒. มีการจัดลำดับความสำคัญ (Priority) ในการทำงาน
๓. มีผลการทำงาน (Performance)
การทำงานเปน็ ทีม ต้องใช้เวลาและทรัพยากรมากกว่าการทำงานคนเดียว เช่น
๑. ต้องมีการตดิ ต่อสือ่ สารกันมากข้ึน
๒. ต้องบริหารความขดั แย้งระหว่างกนั
๓. ตอ้ งมีการจัดการประชุม
๔. ตอ้ งมีค่าใช้จา่ ย
เพ่ือสร้างประสทิ ธิภาพในการทำงาน
วัตถุประสงค์ชดั เจน และมเี ป้าหมายทเี่ หน็ พ้องต้องกัน เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิงาน ทตี่ อ้ งการให้
องค์กรบรรลุผลสำเรจ็ ท่คี าดหวงั ไวใ้ นการดำเนนิ งาน ให้เป็นไปตามภารกจิ ขององค์กร
๑. การกำหนดวตั ถุประสงค์ท่ดี ี ต้องให้ผู้นำและสมาชกิ ในทมี มีสว่ นในการกำหนดหน้าที่ ความรบั ผิดชอบและ

วตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกัน
๒. ประโยชนข์ องการกำหนดวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ าน ใช้เป็นการรวมพลังในการ

ทำงาน และเปน็ เคร่ืองมือวดั ความสำเรจ็ หรือความล้มเหลวของงาน
๓. วตั ถปุ ระสงค์ที่ดี ต้องเขยี นเป็นลายลกั ษณ์อักษร เข้าใจง่าย สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ไม่ขัดกบั ระเบยี บข้อบังคับ

อ่ืนๆ ในองค์กร
การสนบั สนนุ และความไว้วางใจตอ่ กัน สมาชิกในทีมตอ้ งมีความไวใ้ จกันและกนั โดยทุกคนมเี สรีในการแสดง
ความคดิ เหน็ อย่างตรงไปตรงมา โดยไมต่ ้องเกรงว่าจะมีผลรา้ ยตามมาภายหลงั ทำให้กล้าทจ่ี ะเผชิญกับปัญหาต่างๆ ได้
เปน็ อยา่ งดี สมาชิกจะต้องให้การสนบั สนนุ ชว่ ยเหล่อื ในการทำงาน
ความร่วมมือและการใช้ความขดั แยง้ ในทางสร้างสรรค์ การสร้างความร่วมมอื กบั บคุ คลอน่ื ในการสรา้ งความ
รว่ มมือเพ่อื ความเขา้ ใจซึง่ กนั และกนั การขอความร่วมมือมีสองฝา่ ยคือ ฝ่ายขอความรว่ มมอื และฝา่ ยใหค้ วามร่วมมือ
ความรว่ มมือจะเกิดขึน้ เม่ือฝ่ายให้มคี วามเต็มใจและยนิ ดใี ห้ความร่วมมือ เหตผุ ลการขาดความร่วมมือเปน็ เพราะการขัด

ผลประโยชน์ไม่อยากใหผ้ ู้อื่นได้ดกี วา่ สมั พนั ธภาพไม่ดี วตั ถุประสงค์ท้ังสองฝา่ ยไม่ตรงกัน ไม่เหน็ ดว้ ยกบั วธิ ีการทำงาน
ไม่มีความพร้อมในการให้ความรว่ มมอื

ความขดั แย้ง หมายถึงความไมล่ งรอยกันในความคดิ หรือการกระทำที่เกิดข้ึนระหวา่ งสองคนขน้ึ ไปหรือระหวา่ ง
กลุม่ เพราะขดั ผลประโยชน์ ความคดิ ไมต่ รงกัน ผลประโยชน์ขดั กนั องค์กรขัดแยง้ กนั ฯลฯ วิธีแกค้ วามขัดแย้ง ควรใช้
วิธีแกป้ ัญหารว่ มกนั ใหเ้ กิดความเสมอภาค ไมใ่ หเ้ กดิ การได้หนา้ หรือเสยี หน้า เป็นการเจรจาแบบประนปี ระนอม

กระบวนการทำงานและการตัดสินใจท่ีถูกต้องและเหมาะสม งานท่ีมปี ระสิทธิภาพนน้ั สมาชิกทกุ คนจะต้อง
โฟกัสไปท่ีงานและผลของงานเป็นลำดับแรก ต่อมาก็เปน็ การวางแผนว่าทำอย่างไรงานจงึ จะออกมาดี ขนั้ ตอนในการ
ตัดสนิ ใจ

๑. ทำความเข้าใจอย่างชดั เจนในเหตุผลสำหรับการตัดสินใจ
๒. วเิ คราะห์ลักษณะปญั หาทีจ่ ะตอ้ งตดั สนิ ใจ
๓. ตรวจสอบทางเลือกในการแก้ปญั หา
๔. นำผลการตดั สนิ ใจไปปฏิบัติ
ภาวะผนู้ ำที่เหมาะสม จะต้องเป็นผูช้ แ้ี นะประเด็นสำคัญในการทำงานตามบทบาทผนู้ ำ การแบ่งงาน การ
กระจายงานให้สมาชกิ ตามความร้คู วามสามารถ สง่ เสรมิ บรรยากาศที่ดใี นการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีม มีการพฒั นาทีมงาน
และบคุ ลากร
การตรวจสอบทบทวนผลงานและวิธใี นการทำงาน ทีมงานที่ดไี มเ่ พียงแต่ดจู ากลักษณะของทีม แตด่ ูทว่ี ิธกี าร
ทำงาน ดูจากขอ้ มูลปอ้ นกลับในการปฏิบัติงานของแต่ละคนและของทีมงานด้วย
การพัฒนาตนเอง การทำงานเป็นทีมท่ีมปี ระสทิ ธิภาพจะพยายามรวบรวมและใชท้ ักษะต่างๆ ของแตล่ ะคน
และยังต้องการพัฒนาให้มคี วามสามารถสูงขนึ้ ผ้บู ริหารหรอื ผนู้ ำตอ้ งมคี วามรู้ในการบรหิ ารคน สามารถสอนหรือพัฒนา
บุคลากรใหม้ ีลักษณะที่ดขี ึ้น
ประโยชนข์ องการทำงานเป็นทีม
๑. สร้างขวัญและกำลงั ใจแกส่ มาชกิ ทำให้เกดิ ความไว้ใจ บรรยากาศในการทำงานดี ช่วยให้การทำงานได้ผลดี
มปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. สร้างความม่นั คงในอาชพี เพราะมีการพัฒนาความรู้ ประสบการณ์และทักษะ ทำให้ความก้าวหนา้ ในอาชีพ
การงาน
๓. สร้างความสมั พนั ธ์ในงาน มีการช่วยกัน ระดมความรู้ ความสามารถของสมาชิกเข้าเป็นหนง่ึ เดยี ว ทำใหเ้ กดิ
ความผกู พนั ใกล้ชดิ และบรรลเุ ป้าหมายที่ต้องการพร้อมกนั
๔. เพ่มิ พนู การยอมรับนบั ถอื ซง่ึ กนั และกัน ในทีมงานมีการกำหนดใหส้ มาชิกมีบทบาทตา่ งๆ เชน่ ผนู้ ำทีม
หัวหน้ากลุ่ม ผปู้ ระสานงานและบทบาทอื่นๆ ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจในการทำหน้าทตี่ ามบทบาทที่ได้รบั แต่งตั้งหรือ
มอบหมาย ทำให้สามารถอยูร่ ่วมกันได้อย่างมีความสุข และเกิดผลงานทีด่ ี

๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. หมวด ๔ การมสี ่วนร่วมการพัฒนาในสถาศึกษาและชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี
โดย นายอำไพ ขาขันมะลี รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.ขงั หวัดอ่างทอง

๔.๒ งานกิจกรรมตามภารกิจบริหารงานของสถานศึกษา

แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอ
อำนาจและหนา้ ท่ตี ามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 10 มีนาคม 2551 เรือ่ ง การกำหนดอำนาจและ

หน้าทขี่ องสถานศึกษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอมอี ำนาจและหนา้ ท่ดี ังนี้
๑. จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
๒. ส่งเสริม สนบั สนุน และประสานภาคเี ครอื ขา่ ยเพ่ือจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๓. ดำเนินการตามนโยบายพเิ ศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สรา้ งความม่นั คงของชาติ
๔. จัด ส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพืน้ ที่
๕. จัด ส่งเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหลง่ เรียนรแู้ ละภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน
๖. วิจัยและพฒั นาคุณภาพหลกั สูตร ส่อื กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
๗. ดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์
๘. กำกบั ดแู ล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั
๙. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๑๐. ระดมทรัพยากรเพ่ือใชใ้ นการจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๑๑. ดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกบั ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการท่กี ำหนด
๑๒. ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. หมวด ๔ การมีส่วนร่วมการพัฒนาในสถาศึกษาและชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ

โดย นายอำไพ ขาขันมะลี รองผูอ้ ำนวยการ สำนกั งาน กศน.ขังหวดั อา่ งทอง
๔.๒ งานกจิ กรรมตามภารกิจบริหารงานของสถานศกึ ษา
กล่มุ งานพัฒนานโยบายและแผนงาน
มหี นา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบเกยี่ วกับงานนโยบาย ยุทธศาสตร์ และจุดเนน้ การดำเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้ังการดำเนนิ เกย่ี วกับงานเลขานกุ าร คณะกรรมการสง่ เสริม สนับสนุน และประสาน
ความร่วมมอื การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลมุ่ งานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีหน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบเก่ียวกบั การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพือ่ การบรหิ าร
จดั การ และกิจจกรรมการเรียนรู้ ท้ังด้านฮารด์ แวรด์ า้ นซอฟตแ์ วร์ และพีเพลิ แวร์ ตลอดจนงบประมาณ แผนงาน
โครงการ พัฒนาบุคลากร ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศของหน่วยงานสถานศึกษาและภาคเี ครอื ข่าย

กลมุ่ งานงบประมาณ
มีหนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบเก่ยี วกบั การวเิ คราะหค์ ำของบประมาณ ชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจำปี ต่อ

คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจำปีของสภาผู้แทนราษฏร จดั ทำแนวทาง
การจดั สรรงบประมาณใหส้ อดคล้องกับนโยบายและแผนการดำเนินงานของรฐั บาลและหนว่ ยงาน วิเคราะหก์ ารใชจ้ ่าย
งบประมาณ ของหนว่ ยงานในสงั กดั ใหค้ ำแนะนำปรึกษา ประสานงานใหค้ วามรู้ดา้ นงบประมาณ คำนวณต้นทุนผลผลิต
กจิ กรรมงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกำกับดแู ล ตดิ ตามการใช้งบประมาณ
กลมุ่ งานตดิ ตามประเมินผล

มีหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การติดตาม ประเมินผลและการวจิ ยั เชิงประเมนิ การนำนโยบายสกู่ าร
ปฏิบตั ิ ของหนว่ ยงานในระดับภาค การรายงานผลการดำเนินงานตามผลผลิตงบประมาณ นโยบายของหน่วยงาน
นโยบายรฐั บาล ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาพน้ื ท่ีเฉพาะและยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตลอดจนข้อมลู สถิติ และ
สารสนเทศ การพัฒนาบุคลากรด้านการตดิ ตาม ประเมินและสารสนเทศ การพัฒนาวิชาการประเมนิ และการวิจยั เชงิ
ประเมนิ ทางการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุ่มงานวเิ ทศสัมพนั ธ์

มหี นา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบเกย่ี วกับการจดั ทำข้อเสนอทางยทุ ธศาสตร์และแผนการพัฒนาทางการศกึ ษา
รองรบั นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ ารเพอ่ื ประชาคมอาเซียน การแสวงหาความร่วมมือทาง
วิชาการ ในระดบั นานาชาติในรปู แบบของการประชมุ สัมมนาทัง้ ในและตา่ งประเทศ การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน
การวจิ ัย การแลกเปลีย่ น ข้อมูลขา่ วสาร และองคค์ วามรู้กบั องค์กรนานาชาตแิ ละภาคีเครือขา่ ยทั้งในและต่างประเทศ
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป

มหี น้าทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั งานธรุ การ งานสารบรรณ งานผลิตเอกสาร งานบนั ทึกข้อมลู งาน
บคุ ลากร งานการเงิน พสั ดุงานแผนงานและงบประมาณของกลมุ่ แผนงาน งานประชุม การติดต่อประสานงาน งาน
บรกิ ารจดั ส่งสอื่ /เอกสาร อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ งานของกลมุ่ งานตา่ งๆ

๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. หมวด ๔ การมสี ่วนร่วมการพัฒนาในสถาศึกษาและชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ
โดย นายอำไพ ขาขนั มะลี รองผอู้ ำนวยการ สำนกั งาน กศน.ขงั หวัดอา่ งทอง

๔.๓ ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ
PLC หรือชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี มาจากภาษาอังกฤษสามคำ คือ

Professional หรอื "มืออาชีพ" เป็นคำคุณศัพท์ มาจากคำวา่ profess แปลวา่ ยอมรับ นับถือ การทำงาน
อยา่ งมืออาชีพ หมายถงึ การทำงานทีเ่ ป็นท่ยี อมรบั นบั ถือ การทำงานด้วยความรู้ ความเชี่ยวชาญ ถา้ ใช้กบั คนเรา
เรียกว่า Professor คือ คนท่เี ช่ียวชาญหรอื เกง่ ในเร่ือง นัน้ ๆ และยงั รอบรู้ทกุ เรื่องทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองนน้ั ๆ ด้วย การ
ทำงานอย่างมืออาชีพ จึงเปน็ การทำงานทค่ี นทำต้องร้แู ละเข้าใจประเด็นปัญหาและความตอ้ งการ สาเหตุ มคี วามรู้หรอื
หลกั การในการแก้ปัญหารู้ว่าตอ้ งทำอะไร ใชว้ ธิ กี ารอยา่ งไร ถ้าตอ้ งใชค้ นให้ช่วยทำงาน จะตอ้ งรูว้ า่ ให้คนไหนทำงานแล้ว
จึงบรรลุเปา้ หมาย ต้องรู้กฎ ระเบยี บท่เี ก่ยี วข้อง ร้หู รือคาดคะเนไดว้ ่า จะเกิดปัญหาอะไรบา้ งในการทำงานเพือ่ หาทาง
ปอ้ งกันแก้ไข รูว้ า่ งานท่ีทำเสร็จแลว้ จะเกดิ ประโยชนอ์ ะไรบ้าง อนาคตจะเป็นอยา่ งไรจากการทำงานนนั้ ๆ หรือรู้
เปา้ หมายของงานทชี่ ดั แจง้ ถ้าทีมงานทำงานรว่ มกนั ลักษณะน้ที กุ ๆ คน ผลงานที่ได้จะสมบรู ณแ์ บบ จึงสามารถก้าวไปสู่
"มืออาชีพ" ได้

Learning หรอื การเรยี นรู้ หมายถึง การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างคอ่ นข้างถาวรอนั เป็นผลมาจาก
การฝกึ ฝนหรือการมปี ระสบการณ์ การเรยี นรนู้ ัน้ ไม่ใชเ่ ป็นการส่ังสอนหรอื การบอกเล่าใหเ้ ขา้ ใจและจำไดเ้ ทา่ นนั้ แต่
ความหมายคลมุ ไปถงึ การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อนั เป็นผลจากในกระบวนการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย ๓ ขนั้ ตอน
กลา่ วคือ

ขนั้ ท่ี ๑ ขัน้ ประสบการณ์ (experience) ในบุคคลปกติทุกคนจะมปี ระสาทรับร้อู ยู่ดว้ ยกนั ท้งั สิน้ ส่วนใหญ่ที่
เป็นทเ่ี ข้าใจกค็ ือ ประสาทสัมผสั ทง้ั ห้า ได้แก่ ตา หู จมกู ลน้ิ และผวิ หนงั ประสาทรบั รเู้ หลา่ น้ีจะเป็นเสมือนช่องประตูที่
จะใหบ้ คุ คลได้รบั รแู้ ละตอบสนองต่อสิง่ เร้าตา่ ง ๆ ถา้ ไม่มีประสาทรบั รู้เหล่าน้แี ลว้ บคุ คลจะไม่มโี อกาสรบั ร้หู รอื มี
ประสบการณ์ใด ๆ เลย ซ่งึ ก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรียนรูส้ ่งิ ใด ๆ ไดเ้ ลย ประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีบุคคลไดร้ บั น้นั ย่อมจะ
แตกต่างกัน บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง ในบางชนิดเป็นประสบการณ์ทางอ้อม บางชนิดเป็นประสบการณ์รูปธรรม
และบางชนิดเปน็ ประสบการณ์นามธรรม ทจ่ี ะนำไปสกู่ ารทำความเข้าใจในขัน้ ที่ ๒

ข้ันท่ี ๒ ขั้นทำความเขา้ ใจ (understanding) คือ ตคี วามหมายเปน็ หลกั การ (concept) ในประสบการณ์
น้นั กระบวนการนีเ้ กดิ ข้ึนในสมองหรือจิตของบคุ คล เพราะสมองจะเกดิ สญั ญาณ (percept) และมีความทรงจำ
(retain) ข้ึน ซง่ึ เรยี กกระบวนการนวี้ า่ "ความเข้าใจ" ในการเรียนรนู้ ้ัน บุคคลจะเข้าใจประสบการณ์ท่ีเขาประสบไดก้ ็
ตอ่ เมื่อเขาสามารถจดั ระเบียบ (organize) วิเคราะห์ (analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ต่างๆ
จนกระทงั่ หาความหมายอันแทจ้ รงิ ของประสบการณ์นน้ั ได้

ขน้ั ท่ี ๓ ขน้ั ความนึกคิด (thinking) ถือวา่ เป็นขั้นสดุ ทา้ ยของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการทเี่ กิดข้ึนใน
สมอง ความนึกคิดที่มีประสิทธภิ าพนัน้ ต้องเปน็ ความนึกคิดท่สี ามารถจดั ระเบยี บ ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์
ใหม่ท่ีไดร้ ับใหเ้ ขา้ กันได้ สามารถทีจ่ ะค้นหาความสมั พันธร์ ะหว่างประสบการณ์ทง้ั เก่าและใหม่ เป็นหวั ใจสำคญั ทีจ่ ะทำ
ให้เกิดความสมบูรณข์ องการเรยี นรู้อย่างแทจ้ ริง

Community หรือชมุ ชน หมายถึง การรวมตวั ของกลมุ่ คนท่รี ว่ มกันทำกจิ กรรมทางสงั คมทเี่ ปน็ การสมัครใจ
อาจได้รบั การสนบั สนนุ ตนเองเปน็ เอกเทศ หรอื อยใู่ นกฎเกณฑ์ที่กำหนดขนึ้ ทั้งทเี่ ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ รวมถึง
กลุ่มความสนใจต่าง ๆ เชน่ ชมรม กลมุ่ วัฒนธรรม กลุ่มศาสนา กลุ่มวชิ าชพี หรอื กลมุ่ วชิ าชีพทางการศกึ ษา เปน็ ต้น

ดงั น้นั Professional Learning Community หรอื ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (ทางการศึกษา) จึงหมายถงึ
การรวมตัวของกลุ่มครู ผบู้ ริหารโรงเรียน ผบู้ ริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กยี่ วข้อง ต้ังแต่สองคนขน้ึ ไป
เพอ่ื ร่วมมอื รว่ มใจกนั เรยี นรู้ทางวชิ าชีพการศกึ ษา ที่มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิไปท่ผี ูเ้ รยี น ใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาการเรยี นรู้ไดด้ ว้ ย
ตนเอง ผา่ นกระบวนการทำงานอย่างมืออาชพี เรยี นรู้แลกเปลีย่ นเรียนรู้ซึ่งการและกัน ตลอดจนรว่ มดำเนินการการ
วางแผนอยา่ งเป็นระบบ ตง้ั เป้าหมายหรอื มีวิสัยทัศน์รว่ มกัน ร่วมกนั ดำเนนิ งาน รว่ มสะท้อนผลการทำงาน และรว่ ม
พฒั นาและปรบั ปรงุ คุณภาพการศึกษาให้มคี ุณภาพมากยง่ิ ขึ้น อย่างตอ่ เนื่อง จนเกิดเป็นวัฒนธรรมหรือชุมชนของการ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ซึ่งกันและกัน

๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. หมวด ๕ ทกั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
โดย นายอนนั ต์ สรุ ยิ กานต์ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญกาพเิ ศษ

๕.๑ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อพัฒนาตนเอง
มารจู้ ักกบั ทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สำหรบั การประเมนิ ทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของครแู ละ
บุคลากรทางการศกึ ษา
Digital literacy คืออะไร
ทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล หรือ Digital literacy หมายถงึ ทักษะในการนำเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์
และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลท่ีมีอยู่ในปัจจบุ นั อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์
มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ในการส่อื สาร การปฏบิ ตั ิงาน และการทำงานร่วมกนั หรือใชเ้ พ่ือพัฒนากระบวนการทำงาน
หรือระบบงานในองคก์ รใหม้ คี วามทนั สมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ทกั ษะดงั กล่าวครอบคลุมความสามารถ ๔ มิติ
๑. การใช้ (Use)
๒. เข้าใจ (Understand)
๓. การสรา้ ง (create)
๔. เขา้ ถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ในปัจจุบันโลกมีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ จากยคุ Analog ไปสูย่ คุ Digital และยคุ Robotic จงึ ทำให้
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมีอทิ ธิพลตอ่ การดำรงชีวติ และการทำงาน ขา้ ราชการซึ่งเป็นแกนหลกั ของการพฒั นาประเทศ จงึ ต้อง
ปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของการเปล่ียนแปลง เพอื่ ป้องกันไมใ่ หเ้ กิด culture shock เน่อื งจากการเปล่ยี นผ่าน
เทคโนโลยี และเพ่ือปอ้ งกันความเสย่ี งทีอ่ าจเกิดจากการใช้เทคโนโลยที ไ่ี ม่เหมาะสม เช่น การสูญเสยี การเป็นส่วนตวั
ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สนิ การโจรกรรมข้อมูล การโจมตที างไซเบอร์ เป็นต้น
Digital literacy หรอื ทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล เปน็ ทักษะดา้ นดจิ ิทัลพืน้ ฐานท่ีจะเปน็ ตวั ช่วย
สำคญั สำหรับขา้ ราชการในการปฏิบตั งิ าน การส่อื สาร และการทำงานรว่ มกนั กบั ผู้อ่นื ในลกั ษณะ “ทำน้อย ได้มาก”
หรอื “Work less but get more impact” และชว่ ยสว่ นราชการสรา้ งคณุ ค่า (Value Co-creation) และความคุ้มค่า
ในการดำเนนิ งาน (Economy of Scale) เพ่อื การก้าวไปสู่การเปน็ ประเทศไทย 4.0 อีกทงั้ ยงั เป็นเคร่ืองมือช่วยให้
ข้าราชการ สามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองเพ่ือใหไ้ ดร้ บั โอกาสการทำงานทีด่ ีและเติบโตก้าวหนา้ ในอาชีพราชการ
(Learn and Growth) ด้วย

๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารเยน็
๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. หมวด ๕ ทักษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยดี จิ ิทัล

โดย นายอนนั ต์ สุรยิ กานต์ ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญกาพิเศษ
๕.๑ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่อื พัฒนาตนเอง
ประโยชนส์ ำหรบั ข้าราชการ
๑. ทำงานไดร้ วดเร็วลดข้อผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทำงานมากข้ึน
๒. มีความภาคภูมิใจในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ไดเ้ อง
๓. สามารถแก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ ในการทำงานไดม้ ีประสิทธภิ าพมากข้ึน

๔. สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพมากขึ้น
๕. สามารถบรหิ ารจดั การงานและเวลาได้ดมี ากขึน้ และชว่ ยสรา้ งสมดลุ ในชีวติ และการทำงาน
๖. มีเคร่ืองมอื ชว่ ยในการเรียนรแู้ ละเติบโตอย่างเหมาะสม
ประโยชน์สำหรับสว่ นราชการและหนว่ ยงานของรัฐ
๑. หน่วยงานได้รบั การยอมรบั ว่ามคี วามทนั สมยั เปดิ กว้าง และเปน็ ท่ียอมรบั ซ่งึ จะช่วยดึงดูดและรกั ษาคนรุ่นใหม่

ทีม่ ีศักยภาพสูง มาทำงานกบั องค์กรด้วย
๒. หน่วยงานไดร้ ับความเช่ือมนั่ และไวว้ างใจจากประชาชนและผู้รบั บรกิ ารมากขึ้น
๓. คนในองคก์ รสามารถใช้ศักยภาพในการทำงานท่ีมมี ลู คา่ สงู (High Value Job) มากขึน้
๔. กระบวนการทำงานและการสื่อสารของงองค์กร กระชับขนึ้ คลอ่ งตวั มากขนึ้ และมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน
๕. หนว่ ยงานสามารถประหยดั ทรัพยากร (งบประมาณและกำลงั คน) ในการดำเนนิ งานได้มากข้ึน

๑๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. หมวด ๕ ทกั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยีดิจทิ ลั
โดย นายอนนั ต์ สรุ ิยกานต์ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญกาพเิ ศษ

๕.๒ ทักษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนรู้เพื่อการศึกษา

แนวคดิ ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา รวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ ส่ือ
พื้นฐาน แหลง่ การเรียนรแู้ ละเครือข่ายการเรยี นรูก้ ารเลือกใช้ การออกแบบ การสรา้ งและพฒั นา การนำไปใช้และ
ประเมนิ เพื่อปรับปรุงสอ่ื นวตั กรรม เพื่อให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ที่ดี เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวตั กรรมการเรียนรู้
รวมท้ังแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย เพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นร้ทู ักษะการใชค้ อมพวิ เตอรข์ ้ัน
พืน้ ฐาน

การเรียนร้ดู ิจทิ ลั คอื การผนวกกันของทักษะความรแู้ ละความเขา้ ใจทีผ่ ้เู รียนต้องเรียนรู้เพ่ือทจ่ี ะมีสว่ นร่วม
อย่างเตม็ ทแ่ี ละมีความปลอดภยั ในโลกยคุ ดจิ ิทลั มากขน้ึ ทักษะความรแู้ ละความเขา้ ใจนเี้ ปน็ กุญแจสำคัญทคี่ วรเปน็
องคป์ ระกอบของหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐานท้ังระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา และควรจะผนึกผสานอยใู่ นการ
เรียนการสอนของทุกรายวชิ าทุกระดับชั้น
การเรยี นรู้ดิจิทลั มีความสำคัญอยา่ งไร

เทคโนโลยีให้โอกาสในการมีส่วนรว่ มในชนิดใหม่ของการเรียนรู้ ชุมชน สงั คม และกจิ กรรมการทำงานทุกคน
จะตอ้ งมคี วามรูด้ ิจิทลั เพื่อใชป้ ระโยชน์สูงสดุ จากโอกาสเหลา่ น้ี หลกั ฐานทแี่ สดงใหเ้ ห็นวา่ ในขณะทีเ่ ยาวชนคนหนุ่มสาว
รู้สึกมั่นใจเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีน้ีไมไ่ ดเ้ ปน็ สิง่ บง่ บอกถงึ สมรรถนะหรอื ความสามารถทแ่ี ทจ้ ริง ในด้านทักษะการคดิ
วิจารณญาณ เชน่ ความตระหนักถึงกลยุทธ์ทางการค้าหรืออคติจากสอ่ื ตา่ งๆตลอดจนความปลอดภัยในการใช้งาน
นอกจากนี้การเรยี นรูด้ ิจิทลั จะมผี ลสำคัญตอ่ สังคมโดยรวม ตอ่ ความเสมอภาคในการเขา้ ถึงข้อมูลการบริการและการจ้าง
งาน การเข้ากล่มุ ทางสังคม และโอกาสในการเรยี นรู้เพิ่มเติม ตลอดจนอาจส่งผลกระทบตอ่ การขยายโอกาสทางธรุ กจิ
การพฒั นาการเรยี นรดู้ จิ ิทลั เป็นเรอ่ื งเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงธรรมชาติของความรู้ความเข้าใจครทู ุกคนสามารถ
นำเสนอมมุ มองทแ่ี ตกต่างกนั ในเร่ืองวธิ กี ารทีเ่ ทคโนโลยสี ามารถเพม่ิ คุณคา่ ในการเรียนของผู้เรยี นนอกจากน้ียงั ช่วยให้
ออนไลน์อยา่ งปลอดภัยหากผู้เรยี นมคี วามสามารถในการตัดสินใจทีเ่ หมาะสม

วนั ที่ ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓

๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. พัฒนากาย พัฒนาจติ โดยอาจารสาธติ เจรีรตั น์และคณะ
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. เตมิ เตม็ ความรู้และนำเสนอข่าวสารข้อมูล โดยอาจารสาธติ เจรรี ัตนแ์ ละคณะ
๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. หมวด ๕ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ัล

โดย นายอนันต์ เฟือ่ งทอง ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญกาพเิ ศษ
๕.๒ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ พัฒนาผ้เู รียน
การเรยี นร้ดู จิ ิทลั คอื อะไร
‘การร’ู้ (Literacy) ในแง่ดัง้ เดิมหมายถึงความสามารถอ่านและเขียนในภาษาท่ีใช้รว่ มกันของวฒั นธรรม สว่ น
การรู้ดิจิทัล หมายถึงการอ่านและการเขียนข้อความดิจิทัล เชน่ สามารถ ‘อ่าน’ เวบ็ ไซต์โดยผ่านการเช่ือมโยงหลายมติ ิ
และ ‘การเขยี น’ โดยการอัปโหลดภาพถา่ ยดิจทิ ลั เพือ่ เว็บไซต์เครอื ข่ายสังคมทกั ษะการทำงานท่ีจำเปน็ ในการดำเนินการ
และการส่ือสารดว้ ยเทคโนโลยแี ละสื่อ นอกจากนยี้ งั หมายถงึ ความรู้เกี่ยวกบั ความสำคัญของเทคโนโลยแี ละสอื่ ท่ีมี
ผลกระทบ แต่ที่สำคัญกว่านั้น คือความสามารถทีจ่ ะวิเคราะห์และประเมิน ความรู้ท่ีมีอย่ใู นเว็บไซต์ การเรียนการสอน
และการเรยี นรู้ไมส่ ามารถตีกรอบอยู่ในกจิ กรรมท่ีใช้กระดาษและปากกาเท่านัน้ ซ่งึ หมายความว่าผูเ้ รียนและครผู ้สู อน
จำเป็นต้องรู้สกึ ไดว้ า่ เทคโนโลยสี ามารถนำมาใช้ในทกุ วิชาและเขา้ ใจวา่ เทคโนโลยีดงั กล่าวส่งผลกระทบต่อส่ิงที่รใู้ นเร่ือง
ตา่ งๆ เทคโนโลยีกำลงั เปล่ียนแปลงวธิ กี ารที่เราศึกษาค้นคว้า เช่น ภูมิศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวทิ ยาศาสตร์ ระบบจีพี
เอส เร่อื งเลา่ ออนไลน์ แบบจำลองทางฟสิ ิกส์ และการใชท้ ัศนภาพ โปรแกรมการทำแผนท่ีอาจส่งผลกระทบตอ่ การเรียน
ภมู ิศาสตรก์ ารศึกษาวทิ ยาศาสตรอ์ าจรบั รวู้ ิธีการโตต้ อบด้วยภาพการรดู้ จิ ทิ ัลในรายวิชาต่างๆ ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งนำมาซึง่ การ
เปลย่ี นแปลงการสอนอยา่ งส้นิ เชงิ ทกั ษะตา่ งๆทเี่ ป็นสว่ นหน่งึ ของการเป็นความรแู้ บบดิจิทัลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการต้งั
คำถามทีส่ ำคญั ทักษะของการศึกษาท่มี ีประสทิ ธภิ าพและการวิเคราะหค์ วามผูกพันของผู้เรียนกับเนื้อหาวิชา จะยังคง
ช่วยใหค้ รหู าวิธีการสร้างสรรค์ท่มี ีประสิทธิภาพและมสี ่วนรว่ มในการจัดการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รการรดู้ ิจทิ ลั มีความหมาย
มากกวา่ ทักษะด้านเทคโนโลยอี ย่างงา่ ย ความเขา้ ใจรวมถงึ ทักษะทซ่ี บั ซ้อนมากขึ้นขององค์ประกอบและการวเิ คราะห์
ความสามารถในการสร้างความหลากหลายของเนือ้ หาท่มี ีการใช้เคร่อื งมือดจิ ิทลั ตา่ งๆ ทักษะและความรทู้ ่จี ะใชค้ วาม
หลากหลายของการใช้งานซอฟตแ์ วร์สอื่ ดิจิทัลและอปุ กรณ์ฮาร์ดแวรเ์ ชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศัพทม์ ือถือ และเทคโนโลยี
อนิ เทอร์เน็ตความสามารถในการเขา้ ใจสื่อดิจทิ ลั เนื้อหาการใชง้ านและความรู้ความสามารถในการสรา้ งดว้ ยเทคโนโลยี
ดิจิทลั
รูใ้ ช้ รู้เขา้ ใจ รู้สร้างสรรค์ เป็นคำที่แสดงลกั ษณะความรสู้ ามารถดิจิทัล
ใช้ (Use) แสดงถึงความคล่องแคลว่ ทางเทคนคิ ที่จำเปน็ ในการใชก้ บั คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ตชดุ รปู แบบ
พื้นฐานสำหรบั การพัฒนาทักษะทางเทคนิคทจี่ ำเปน็ รวมถึงความสามารถในการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ เว็บเบราเซอร์E-mail และการสื่อสารอ่ืนๆ เคร่ืองมือคน้ หาและฐานข้อมลู ออนไลน์
เข้าใจ (Understand) คอื ความสามารถท่ีจะเข้าใจบรบิ ทท่เี กีย่ วขอ้ ง และประเมนิ สอื่ ดจิ ิทัลตระหนักถงึ
ความสำคัญของการประเมินผลทส่ี ำคัญในการทำความเข้าใจดิจิทัลเน้ือหาของส่ือ และการประยกุ ต์ใชส้ ามารถสะท้อน
ใหเ้ ห็นถงึ รปู ร่างการเพ่ิมหรือจัดการกบั ความรสู้ ึกความเชือ่ ของเราและความรสู้ ึกเกยี่ วกับโลกรอบตวั เราความเข้าใจ
ความสำคัญของสื่อดจิ ทิ ลั ท่ชี ว่ ยให้บคุ คลเก็บเกี่ยวผลประโยชนแ์ ละลดความเสีย่ ง การมสี ว่ นร่วมในสงั คมเตม็ รปู แบบ
ดิจิทัล ทกั ษะชุดนยี้ ังรวมถงึ การพฒั นาทักษะการจัดกาสารสนเทศและการแข็งคา่ ของสิทธคิ นและความรับผดิ ชอบใน

การไปถงึ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ในเศรษฐกิจความรู้ ชาวแคนาดาจำเป็นต้องรวู้ ธิ กี ารหาประเมินผลและมปี ระสิทธภิ าพใช้
ขอ้ มลู เพื่อการส่ือสารการทำงานร่วมกนั และแกป้ ัญหาในชีวิตสว่ นตัวและเป็นมอื อาชพี ของพวกเขา

สรา้ งสรรค์ (Create) ความสามารถในการสรา้ งเนอ้ื หาและมปี ระสทิ ธิภาพ การติดต่อสอ่ื สารโดยใช้ความ
หลากหลายของสื่อดจิ ิทัลเปน็ เครื่องมือ การสร้างสือ่ ดจิ ิทลั มีความหมายมากกวา่ ความสามารถในการใช้โปรแกรม
ประมวลผลหรือเขียนอเี มล์ รวมถึงความสามารถในการปรับการส่อื สารกับสถานการณ์และผู้รบั สารการสรา้ งและ
ตดิ ต่อส่อื สารโดยใชส้ ือ่ ผสม เช่น ภาพวีดโิ อและเสียงประกอบอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและมีความรับผิดชอบ ประกอบกบั
เนอื้ หาเว็บไซต์ทผ่ี เู้ รียนสร้าง เชน่ บลอ็ กและเวทสี นทนา วีดิโอแลภาพถ่ายรว่ มกัน เล่นเกมทางสงั คม และรปู แบบอน่ื ๆ
ของส่ือสังคม แนวคดิ นี้ยงั ตระหนกั ถึงสิ่งทเี่ ป็นความรู้ในโลกดจิ ิทลั ท่ีไมเ่ พียงแตส่ ร้างความชำนาญทางด้านเทคโนโลยี
เท่านัน้ แตย่ งั คำนึงถึงจริยธรรม การปฏิบัติทางสังคมและการสะท้อนส่งิ ท่ีฝังอยู่ในการเรียนรู้ การใช้เวลาว่าง และการใช้
ชีวิตประจำวัน
การเรียนรู้แบบดจิ ติ อลมีผลกระทบอย่างไร

การเรยี นรแู้ บบดจิ ิตอลมีผลกระทบต่อการพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ รปู แบบการนาเสนอเนอ้ื หา และ
พฤติกรรมของผอู้ ่าน อันเน่ืองจากลักษณะทท่ี างกายภาพเปล่ียนไปของหนงั สือแบบเดิมไปสู่เน้อื หาการเรยี นรู้แบบ
ดจิ ติ อล ดังน้ันการใช้เนื้อหาการเรียนรูแ้ บบดิจิตอลผเู้ รียนต้องมีการปรบั ตัวให้สามารถใชเ้ น้อื หาแบบนี้ได้ และผเู้ รยี น
จึงต้องมีการศึกษาความเช่ือมั่นของผู้เรียนต่อการใชง้ านรูปแบบของสือ่ ทน่ี าเสนอเนอ้ื หาในรปู แบบดิจิตอล เพือ่ นาไป
พฒั นาและปรับปรุงคณุ ภาพต่อไป เนื่องจากมีการใชเ้ น้ือหาการเรยี นรแู้ บบดิจติ อลมากขึ้น ทาให้สง่ ผลกระทบต่อ
อุตสาหกรรมส่งิ พิมพ์ ทาให้หนังสือท่ีพิมพ์ดว้ ยกระดาษมยี อดขายที่ลดลง สานักพิมพต์ ่างๆจงึ หนั ไปผลติ ในรปู สิง่ พมิ พ์
ดจิ ติ อลมากขึน้

๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. หมวด ๕ ทักษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
โดย นายอนันต์ เฟอื่ งทอง ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญกาพิเศษ

๕.๒ ทกั ษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการสอ่ื สาร
“เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพื่อการศึกษา”

คือ การนำความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารมาก่อให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงรูปแบบการ
เรียนรขู้ องมนุษย์ โดยการนำระบบเคร่ืองมือสอ่ื สารตา่ งๆ เช่น ระบบโทรศัพท์ ระบบโทรทัศน์ เข้ากบั ระบบคอมพิวเตอร์
ทต่ี อบโต้กบั ผูใ้ ช้ ประกอบกับการใช้แหล่งความรู้ทห่ี ลากหลายจะทำให้ผูใ้ ช้สามารถเรียนรู้สง่ิ ตา่ งๆ ตามความสนใจ
นอกจากน้ีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารยงั มศี ักยภาพในการลดขอ้ จำกดั ดา้ นเวลาและระยะทาง ส่งผลใหก้ าร
เปลี่ยนแปลงเรียนรขู้ ้อมลู ขา่ วสารเกดิ ขึ้นไดท้ กุ เวลาทุกสถานท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
วิธีการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการเรยี นรู้

อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือขา่ ย ICT ท่ีเชื่อมโยงแผ่ขยายครอบคลุมทัว่ โลก เปน็ ท้ังสิง่ แวดลอ้ มและเครื่องมือสำคญั ใน
การพฒั นาผเู้ รียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก การประยุกต์ใช้อนิ เทอร์เนต็ เพื่อการเรียนการสอน กระทำไดส้ องลักษณะ
ดังน้ี

แนวทางการประยุกต์ใช้อนิ เทอร์เนต็ ในด้านนกั เรียน
นกั เรยี นสามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตเพือ่ การศึกษาคน้ คว้าวิจัยการเขา้ รว่ มกิจกรรมเชงิ ปฏิสัมพนั ธ์ การเขา้ ร่วม

โครงงานบนเว็บ หรือสร้างสรรคผ์ ลงานเผยแพร่
๑ การศกึ ษาคน้ คว้า

นกั เรยี นจะสามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ เคร่ืองมือในการสบื คน้ ศกึ ษาวิจัยและจัดทำรายงานเว็บไซตท์ เี่ ป็นแหล่ง
ทรพั ยากร เพือ่ การค้นคว้ามีมากมายซึง่ อาจจดั ประเภทงา่ ยๆ ดังน้ี

๑. หอ้ งสมดุ และแหล่งอา้ งอิงทางการศกึ ษา
๒. แหลง่ ทศั นศึกษาทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
๓. เอกสารตำราเรยี น
๔. ขอ้ มูลพนื้ ฐานและเหตุการณป์ ัจจบุ ัน
๕. การตดิ ต่อผู้รู้และผู้เชยี่ วชาญ มแี หลง่ ข้อมูลทใ่ี ห้บริการตอบคำถาม
๒ กจิ กรรมเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interactive Activities)

มีเวบ็ ไซต์จำนวนมากท่เี ปดิ ให้มีกิจกรรมแบบโต้ตอบไดร้ ะหวา่ งเว็บไซต์กบั ผู้ใช้ เชน่ โปรแกรมสนทนาเกม
ออนไลน์ ทีส่ ำคญั และเป็นประโยชน์กบั ผู้เรียนอาจจำแนกเว็บไซตจ์ ำพวกน้ีไดด้ ังน้ี

๑. สถานการณ์จำลอง (Simulations) เป็นเว็บไซตท์ ่นี ำเสนอข้อมลู แบบมลั ติมเี ดยี มีการเคลื่อนไหวทง้ั ภาพและ
เสยี ง และผ้เู รียนสามารถตอบโตไ้ ด้ เชน่ ห้องทดลองเสมอื นจรงิ ในวิชาตา่ งๆ (Virtual Lab)

๒. บทเรยี นและแบบทดสอบ เป็นเว็บไซตป์ ระเภทบทเรียนหรือแบบฝึกออนไลน์ ซึ่งมีหลายสาขาวิชา รวมท้ัง
แบบทดสอบ ออนไลน์ท่ีมีทั้งการวดั ผลสัมฤทธ์ิ วดั ความรคู้ วามสามารถวดั บุคลิกภาพและสตปิ ญั ญา

๓. นิทรรศการบนเว็บ
๓ โครงงานบนเว็บ (Web-Based Project)

ได้มีการจัดทำโครงงานในช้ันเรยี นทั้งระยะสัน้ และระยะยาวเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ซ่งึ นักเรียนจะเขา้ ไปมสี ่วน
รว่ มไดจ้ ำนวนมาก และสามารถผนวกหรือจัดเข้าเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลกั สูตรเกย่ี วกับแหลง่
รวบรวมโครงงานทสี่ ำคญั
๔ การสร้างสรรคง์ าน

นักเรยี นทเี่ ปน็ รายบุคคล เป็นกล่มุ หรอื ครูท่ีดำเนินการร่วมกบั นักเรยี นสามารถสร้างหรือจัดทำเนื้อหาสาระเป็น
เว็บไซต์เผยแพร่แกส่ าธารณชนไดม้ เี วบ็ ไซตล์ กั ษณะน้หี ลายประเภท ไดแ้ ก่

๑. วารสาร หนังสือพมิ พ์ของนักเรยี น
๒. ผลงาน นทิ รรศการด้านศิลปะ และวรรณกรรม
๓. ผลงานการศึกษาคน้ คว้าเรอื่ งต่างๆ
๔. การทอ่ งเทยี่ วเสมือนจริง (Virtual Tours)
๕. การสะสม (Collections)
๖. การสรา้ งโฮมเพจ
๗. การจัดทำ web log

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ทดสอบประมวลผล ประเมินสิ้นสุดการพฒั นา โดยวิทยากรพ่ีเลี้ยง
๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. พธิ ีปิดและมอบวุฒบิ ตั ร โดยนายวสนั ต์ รชั ชวงษ์ ประธานกลุ่มเจา้ พระยาปา่ สัก
- สรุปผลทไ่ี ด้จากการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการโครงการอบรมหลักสูตรการเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ ง
เข้ม ตำแหน่งครผู ู้ช่วย สังกัดสำนกั งาน กศน. กล่มุ เจ้าพระยาป่าสัก

การเขา้ รว่ มอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการโครงการอบรมหลกั สูตรการเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม
ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนกั งาน กศน. กลมุ่ เจา้ พระยาป่าสัก ทำให้ไดร้ ับความรใู้ นเร่ืองต่าง ๆ มากมาย ทัง้ ในเร่ืองของ
วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ของการเป็นครูและเปน็ ขา้ ราชการที่ดี การปฏิบตั ิตามกฏระเบยี บของ
ข้าราชการและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเร่ืองการจดั การเรยี นการสอน ได้เข้าใจถงึ โครงสร้าง กศน.ได้ดีขึน้ ครู กศน. ควร
มีการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ เปน็ รปู แบบท่ีเนน้ ให้ผเู้ รียนได้มีการฝกึ คดิ วิเคราะห์ เรียนรไู้ ดต้ าม
ความสนใจและสามารถนำส่งิ ท่เี รยี นรไู้ ปใชไ้ ด้จริง หลกั สตู รสถานศึกษา เปน็ แผนหรือแนวทางหรอื ข้อกำหนดของการจัด
การศกึ ษาท่ีจะพฒั นาให้ ผู้เรยี นมีความรู้ ความสามารถ โดยใหแ้ ต่ละคนพัฒนาไปสู่ศักยภาพสงู สุดของตน และนำความรู้
ไปสูก่ ารปฏบิ ัติได้ รู้จกั ตนเอง มีชวี ติ อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ เรือ่ งการบริหารจดั การชัน้ เรียน กศน.ควรมีการ
จดั การบรหิ ารหอ้ งเรียน สถานที่พบกลุ่มใหม้ ีส่ิงอำนวยความสะดวกที่มคี ุณภาพเอ้อื ต่อการเรียนรู้ของผเู้ รยี น นองจากน้ี
ทกุ หน่วยงานตา่ งๆควรมรี ะบบการดแู ลนักเรยี นอยา่ งทวั่ ถงึ และตรงตามสภาพปญั หา รวมถงึ ควรมีการจดั กจิ กรรมท่ี
หลากหลายเพอื่ ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละค่านิยมท่ดี ีงามใหก้ บั นักศึกษา เรอื่ งการมี
สว่ นรว่ มการพัฒนาในสถานศึกษาและชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี การทำงานของ กศน. การทำงานเปน็ ทมี เป็นสิ่ง
สำคญั มากในการขับเคล่ือน ให้ กศน.อำเภอจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ มี่ คี ุณภาพ การบริหารงานของการศึกษา จะต้องมี
การบริหารจัดการทีด่ ี และความคมุ การทำงาน และดำเงินงานไดอ้ ย่างเปน็ ระบบตอ่ เน่ือง มีการวางแผนท่ดี ี สามารถ
ตรวจสอบและแก้ไข้ได้ การท่ีจะสรา้ งชุมชนการเรยี นรู้ทเ่ี ข้มแข็งข้ึนได้น้นั จำเป็นต้องสร้างความตระหนกั และใหม้ มุ มอง
ใหมต่ อ่ สาธารณชน และวงการวชิ าชพี ครทู ีต่ ้องเนน้ และเหน็ คณุ ค่าของความจำเปน็ ต้องพัฒนาครูให้มีความเป็นมืออาชีพ
ย่ิงข้นึ และสุดท้ายเรื่องของทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยดี จิ ิทัล การใช้ทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลจำ
ทำใหห้ นว่ ยงาน ทำงานไดร้ วดเรว็ ลดขอ้ ผิดพลาดและมีความม่ันใจในการทำงานมากขน้ึ หน่วยงานได้รับการยอมรบั ว่ามี
ความทันสมัย เปดิ กว้าง และเป็นทีย่ อมรบั ซึ่งจะช่วยดึงดูดและรักษาคนรนุ่ ใหมท่ ่มี ีศักยภาพสงู มาทำงานกับองค์กรดว้ ย

- แนวทางการนำผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการโครงการอบรมหลกั สตู รการเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนา
อยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกดั สำนักงาน กศน. กลุม่ เจา้ พระยาป่าสัก ไปใช้ในการพัฒนา

จะนำความรูท้ ่ีได้รบั ไปพัฒนาในการทำงานในตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กศน.เรม่ิ จาก การพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูที่ดี
ปฏิบัตติ นตามระเรยี บ ข้อบงั คับของกฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชพี ทำตวั เปน็ แบบอย่างทดี่ ีใหแ้ กเ่ พื่อนร่วมงาน
และศิษย์ ต้ังใจศึกษาหาความรใู้ นเรื่องของการจดั การเรยี นการสอน การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ มาปรับ
ใช้ให้เข้ากบั บรบิ ทในพ้นื ท่ี นำเทคนคิ เร่ืองการทำงานเปน็ ทีม มาใช้ใน กศน.อำเภอ เพอ่ื ทำให้คนในองค์กรทำงานร่วมกัน
ไดอ้ ย่างมคี วามสุข สง่ ผลดกี ับงานทเ่ี กดิ ขึน้ จะนำเทคโนโลยีมาเป็นสว่ นช่วยในการทำงาน การจดั กิจกรรม การส่อื สาร
ระหว่างการทำงาน เพื่อการดำเนินงานในขัน้ ตอนต่างๆของ กศน.อำเภอเป็นไปดว้ ยความสะดวกรวดเร็ว รวมทงั้
ถา่ ยทอดความรทู้ ี่ได้รับการอบรมมาใหแ้ กผ่ ้รู ว่ มงาน เพื่อการพัฒนา กศน.อำเภอให้มกี ารทำงานที่มปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน

โครงการอบรมหลักสตู รการเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม
ตำแหน่งครผู ชู้ ่วย สังกดั สำนักงาน กศน. กลมุ่ เจ้าพระยาป่าสัก
ระหว่างวนั ที่ ๑๔ - ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๓
ณ โรงแรมกรงุ ศรีรเิ วอร์ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

***********************************************************************************************

บรรยากาศการเข้ารับการอบรม รับความรู้จากวทิ ยากรทมี่ ีความรู้และประสบการณ์ มาถ่ายทอดความรู้ให้แก่
ครผู ู้ช่วยรนุ่ ใหมอ่ ย่างเตม็ ที่ ผเู้ ขา้ รบั การอบรมได้รบั ความรู้ ประสบการณ์ไดท้ ำกิจกรรมมากมาย และพร้อมนำความรทู้ ่ี
ไดก้ ลับไปใช้ในการทำงาน

โครงการอบรมหลักสตู รการเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย สงั กดั สำนักงาน กศน. กลมุ่ เจ้าพระยาปา่ สกั
ระหว่างวนั ท่ี ๑๔ - ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓
ณ โรงแรมกรงุ ศรีริเวอร์ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

***********************************************************************************************

การบริหารกาย บริหารจติ ในชว่ งเชา้ ของทกุ วันท่ีเข้ารบั การอบรม เปน็ กจิ กรรมที่ฝึกระเบียบวินัยและฝกึ จติ ใจ
ให้สดใส พรอ้ มรับความรู้ในการอบรมใหแ้ ก่ผู้เขา้ รบั การอบรมได้เป็นอย่างดี


Click to View FlipBook Version