The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by angsana, 2021-11-12 22:55:40

EIT-CSR

พ.ศ. 2536



 โรงแรมรอยัลพลาซ่าถล่ม
13 สิงหาคม 2536

“โรงแรมรอยัลพลาซ่า” ได้เกิดพังถล่มลงมาอย่างกะทันหัน เป็นเหตุท าให้มีผู้เสียชีวิตมากถึง 137 คน วิศวกรรมสถาน

ื้
แห่งประเทศไทยฯ ได้จัดการแถลงข่าว ลงพนที่ตรวจสอบอาคาร และจัดท ารายงานการศึกษาอาคารโรงแรมรอยัล
พลาซ่าวิบัติ ในปี 2537



















พ.ศ. 2547


 ภัยพิบัติจากคลื่นสึนามิ ภาคใต้
26 ธันวาคม 2547


เกิดภัยพบัติคลื่นสินามิ แผ่นดินไหวใต้ทะเล เมื่อเวลา 07.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปใน

มหาสมุทรอนเดีย ใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตรา ประเทศอนโดนีเซีย ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่


ระหว่างแมกนิจูด 9.1 ถึง 9.3 ตามมาตราโมเมนต์ ท าให้มีผู้เสียชีวิต และสิ่งก่อสร้างเสียหายจ านวนมาก
















1

พ.ศ. 2548



 ภัยพิบัติจากคลื่นสึนาม ภาคใต้


5 มกราคม 2548
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับสภาวิศวกร จัดโครงการวิศวกรอาสา “รวมพลังวิศวกรเพื่อชาวใต้” ช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยสึนามิ ท าให้มีวิศวกรสมัครเข้ามาเป็นจ านวนมาก โดยได้จัดแถลงข่าวเรื่อง เพื่อหาแนวทางด าเนินการช่วยเหลือที่

เหมาะสมแก่ผู้ประสบภัย


12 มกราคม 2548
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับสภาวิศวกร ร่วมกับสภาวิศวกร และสมาคมวิศวกรรมที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย
ร่วมกันตั้งศูนย์ให้ค าปรึกษาด้านวิศวกรรม มีศูนย์มีที่ตั้งอยู่ชั้น 2 ของอาคารธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร
ถนนหลวงพ่อ อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โดยมีเครือข่ายครอบคลุม 6 จังหวัด ที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ โดยจัดตั้งเมื่อ

วันที่ 12 มกราคม-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดย ฯพณฯ สุวิทย์ คุณกิตติ เป็นประธานเปิดศูนย์ให้ค าปรึกษาด้านวิศวกรรม
แก่ผู้ประสบภัยจากคลื่นสึนามิ มีตัวแทนจาก 3 หน่วยงานร่วมในพิธีเปิดประกอบด้วย ดร.พิชนี โพธารามิก นายประสงค์ ธารา

ไชย เลขาธิการสภาวิศวกร ดร.วิศิษฐ์ อุติศยวงศา นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย และ ดร.สุขุม สุขพันธ์โพ
ธาราม และนายธเนศ วีระศิริ หัวหน้าศูนย์บริการทางด้านวิศวกรรม ร่วมงานดังกล่าว ต่อมาได้จัดตั้งศูนย์ย่อยตามจังหวัดต่าง
ๆ โดยมีวิศวกรอาสาในท้องที่นั้น ๆ คอยช่วยเหลือ จึงได้ท าการปิดศูนย์ที่ จังหวัดภูเก็ต แล้วมาตั้งศูนย์ที่ส านักงาน ชั้น 3
อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เลขที่ 487 ซอยรามค าแหง 39 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์ที่กรุงเทพฯดังนี้
1. ให้บริการตรวจสอบและให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอาคาร เพื่อให้เจ้าของอาคารมีความมั่นใจว่าอาคารมีความ
เหมาะสมที่จะใช้งานต่อไป
2. ให้บริการกับส่วนราชการและประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อน และต้องการได้รับการบริการในวิชาชีพวิศวกรรม

โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
3. กรณีที่ผู้ประกอบการมีความประสงค์จะจ้างวิศวกรเพื่อกิจการของตน ศูนย์จะให้รายนามสมาชิกและนิติบุคคล
เพื่อให้ติดต่อเอง

























2

พ.ศ. 2549




 เขื่อนป้องกันตลิ่งแม่น้้าน่านพัง จังหวัดพิจิตร
8 มีนาคม 2549
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 2 ให้ความช่วยเหลือสาเหตุการพังทลายของเขื่อนป้องกันตลิ่งแม่น้ าน่าน
ในพื้นที่ต าบลวังกรด (บ้านบุ่ง) อ าเภอเมือง จังหวัดพิจิตร โดยเข้าส ารวจลักษณะและสภาพการพังทลาย เจาะส ารวจสภาพ
ชั้นดิน ทดสอบก าลังรับน้ าหนักบรรทุกของดิน เก็บตัวอย่างดินและท าการทดสอบในห้องปฏิบัติการ พร้อมแนะน าการ
แก้ปัญหา


 Taxiway และ Runway เกิดรอยแตกร้าว

27 ตุลาคม 2549
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ส่งคณะคณะผู้เชี่ยวชาญ นางอารยา เพ็งนิติ เลขาธิการ วสท. นายสืบศักดิ์ พรหมบุญ ที่
ปรึกษาอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี นายธิติ ปวีณชนา กรรมการอ านวยการ รศ.ดร.พิชัย ปมาณิกบุตร กรรมการ
อ านวยการ และนายสุรชัย ชัยสุนทรากุล ผู้เชี่ยวชาญด้านวัสดุ Asphalt กรมทางหลวง ร่วมหารือกับผู้บริหารท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ และท าการรอยร้าว (Crack) และร่องล้อ (Rutting) ที่ผิวทาง (Pavement) Taxi Way ณ สถานที่ก่อสร้าง
สนามบินสุวรรณภูมิ

















พ.ศ. 2550


 อุบัติเหตุเครื่องเล่นอินเดียนน่าล็อก
7 พฤศจิกายน 2550

ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ นายสืบศักดิ์ พรหมบุญ นายมานิตย์ กู้ธนพัฒน์ และนายอุทัย ไชยวงค์วิลาน ร่วมกับ
เจ้าหน้าที่ต ารวจกองพิสูจน์หลักฐาน เข้าตรวจสอบเครื่องเล่นอินเดียนน่าล็อก หรืออุปกรณ์ล่องแก่งที่สวนสยามจากการเกิด

เหตุขัดข้องทางเทคนิคจนเกิดอุบัติเหตุเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2550













3

พ.ศ. 2551



 ภัยพิบัติพายุไซโคลนนาร์กีสในประเทศพม่า

30 พฤษภาคม 2551
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับสภาวิศวกร ในนามประเทศไทยช่วยเหลือผู้ประสบภัยประเทศพม่า โดยร่วมบริจาค
เต้นท์พักอาศัยขนาดใหญ่ 14 หลัง วัสดุก่อสร้างมูลค่า 1,000,000 บาท เสื้อผ้ากว่า 2,000 ชิ้น และได้รับความร่วมมือในการ
บริจาคสิ่งของจากบริษัท ล็อกเล่ย์ จ ากัด (มหาชน) และบริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์ เนชันแนล จ ากัด (มหาชน) เพื่อมอบผ่าน
กองบัญชาการทหารสูงสุด ไปยังประเทศพม่า ณ กองบัญชาการทหารสูงสุด ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ จังหวัดนนทบุรี


18 มิถุนายน 2551
ประชุมหารือความร่วมมือระหว่างสมาคมวิศวกรรมแห่งประเทศพม่า และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดยสมาคม
วิศวกรรมแห่งประเทศพม่า (Myanmar Engineering Society น าโดย Mr.U Than Myint นายกสมาคม และคณะกรรมการ

เดินทางมาร่วมหารือกับที่อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เรื่องการแก้ไขป้องกัน และบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยพิบัติ
ไซโคลนนาร์กีสที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 ท าให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 100,000 คน วัตถุประสงค์เพื่อความ

ร่วมมือระหว่างทั้งสองสมาคมในการป้องกันภัยพิบัติธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่าง
ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในยามปกติและไม่ปกติ ซึ่งเป็นไปตามปณิธานแห่งการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งอาเซียน

























4

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มอบเครื่องท าน้ าดื่มเพื่อ
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ าท่วมประเทศพม่า























พ.ศ. 2552




 เพลิงไหม้ซานติก้าผับ

7 มกราคม 2552
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมผู้ตรวจสอบและ
บริหารความปลอดภัยอาคาร แถลงข่าวเรื่อง “ความปลอดภัยจากอัคคีภัย กรณีซานติก้าผับ” พร้อมเสนอให้ค าปรึกษา

และเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกัน และรับมือกับอคคีภัย จากเหตุการณ์เพลิงไหม้ซานติก้าผับ ท าให้มี

ื้
ผู้เสียชีวิตจ านวนมากพร้อมเข้าพนที่ส ารวจความเสียหาย โดยซานติก้าผับเกิดเพลิงไหม้ และมีผู้เสียชีวิตจ านวนมาก
เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552









5

พ.ศ. 2553




 เหตุเพลิงไหม้อาคาร จากเหตุการณ์ความไม่สงบในกรุงเทพมหานคร

20 ถึง 22 พฤษภาคม 2553
ในเดือนพฤษภาคม 2553 จากเหตุการณ์ความไม่สงบในกรุงเทพมหานคร เกิดเพลิงไหม้ทั่วกรุง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ
ไทยฯ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร เข้าส ารวจความเสียหาย และการป้องกันภัยจากอาคาร และสะพานที่ถูกเพลิงไหม ถึงอันตราย

ที่อาจเกิดขึ้นจากเพลิงไหม้ และเข้าตรวจพื้นที่อาคาร Center One และอาคารอื่น ๆ ย่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ อาคาร
Central World, Zen และ Siam Square เพื่อประเมินความเสียหายในเบื้องต้น และให้ค าแนะน ากับเจ้าของอาคารและ
กรุงเทพมหานครในการด าเนินการด้านความปลอดภัย
















6

3 และ 8 พฤศจิกายน 2553

คณะอนุกรรมการคลินิกช่าง วิศวกรอาสาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สาขา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งวิศวกรอาสาตรวจสอบความเสียหายของอาคารจากเหตุการณ์น้ าท่วม อาคาร สิ่งปลูกสร้างใน
พื้นที่จังหวัดลพบุรี และจังหวัดนครราชสีมา
























พ.ศ 2554




 อุทกภัยใหญ่กรุงเทพมหานคร


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้ส่งผู้แทนร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐเอกชน ช่วยเหลือประชาชน ที่ได้รับความเดือนร้อน
จากน้ าท่วมใหญ่ ในการป้องกันน้ าท่วมกิจกรรมดังภาพและลงพื้นที่ช่วยเหลือที่ต่าง ๆ ดังนี้


 ตรวจสอบสภาพน้ าที่เข้าท่วมพื้นที่เกษตร
 ร่วมกับการนิคมแห่งประเทศไทยในการป้องกันน้ าท่วมในเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง

 ร่วมช่วยแก้ปัญหาประตูน้ าการประปานครหลวง
 ช่วยเหลือประชาชนที่รับความเดือนร้อนจากเหตุน้ าท่วม





7


1. จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจร่วมแกไขปัญหาน้ าท่วม เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2554

2. เข้าพบนายกรัฐมนตรี เมื่อบ่ายวันที่ 30 ต.ค. 2554 โดยได้เสนอแนะการจัดการแก้ไขปัญหาน้ าท่วมอย่างเป็นระบบ
ตามแนวคิดในแถลงการณ์ฉบับที่ 4 ของวสท. ซึ่งพณฯท่านนายกรัฐมนตรีได้รับจะด าเนินการเนื่องจากเป็นแนวทาง

เดียวกับที่รัฐบาลเห็นชอบและเริ่มด าเนินการอยู่แล้ว นอกจากนั้น ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรีได้ขอให้ วสท. ช่วย
ด าเนินการตรวจสอบ ความแข็งแรงและประสิทธิภาพของพนังกั้นน้ าต่างๆ รอบ กทม.


3. เข้าร่วมประชุมกับผู้ว่าการฯ และผู้บริหารของการประปานครหลวง และได้เดินทางไปตรวจสอบแนวพนังกั้นน้ า

คลองประปาของการประปานครหลวงบริเวณไซฟอนลอดคลองรังสิตบริเวณหลักหก พร้อมทั้งตรวจสอบความแข็งแรง

ของระบบไซฟอน
4. ตรวจสอบพนังกั้นน้ าแนวคลองประปาบริเวณโรงกรองน้ าบางเขน และตรวจสอบระบบคันดินและแนวป้องกัน

ระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าของโรงกรองน้ าบางเขน
5. จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบอาคารด้านวิศวกรรมหลังอุทกภัย เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2554

6. ตรวจพนังกั้นน้ าด้านทิศเหนือ ของกทม. สรุปผล และข้อเสนอแนะตามแถลงการณ์ ฉบับที่ 7
7. ตรวจสถานการณ์น้ าท่วมสูงฝั่งตะวันตกบริเวณคลองมหาสวัสดิ์ อ้อมน้อย และบางแค

8. ส่งวิศวกร และช่างเทคนิค ร่วมปฏิบัติงานป้องกันน้ าท่วมที่โรงพยาบาลศิริราช

9. หารือเรื่องระบบการขนส่ง และการวางแผนระยะยาว โดยค านึงถึงการบริหารจัดการน้ า โดยคณะอนุกรรมการ
จราจร และขนส่ง วสท.


10. หารือเรื่องการกอบกู้ นิคมอตสาหกรรมเมื่อน้ าเริ่มลด โดยร่วมกับมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.ชัย มุกตพนธุ์ และ


คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพ รวมทั้งคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมอตสาหการ และคณะกรรมการสาขา

วิศวกรรมเคมี วสท.
11. หารือเรื่องการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ าเน่าเสีย และสิ่งแวดล้อมในภาวะวิกฤตน้ าท่วม 2554 โดยร่วมกับ
คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วสท.

12. นายก วสท. ร่วมตรวจสอบสถานการณ์น้ าท่วมทางอากาศ ร่วมกับที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6
พฤศจิกายน 2554

13. ประชุมแก้ปัญหาไขปัญหาสิ่งแวดล้อมหลังน้ าท่วม เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2554 ณ ห้องประชุมอาคาร วสท.


14. ลงพื้นที่ตรวจสอบคลองเปรมประชากร เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554


15. จัดเสวนา “ความจริงเรื่องน้้า... ในประเทศไทย” เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 ณ ห้องประชุมอาคาร วสท.


16. ลงพื้นที่ตรวจสอบสวนส้มโอ ที่ อ.นครชัยศรี จังหวัดนครปฐมที่ได้รับความเสียหายจากน้ าท่วม เพอช่วยหาวิธีแก้ไข
ื่
เมื่อ18 ธันวาคม 2554


17. จัดท าแถลงการณ์จ านวน 12 ฉบับ







8

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดแถลงข่าวเรื่อง “วิศวกรอาสาช่วยเหลือประชาชนในการตรวจสอบอาคารหลังน้ าท่วม”
และจัดตั้งศูนย์ตรวจสอบอาคารด้านวิศวกรรมหลังอุทกภัย เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนเรื่องโครงสร้างที่อยู่อาศัย ระบบ
ไฟฟ้า ระบบประปา สุขาภิบาล และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยรับสมัครวิศวกรอาสาจากทั่วประเทศ ซึ่งขณะนี้มีวิศวกรสนใจเข้า
ร่วมโครงการกว่า 150 คน จากหลากหลายสาขาไม่ว่าจะเป็น วิศวกรรมโยธา ไฟฟ้า เครื่องกล ฯลฯ















10 ถึง 12 ธันวาคม 2554

โครงการ "วิศวกรอาสา พากลับบ้าน" เพื่อให้ค าปรึกษา และความรู้แก่ประชาชน (ด้านไฟฟ้า โครงสร้าง ฐานราก ระบบ
สุขาภิบาล และระบบปรับอากาศ ฯลฯ) พร้อมลงพื้นที่ตรวจสอบสภาพอาคารบ้านเรือนตามหลักวิศวกรรม ที่ได้รับความ
เดือดร้อนจากอุทกภัย โดยได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และศูนย์นิทรรศการ และการ
ประชุมไบเทค บางนา พร้อมได้จัดแถลงข่าวให้สื่อมวลชนและประชาชนรับทราบ





































9

 แนวทางแก้ไขปัญหาแนวตลิ่งพัง


6 มิถุนายน 2554
อาจารย์ธเนศ วีระศิริ เลขาธิการ วสท. ร่วมกับกรมเจ้าท่า และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตรวจสอบสถานที่ทได้รับ
ี่
ผลกระทบจากเหตุการณ์เรือน้ าตาลล่ม เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาแนวตลิ่งพัง และแผนการกู้เรือ




























10

พ.ศ. 2555




 การวิบัติของโครงการก่อสร้างโฮปเวล
5 มีนาคม 2555


คณะผู้เชี่ยวชาญจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เข้าตรวจสอบการพงทลายของนั่งร้านรับไม้แบบโครงการ
ื่
ก่อสร้างโฮปเวล ตามค าร้องขอของ กระทรวงคมนาคม เพอตรวจสอบความปลอดภัยที่อาจเกิดผลกระทบต่อพนที่
ื้
ใกล้เคียง



























พ.ศ. 2556



 ลวดสลิงสะพานรัตนโกสินทร์ขาด (สะพานแขวน 200 ปี)


29 เมษายน 2556

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ส่งผู้แทนร่วมตรวจสอบสะพาน
รัตนโกสินทร์ (สะพานแขวน 200 ปี) ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เหตุการณ์ลวดสลิงขาดท าให้สะพานพังท าให้มีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิต โดย
เข้าร่วมตรวจสอบสาเหตุเบื้องต้นร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่















11

พ.ศ. 2557




 โครงการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลรามาธิบดี (บางพลี) ถล่มขณะก่อสร้าง

26 กุมภาพันธ์ 2557

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ แถลงข่าวแก่สื่อมวลชน โดยให้ความเห็นเชิงวิชาการด้านวิศวกรรม กรณีอาคารโรงพยาบาล
รามาธิบดี (บางพลี) มีอุบัติเหตุในระหว่างก่อสร้างอาคาร พร้อมแนะน าให้ผู้บริหารโครงการก่อสร้าง โรงพยาบาลรามาธิบดี

เร่งตรวจสอบสาเหตุอุบัติเหตุ เพิ่มความปลอดภัยในการท างานป้องกันเกิดเหตุซ้ าสอง และแนะน าโครงการอื่นปฏิบัติตาม
มาตรฐานอย่างความปลอดภัยเคร่งครัด และได้ส่งผู้แทนลงพื้นที่ตรวจสอบความเสียหายเบื้องต้น ร่วมกับหน่วยงานรับผิดชอบ


 Regulating Well ระเบิด



27 กุมภาพันธ์ 2557

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ส่งผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบที่เกิดเหตุ Regulating Well พังทลาย และเกิดแรงอดระเบิด
ขึ้น ที่ต าบลบางพระ อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในขณะที่ท าการทดสอบการใช้งานเป็นครั้งแรก ส่งผลให้เกิดความ

เสียหายแก่บ้านเรือน และรถยนต์บริเวณใกล้เคียง โดยได้ให้ค าแนะน าด้านความปลอดภัยกับผู้รับผิดชอบต่ออาคารที่

ได้รับผลกระทบจากเหตุดังกล่าว





































12

25 มีนาคม 2557


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับสภาวิศวกร แถลงข่าว “ภัยพบัติจากไฟไหม้บ่อขยะกับแนวทางการป้องกัน
และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน”



 แผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย
6 พฤษภาคม 2557


ื่
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดแถลงข่าว “แผ่นดินไหว 6.3 ริกเตอร์ ที่อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย” เพอให้
ข้อมูล และผลกระทบอันเนื่องเนื่องจากแผ่นดินไหว ที่ท าให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ถนน และสิ่งก่อสร้างรวมทั้ง
บ้านเรือนประชาชนในพื้นที่






















7 พฤษภาคม 2557
ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ส่วนกลาง ร่วมกับ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 1 , สภา
วิศวกร และวิศวกรอาสาในพื้นที่ เข้าตรวจสอบความเสียหายจากแผ่นดินไหว ในอ าเภอพาน จังหวัดเชียงราย ให้กับ
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์, โรงพยาบาลพาน, โรงพยาบาลแม่ลาว, บ้านสันกันแฮ้ว, วัดอูปแก้ว, วัดไตรมัคคาราม,
วัดร่องขุน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว ว่าไม่มีปัญหาด้านวิศวกรรมโครงสร้าง พร้อมให้ค าแนะน าใน
การแก้ไข ส่วนใหญ่ปัญหาที่พบโครงสร้างภายนอกที่ได้รับความเสียหาย พร้อมทั้งได้ให้ข้อมูลแนวทางในการตรวจสอบกับศูนย์


ปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ที่ได้จัดวิศวกร และนักศกษา
คณะวิศวกรรมช่วยเหลือชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อน
























13

16 ถึง 19 พฤษภาคม 2557
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 1 จัด “โครงการวิศวกรอาสา ช่วยเหลือกรณีเกิดแผ่นดินไหว” ร่วมกับ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส านักงาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ เชียงราย สมาคม
นักศึกษาเก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บริษัท วีแอนด์ พี
เอ็กซแพนด์ เมททรัล จ ากัด โยธาธิการจังหวัดเชียงราย อุตสาหกรรมเชียงราย บริษัท ฤทธา จ ากัด และสภาวิศวกร ณ ห้อง

ประชุมใหญ่ อาคารศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ เชียงราย



17 ถึง 18 พฤษภาคม 2557
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ สภาวิศวกร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงราย เปิด
ศูนย์ปฏิบัติการเฉพาะกิจช่วยผู้ประสบภัยแผ่นไหวที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงราย พร้อมวิศวกร

อาสาลงพื้นที่ตรวจสอบความเสียหาย และให้ค าแนะน ากับประชาชนในหมู่บ้านต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
ในจังหวัดเชียงราย







14

 อาคารเรียนพระราชทาน


ในการลงพื้นที่ตรวจสอบอาคาร ทั้งวัด โรงเรียน อาคารบ้านเรือ และพบว่าอาคารโรงเรียน 4 แห่งมี โรงเรียนพานพิทยาคม
โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม โรงเรียนโป่งแพร่วิทยา และโรงเรียนธารทองวิทยา ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ไม่สามารถใช้งาน

ได้ ต้องหยุดการเรียนการสอน จากจากวิกฤติภัยพิบัติแผ่นดินไหว 6.3 ริกเตอร์ ครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เมื่อวันที่
5 พฤษภาคม ที่ผ่านมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ทรงมีพระมหา

กรุณาธิคุณพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เป็นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างอาคารเรียนใหม่ โดยให้สามารถต้านทานแรง
แผ่นดินไหวได้ และมีพระราชประสงค์ให้วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ด าเนินการออกแบบอาคาร และให้ค าแนะน าใน

การก่อสร้าง






















15

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้ออกแบบก่อสร้างโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยด้วย “โครงสร้างแกงแนงเยื้องศูนย์”ซึ่งเป็น
นวัตกรรมเสริมเหล็กรับแรงเฉือน เพื่อรับแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวส าหรับอาคารโครงสร้างเหล็ก 2 ชั้น และออกแบบ

อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กส าหรับอาคาร 3 ชั้น อนึ่งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารีเสด็จท าพิธีวางศิลาฤกษ์ในการก่อสร้างอาคารเรียนพระราชทานทั้ง 4 โรงเรียน อาคารแล้วเสร็จเมื่อปลายปี 2559























พ.ศ. 2558




 พิธีวางศิลาฤกษ์ในการก่อสร้างอาคารเรียนพระราชทาน









































16

 พิธีเปิด และส่งมอบอาคารเรียนพระราชทาน (16 กุมภาพันธ์ 2560)























































































17

 อาคารอเนกประสงค์วัดดงมะเฟือง


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ “มูลนิธิเพื่อการพัฒนาการประกอบการธุรกิจ และอุตสาหกรรม” (วธอ. รุ่นที่ 1)
สนับสนุนค่าใช้จ่ายส่วนหนึ่งในการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ วัดดงมะเฟือง อ าเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย เพื่อทดแทน
อาคารหลังเดิมที่ได้รับความเสียหาย พร้อมกับได้รับความร่วมมือจาก มูลนิธิมดชนะภัย ออกแบบ และควบคุมก่อสร้างจน
ส าเร็จ คณะกรรมการอ านวยการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยได้จัดงานทอดผ้าป่าสามัคคีสมทบทุนมอบให้วัดได้น าเงินไป
ใช้จ่ายในการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารอื่น ๆ ด้วย อาคารแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2559





























































18

 โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนร่วมต้านแผ่นดินไหว

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ องค์การบริหารส่วน ต าบลทรายขาว จังหวัดเชียงราย ศูนย์การเรียนรู้ร่วม
ต้านแผ่นดินไหว ณ องค์การบริหารส่วน ต าบลทรายขาว จังหวัดเชียงราย เพื่อใช้เป็นสาธารณประโยชน์ในการเรียนรู้
ื่
เรองแผ่นดินไหวให้กับประชาชนในพื้นที่ได้ศึกษาต่อไป ได้จัดพิธีเปิดศูนย์ วันที่ 30 เมษายน 2558























 ห้องจ้าลองการสั่นจากแรงแผ่นดินไหว
คณะกรรมการยุววิศวกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้
จัดท าห้องจ าลองการสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว ให้ทดสอบเข้าไปนั่งในห้องจ าลองจะได้รับรู้ความรู้สึกว่าเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
ได้รับแรงสั่นสะเทือนอย่างไร และยังให้ความรู้กับรู้แก่ผู้ที่สนใจ ในงานการประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20 สถานที่
โรงแรมเดอะซายน์ พัทยาเหนือ ชลบุรี เมื่อที่ 10 กรกฎาคม 2558






































19

 ความร่วมมือกู้ภัยแผ่นดินไหวเนปาล
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง และการบินไทย แถลง
ข่าว “ความร่วมมือกู้ภัยแผ่นดินไหวเนปาล" โดยเตรียมส่งผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม และภัยพิบัติ ไปประเทศเนปาล

เพื่อช่วยเหลือด้านการตรวจสอบอาคารที่ได้รับความเสียหาย และเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ได้แถลงข่าว “วิเคราะห์ความ
เสียหายแผ่นดินไหวในเนปาล และแผนความร่วมมือด้านวิศวกรรม ไทย-เนปาล” และร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเหล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ส่งทีมส ารวจลงพื้นที่ และให้ความช่วยเหลือทางวิศวกรรม ที่
นครกาฎมาณฑุ ประเทศเนปาล ซึ่งถือว่าเป็นทีมงานด้านวิศวกรรมชุดแรกของโลก ที่ได้ลงพื้นที่ในประเทศเนปาล และผู้แทน
จากหลักสูตรผู้น าประกาศนียบัตร ผู้น ายุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย (ปนป.1) สถาบันพระปกเกล้า มอบให้แก่ วิศวกรรม
สถานแห่งประเทศไทยฯ จ านวน 102,000 บาท เพื่อน าไปช่วยเหลือชาวเนปาล ที่ประสบภัยแผ่นดินไหวอีกด้วย
























 รถพ่วงบริการน้าเที่ยวของสวนสัตว์ขอนแก่นเกิดอุบัติเหตุ

26 กรกฎาคม 2558
ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ลงพื้นที่ตรวจสอบ ศึกษาปัญหา และให้ค าแนะน า จากกรณีรถพ่วงบริการน าเที่ยว
ของสวนสัตว์ขอนแก่นเกิดอุบัติเหตุ (เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558) ท าให้มีผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจ านวนมาก ตามค าร้อง
ขอของสวนสัตว์ขอนแก่น






























20

 โครงการน้าร่องยกระดับความปลอดภัยของถนนทางหลวงหมายเลข 4 (วังมะนาว-หัวหิน-อุทยานราชภักดิ์)

15 ธันวาคม 2558
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ และ
กรมทางหลวง จัดงานแถลงข่าว “ความ

ร่วมมือ ในการเดินหน้าโครงการน าร่อง
ยกระดับความปลอดภัยของถนนทางหลวง
หมายเลข 4 (วังมะนาว-หัวหิน-อุทยานราช
ภักดิ์) ช่วงปีใหม่” ชี้จุดอันตราย ตั้งเป้าลด
อุบัติเหตุ 20% เป็นส่วนหนึ่งของความ
ร่วมมือตามบันทึกความร่วมมือ (MOU)
ด้านวิชาการวิศวกรรมงานทางระหว่างกรม
ทางหลวง กับ วสท. เพื่อใช้เป็นต้นแบบใน
การยกระดับ และพัฒนามาตรฐานความ

ปลอดภัยทางถนนทั่วประเทศในอนาคต เป็นการช่วยลดความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ และประชาชนจะได้รับความ
ปลอดภัยในการเดินทางยิ่งขึ้น และเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางด้านการคมนาคม และโลจิสติกส์
ของอาเซียน ณ ห้องประชุมสวัสดิ์วรวิถี กรมทางหลวง



 โครงการตรวจสอบความปลอดภัยสถานบันเทิงก่อนปีใหม่
29 ธันวาคม 2558


วสท. ร่วมกับ กทม. ตรวจสอบความปลอดภัยสถานบันเทิงก่อนปีใหม่ โดยนายจุมพล ส าเภาพล รองผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานคร ร่วมกับนางสาวบุษกร แสนสุข ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัยด้านอัคคีภัย วสท.
ลงพื้นที่ตรวจสอบสถานบริการ ตามแผนรณรงค์ป้องกันอัคคีภัยในเคหสถาน และสถานบริการในช่วงเทศกาลปีใหม่ของ
กรุงเทพมหานคร ปี 2559 เพื่อดูแลความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ลดการสูญเสียให้เป็นศูนย์ ณ ย่าน
สถานบันเทิง RCA ถนนจตุรทิศ เขตห้วยขวาง































21

พ.ศ. 2559




 อบัติเหตุเครนก่อสร้างถล่ม สะพานข้ามแมน้้าเจ้าพระยาแห่งใหมสายอยุธยา-บางปะอน และบางปะหัน-



ปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
6 มกราคม 2559
ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ เลขาธิการ วสท. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรม
โยธา วสท. พร้อมด้วย ผู้แทนสภาวิศวกร ศ.ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการ เดินทางไปตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุเครนก่อสร้าง

ถล่ม สะพานข้ามแม่น้ าเจ้าพระยาแห่งใหม่สายอยุธยา-บางปะอิน และบางปะหัน-ปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และใน
วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2559 ได้จัดแถลงข่าว “กรณีเครนก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ าเจ้าพระยาถล่ม” โดย รศ.สิริวัฒน์ ไชย
ชนะ เลขาธิการ วสท. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา วสท. ดร.กมล ตรรกบุตร นายก
สภาวิศวกร และ ศ.ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร เพื่อให้ข้อมูลทางด้านวิศวกรรมกับสื่อมวลชน และประชาชน
ได้รับทราบเบื้องต้นของการเกิดอุบัติเหตุดังกล่าว และเพื่อความปลอดภัยสาธารณะต่อไป จากนั้นวันจันทร์ที่ 25 มกราคม
2559 ได้ร่วมกันจัดสัมมนาเรื่อง “กรณีศึกษา เครน Launching truss ถล่มในระหว่างก่อสร้างสะพานที่ จ.
พระนครศรีอยุธยา” โดยได้รับเกียรติจาก นายกมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร เป็นประธานกล่าวเปิดงาน ณ อาคาร วสท.
เพื่อให้ความรู้และเป็นกรณีศึกษาแก่ผู้ที่สนใจ ให้ได้รับความรู้เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง























 อุบัติเหตุเพลิงไหม กรณีไพโรเจน…แอโรซอล อาคารเอสซีบี ปาร์ค

18 มีนาคม 2559
วสท. จัดแถลงข่าว “ถอด” โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. นางสาวบุษกร แสนสุข ประธาน

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัย วสท. นายวิเชียร บุษยบัณฑูร ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการความปลอดภัย
อคคีภัย วสท. และนายเยี่ยม จันทรประสิทธิ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเคมี และปิโตรเคมี วสท. โดย

วสท. ได้ให้ข้อเสนอแนะด้านความปลอดภัยของระบบอุปกรณ์ดับเพลิง เพื่อเป็นบทเรียนในการรักษาความปลอดภัยใน
เหตุฉุกเฉิน และพัฒนาระบบบริหารจัดการอาคารขนาดใหญ่ต่อไป













22

 เหตุเพลิงไหมอาคารเมเจอร์ซินีเพล็กซ์ ปิ่นเกล้า

30 กรกฎาคม 2559
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ส่งผู้แทนลงพนที่ส ารวจความเสียหายเบื้องต้น กรณีเกิดเหตุเพลิองไหม้อาคาร
ื้
เมเจอร์ซินีเพล็กซ์ ปิ่นเกล้า จากเหตุเพลิงไหม้ (เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม) ร่วมกับส านักการโยธา กรุงเทพมหานคร สภา

วิศวกร กรมโยธาธิการและผังเมือง ส านักงานเขตบางพลัด สภาสถาปนิก และสมาคมผู้ตรวจสอบและบริหารความ
ปลอดภัยอาคาร
























 ตรวจสอบพื้นที่ระเบียงอาคารพาณิชย์พังถล่ม
8 กันยายน 2559
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ มี รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ เลขาธิการ วสท. และ รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขา
วิศวกรรมโยธา วสท. ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง และกรุงเทพมหานคร เข้าตรวจสอบพื้นที่ระเบียงอาคารพาณิชย์พัง
ถล่ม ย่านตลาดประชานิเวศน์ 1 พร้อมให้ค าแนะน าด้านวิศวกรรม
































23

 ตรวจสอบเครนถล่ม
30 พฤศจิกายน 2559
ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. พร้อมด้วย รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ เลขาธิการ วสท. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธาน
สาขาวิศวกรรมโยธา วสท. และนายหฤษฏ์ ศรีนุกูล อนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้ว และปั้นจั่นไทย วสท. ลงพื้นที่ตรวจสอบกรณี

เครนถล่ม ที่สถานที่ก่อสร้างโรงเรียนนานาชาติ บริเวณหลัง รพ.ปิยะเวท เป็นบทเรียนว่าการท างานท างานในที่สูง เป็น
อันตรายอย่างยิ่ง ซึ่งนอกจากผู้ปฏิบัติงานจะต้องท างานให้เป็นไปตามมาตรฐานแล้ว ยังต้องเลือกใช้อุปกรณ์ความปลอดภัย
จะต้องให้เป็นไปตามมาตรฐาน และตามขั้นตอนอย่างเคร่งครัด

























พ.ศ. 2560




 อุทกภัยภาคใต้
10 ถึง 12 มกราคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ฯ ร่วมกับสาขาภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาภาคตะวันตก และวิศวกรอาสา
ร่วมประเมินสถานการณ์น้ าและให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูทางด้านวิศวกรรม น้ าท่วมภาคใต้ และภาตตะวันตก โดยความร่วมมือ
กับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเมื่อ12 มกราคม 2560 ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ มอบถุงยังชีพ
เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ าท่วมภาคใต้ ตั้งแต่ปลายปี 2560 เบื้องต้น 500 ถุง โดย นาวาเอก วิธนรัชต์ คชเสนี รองผู้
บัญชาการฐานทัพเรือกรุงเทพ (1) เป็นผู้รับมอบ ณ ฐานทัพเรือกรุงเทพ

























24

18 มกราคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดประชุมวิศวกรอาสาที่จะลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้ จังหวัดชุมพร จังหวัด
สุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช ในวันที่ 20-22 มกราคม 2560 โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทยฯ และนายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข อุปนายก ได้อธิบายเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบอาคาร การแบ่งกลุ่ม และ
การให้ค าแนะน าแก่ประชาชนในพื้นที่
















20 ถึง 22 มกราคม 2560
วิศวกรอาสาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ วสท. ร่วมกับ วสท. สาขาภาคใต้ 1 และสาขา

ื้
ภาคใต้ 2 น าวิศวกรอาสาลงพนที่





































25

 อาคารห้องสมุดศูนย์การเรียน ตชด.บ้านห้วยตง


26 พฤษภาคม 2560


จากเหตุอทกภัยภาคใต้ในปี 60 ท าให้ศูนย์การเรียน ตชด.บ้านห้วยตง อ.นบพต า จ.นครศรีธรรมราช ได้รับความ


เสียหายจากน้ าท่วมและดินถล่ม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จ ากัด ได้
ื่
ออกแบบก่อสร้างอาคารห้องสมุดเพอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
ื่

กุมารีฯ (พระอสริยยศในขณะนั้น) เพอให้ศูนย์การ ตชด. บ้านห้วยตงได้ใช้ประโยชน์ และเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม

2560 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีฯ (พระอสริยยศในขณะนั้น) เสด็จพระราชด าเนินทรงเปิด
ศูนย์การเรียน ตชด.บ้านห้วยตง และอาคารห้องสมุดศูนย์การเรียน ตชด.บ้านห้วยตง อ.นบพิต า จ.นครศรีธรรมราช





























































26

 เพลิงไหม้สะพานไทย-เบลเยี่ยม ถนนพระราม 4

28 กุมภาพันธ์ 2560
ื้
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ และผู้เชี่ยวชาญลงพนที่ตรวจสอบ และวิเคราะห์ ความเสียหายบริเวณใต้สะพาน
สะพานไทย-เบลเยี่ยม ถนนพระราม 4 จากเหตุการณ์ไฟไหม้สะพาน

























4 มีนาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ภาคเหนือ 1 (จังหวัดเชียงใหม่) ลงพื้นที่
ตรวจสอบโครงการก่อสร้างโรงพยาบาลแม่ตื่น ต.แม่ตื่น อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ เพื่อความปลอดภัยหากเกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่
บริเวณภาคเหนือในอนาคต














































27

15 มีนาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร และเขตวังทองหลาง เข้าตรวจสอบอาคารหอพัก 2 ชั้นทรุดตัวจม
ลงมากกว่า 1 เมตร ในซอยรามค าแหง 39 แยก 23 ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจากการทรุดตัวอย่างต่อเนื่อง ผลมาจากการเสาเข็ม
และฐานราก เจ้าหน้าที่ได้ห้ามไม่ให้ผู้พักอาศัยเข้าไปในอาคาร เพราะเกรงว่าจะเกิดอันตราย
โดยได้ท าการตรวจวัดการทรุดตัวอย่างต่อเนื่อง เพื่อตรวจเช็คว่า อาคารชะลอการทรุดตัวแล้วหรือไม่ ทั้งนี้หากมีการชะลอการ
ทรุดตัวจนอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัยแล้ว ผู้พักอาศัยจะได้สามารถเข้าไปขนย้ายสิ่งของออกมาได้ จากการตรวจสอบ ณ เวลา

16.45 น. พบว่าอาคารยังมีการทรุดตัวอย่างต่อเนื่อง จึงถือว่าไม่ปลอดภัย ผู้พักอาศัยยังไม่สามารถเข้าไปได้























3 เมษายน 2560


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ เลขาธิการ และ รศ.เอนก ศิ

ริพานิชกร ประธานคณะกรรมการจัดการภัยพบัติ รศ.ดร.นคร ภู่วโรดม จากคณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายนรินทร์ ศรีสมพนธุ์ ผู้อานวยการ ส านักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวง และผู้แทนการ

ทางพเศษแห่งประเทศไทย เข้าตรวจสอบสะพาน บริเวณถนนเทพรัตนที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ พร้อมน าเครื่องมือท าการ
ตรวจสอบสะพาน ซึ่งอาจจะได้รับผลกระทบจากเพลิงไหม้ ด้วย velocity sensors (วัดค่าความเร็วของการ

สั่นสะเทือน) และ ultrasonic test โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ





























28

29 เมษายน 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก นายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข อุปนายก และนายมั่น ศรีเรือน
ทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้าง ร่วมกับส านักงานเขตดอนเมือง กองพิสูจน์หลักฐาน และกรุงเทพมหานคร เข้าตรวจสอบ
สถานที่เกิดเหตุ โครงสร้างในส่วนของ SUPPORT ของ LAUNCHER ที่ใช้ส าหรับการติดตั้งทางรถไฟยกระดับ หลุดจากหัวเสา
รับน้ าหนัก บริเวณสถานที่ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) ถนนก าแพงเพชร 6 ท าให้มีผู้เสียชีวิต และ
บาดเจ็บ
























1 พฤษภาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับต ารวจกองพิสูจน์หลักฐาน ส านักงานเขตทุ่งครุ และกรุงเทพมหานคร เข้าตรวจสอบ

อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 คูหา (อาคาร 4 ชั้น) ซึ่งเป็นร้านขายอุปกรณ์เครื่องดนตรี ที่เกิดเพลิงไหม้ ซึ่งเกรงจะเกิดอาคาร
ถล่ม เพราะเพลิงไหม้นานกว่า 36 ชั่วโมง






































29

4 พฤษภาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ แถลงข่าว "กรณีฐานเครนก่อสร้างรถไฟฟ้าล้ม : สาเหตุ และมาตรการป้องกันเพื่อความ
ปลอดภัยของประชาชน" ร่วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชี
วอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท างาน (องค์การมหาชน) หรือ สสปท. และการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเสนอมาตรการ
ความปลอดภัยในการท างานก่อสร้างทางส าหรับรถไฟฟ้า และเตรียมร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการให้ความรู้ สร้าง
คู่มือ และมาตรฐานต่าง ๆ เพื่อลดอุบัติเหตุจากการก่อสร้างต่อไป
























 อุทกภัยภาคตะวนออกเฉียงเหนือ

2 สิงหาคม 2560


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดแถลงข่าว “โครงการวศวกรอาสา วศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ตรวจอาคาร

หลังน้้าท่วม ภาคตะวนออกเฉียงเหนือ” โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก ผศ.ดร.ศิริลักษณ์ ชุ่มชื่น ประธานคณะอนุกรรมการ
สาขาวิศวกรรมแหล่งน้ า รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา และประธานคณะกรรมการ
จัดการภัยพิบัติเพื่อแถลงข่าวถึงสถานการณ์น้ าท่วม และสาเหตุ บทบาทของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ในการให้
ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และระหว่างวันที่ 9 ถึง 10 สิงหาคม 2560 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าวิศวกรอา

ลงพื้นที่จังหวัดสกลนคร เพื่อตรวจสอบอาคาร และให้ค าแนะน าทางด้านวิศวกรรมแก่หน่วยงานราชการ อนามัย โรงเรียน วัด
และหมู่บ้านที่ได้รับความเสียหายจากน้ าท่วม โดย ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ กองบัญชาการมณฑล
ทหารบกที่ 29 จังหวัดสกลนคร สนับสนุนรถ 6 ล้อ ในการเดินทางเข้าพื้นที่ การอ านวยความสะดวกจากอ าเภอสว่างดินแดน
นายอ าเภอวานรนิวาส ให้ความอนุเคราะห์พาหนะ ที่พัก และสิ่งอ านวยความสะดวก รวมถึงหน่วยงานอื่น ๆ ณ กองบัญชาการ
มณฑลทหารบกที่ 29 จังหวัดสกลนคร
























30

13 กันยายน 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก และ รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานคณะกรรมการจัดการภัย
พิบัติ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง เข้าตรวจสอบอาคารสนามแบดมินตัน NP ซอย
เรวดี 55 ติวานนท์ ที่พังถล่มเสียหายจากเหตุการณ์พายุฝน เมื่อวันที่ 12 กันยายนที่ผ่านมา เพื่อตรวจสอบความปลอดภัย
สาธารณะ แนะน าการรื้อถอนซากอาคาร ที่จะส่งผลกระทบต่ออาคารข้างเคียง อาจจะเกิดอันตรายจากซากปรักหักพังได้
รวมถึงการกั้นบริเวณ และแนะน าการน ารถที่เสียหายออกจากพื้นที่


หลังจากนั้นได้จัดการบรรยายเรื่อง "ถอดบทเรียนอาคารโครงสร้างเหล็กช่วงยาวถล่ม ซอยเรวดี" เพื่อให้ความรู้
เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างตามหลักวิศวกรรมที่ถูกต้อง และเป็นกรณีศึกษาต่อไป เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560 ณ อาคาร
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก และ รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานคณะกรรมการจัดการภัย

พิบัติ

























18 กันยายน 2560

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดยคณะกรรมการความปลอดภัยด้านอัคคีภัยเข้าตรวจสอบ และให้ค าแนะน าระบบความ
ปลอดภัยด้านอัคคีภัย อาคารพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพใน
การท างาน เพื่อปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น และเพิ่มความปลอดภัยของบุคลากร และทรัพย์สินที่มีความส าคัญของประเทศ



























31

16 ตุลาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับส านักการโยธา กรุงเทพมหานคร พร้อมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่ตรวจสอบ
อาคารโรงงานผลิตรองเท้าที่เกิดเพลิงไหม้ ซอยเอกชัย 66 เพื่อให้ค าแนะน าทางด้านวิศวกรรม และการตัดโครงสร้างอาคารที่

ได้รับความเสียหายซึ่งอาจส่งผลกระทบกับอาคารขางเคียง























12 พฤศจิกายน 2560
ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วสท. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา และทีมวิศวกรอาสา ลงพื้นที่ตรวจสอบเหตุ
รถยนต์ตกจากอาคารลานจอดรถ ในซอยไผ่สิงห์โต เบื้องต้นเสนอแนะให้มีการร่างมาตรฐาน ให้เร็วขึ้น และขอความร่วมมือ
เจ้าของอาคารช่วยพิจารณาการเสริมความมั่นคงแข็งแรง แม้จะยังไม่มีกฎหมายบังคับใช้ก็ตาม ส าหรับในเรื่องการร่าง

มาตรฐาน ข้อพิจารณาข้อหนึ่งคือ การเพิ่มความหนา หรือความใหญ่ของแผงกั้นรวมถึงเหล็กเสริมในแผงกั้นถ้าจะใหญ่ขึ้นนั้น ก็
ควรค านึงถึงว่ายิ่งแข็งมากก็อาจท าให้เมื่อรถพุ่งกระแทกอาจท าให้ผู้ขับขี่เสียชีวิตได้หากมีการกระแทกแรง ๆ อย่างไรก็ตามมี
ความจ าเป็นที่ไม่ควรให้เกิดปัญหารถร่วงอีกเป็นการดีที่สุด การร่างมาตรฐานจึงต้องค านึงถึงปัจจัยหลายประเด็น และใน
ระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายบังคับใช้ เสนอแนะว่าควรมีการตรวจสอบความแข็งแรง ของแผงกั้น และ wheel stop อยู่เสมอ ว่า
เกิดการช ารุด หรือหลุดจากต าแหน่งหรือไม่

































32

20 พฤศจิกายน 2560
ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร และกองพิสูจน์หลักฐานเข้าตรวจสอบเหตุ
เพลิงไหม้อาคาร Teera Music ชั้น 6 ถนนบรมราชชนนี เขตบางพลัด เบื้องต้นไม่พบความเสียหายด้านโครงสร้างมากนัก
ส่วนสาเหตุต้องรอการตรวจสอบโดยละเอียดจากกองพิสูจน์หลักฐาน แต่ได้แนะน าให้เจ้าของอาคารท าการทดสอบเชิงลึก โดย
การทดสอบก าลังรับน้ าหนักบรรทุกของพื้น























22 ธันวาคม 2560
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกรมเจ้าท่า เข้าตรวจสอบความเสียหายเบื้องต้น สะพานข้ามแม่น้ าท่าจีน วัดไทยา

วาส อ.นครไชยศรี จ.นครปฐม ที่ถูกเรือเฉี่ยวชนเป็นเหตุให้พื้นสะพานร่วงหล่นลงแม่น้ า พร้อมให้ข้อเสนอแนะเบื้องต้นด้าน
ความปลอดภัยเกี่ยวกับโครงสร้างสะพานที่คงค้างอยู่ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียง



































33

พ.ศ. 2561




21 มีนาคม 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ แถลงข่าว "บันไดเลื่อนไทย สังเกตอย่างไรก่อนการใช้งาน" วิเคราะห์ความเป็นไป


ได้จากเหตุการณ์ช ารุดของบันไดเลื่อนสถานีรถไฟฟา พร้อมเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการและใช้บันไดเลื่อนใน
ประเทศไทยอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพและความปลอดภัย แก่ผู้ประกอบการ และประชาชนผู้ใช้บริการ โดย ดร.
ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานคณะกรรมการจัดการภัยพบัติ


นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย รองประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล นายสุพตถ์ จารุศร อดีตนายกสมาคมลิฟต์แห่ง
ประเทศไทย












3 เมษายน 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ เลขาธิการ นางสาวบุษกร

แสนสุข ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัยและป้องกันอัคคีภัย ร่วมกับนายสมนึก นิยมการ หัวหน้าฝ่าย
โยธา เขตราชเทวี และนายนิสิต วนิชรานันท์ วิศวกรอาสา ลงพื้นที่ตรวจสอบเหตุเพลิงไหม้อพาร์ทเม้นท์ ซอยเพชรบุรี 18 เขต
ราชเทวี





























34

5 เมษายน 2561

นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ เลขาธิการ วสท. ได้เข้าร่วมท ากิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยในชุมชน จัดโดย งาน

ป้องกันปราบปราม และต ารวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีต ารวจทองหล่อ























5 เมษายน 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าคณะกรรมการ และผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาให้ข้อแนะน ากับอาคารโรงพยาบาลศิริราชปิย
มหาราชการุณย์ ในด้านสภาพความเสื่อมของอาคาร ให้ข้อแนะน าเกี่ยวกับการดูแลรักษา ระบบโครงสร้าง รวมทั้งงานระบบ
วิศวกรรมประกอบอาคาร และระบบป้องกันอัคคีภัยของอาคาร

24 พฤษภาคม 2561

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก นายประสงค์ ธาราไชย ที่ปรึกษาสมาคม นายพิชญะ จันทรา
นุวัฒน์ เลขาธิการ นางนันทัชพร ศรีจาด ผู้บริหาร บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ ากัด นายเฉลิมเกียรติ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ผู้จัดการธุรกิจสินค้าและบริการครบวงจร บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จ ากัด (SYS) ร่วมพิธีเปิดอาคารวิศวกรรมสถานอุปถัมภ์
4 โรงเรียนบ้านท่าเยี่ยมโนนคอม อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ส าหรับนักเรียน โดย
ได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ, บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ ากัด, รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ ประธาน
มูลนิธิโยธาลาดกระบัง, บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จ ากัด (SYS), บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัสดุก่อสร้าง จ ากัด จากนั้นเมื่อวันที่

3 ธันวาคม 2561 สโมสรโรตารี หนองแขม ภาค 3350 โรตารีสากล ได้ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้
ื่
บริจาคหนังสือจากสมาชิกและผู้มีจิตศรัทธา มอบให้กับโรงเรียนบ้านท่าเยี่ยมโนนคอม อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร เพอเปิด
โลกกว้างแก่น้อง ๆ เสริมสร้างการเรียนรู้ต่อไป
























35

 13 หมูป่าติดถ้้าหลวงขุนน้้านางนอน



23 มิถุนายน ถึง 10 กรกฎาคม 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก และทีมวิศวกรอาสาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศ

ไทยฯ มีนายกฤตวัฒน์ สุโกสิ ประธานยุววิศวกร นายนฤชิต คงณศิริ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสาขาภาคตะวันตก นาย
ื้

สิทธิโชค เหลาโชติ กรรมการสาขาภาคตะวันตก ร่วมเป็นอกหนึ่งก าลังส าคัญในลงพนที่ส ารวจ ระบุพกัดเบี่ยงทางน้ า

จัดเตรียมวัสดุอปกรณ์ และลงพนที่ร่วมค้นหาน้อง ๆ และโค้ชทีมหมูป่าอคาเดมี่ ร่วมกับหน่วยงานทุกภาคส่วน
ื้

ช่วยเหลือ 13 หมูป่าให้ปลอดภัย เหตุการณ์ครั้งนั้นถือเป็นปฏิบัติกู้ภัยระดับโลก ที่ได้รับความสนใจ และถ่ายทอดไปทั่ว
โลกที่ทุกฝ่ายร่วมมือร่วมใจกันที่จะน าเด็กออกมาให้ได้อย่างปลอดภัย ในที่สุดภารกิจก็ส าเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย






































36

หลังจากภารกิจกู้ภัยส าเร็จวันที่ 19 กรกฎาคม 2561 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดการเสวนา “ถอดบทเรียน
ปฏิบัติการทางวิศวกรรมช่วย 13 หมูป่า…กู้ภัยระดับโลก” โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
กล่าวเปิดงาน และได้รับเกียรติจาก นายจงคล้าย วรพงศธร รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นายสมหมาย

เตชวาล รองอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี และนายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย นายกอบชัย บุญอรณะ รองอธิบดีกรม
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมให้ความรู้ภายในงาน

















































37

ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2561 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้รับเชิญเข้าร่วมงาน "รวมใจเป็นหนึ่งเดียว - United
as One" ของรัฐบาลจัดขึ้นเพื่อขอบคุณผู้ปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ วนอุทยานถ้ าหลวง-ขุนน้ านางนอน จ.

เชียงราย พร้อมรับมอบเกียรติบัตรที่เข้าร่วมปฏิบัติการ โดยมี ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานฯ กรรมสาขาภาค
ตะวันตก และทีมวิศวกรอาสา เข้าร่วมงานดังกล่าว






























จากเหตุการณ์ภารกิจช่วยเหลือ 13 ชีวิตทีมฟุตบอลหมูป่าอะคาเดมีและ

โค้ช ติดถ้ าหลวง - ขุนน้ านางนอน วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้
จัดท า บันทึกจาก ‘นายช่าง’ กับภารกิจ 13 ชีวิต ต้องรอด!” เจาะลึก

เบื้องหลังปฏิบัติการระดับโลก ภารกิจช่วยเหลือ 13 ชีวิต ทีมฟุตบอลหมู
ป่าอะคาเดมี ติดอยู่ในถ้ าหลวง - ขุนน้ านางนอน จ านวน 2 เล่ม มี Behind
the Scenes สามารถดาวโหลด E-Book ได้ที่ www.eir.or.th





















38

3 กันยายน 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ ที่ปรึกษาสมาคม ลงพื้นที่ตรวจสอบร้านซักรีด ซอยอินทามระ 36 หลังเกิดเหตุแก๊สระเบิดขึ้น ส่งผลให้
ประชาชนได้รับบาดเจ็บ อาคารพาณิชย์ได้รับความเสียหายและบ้านประชาชนที่อยู่บริเวณติดกัน รวมทั้งรถยนต์ และ
รถจักรยานยนต์























6 กันยายน 2561

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ แถลงข่าว "เทอร์มินัล 2 สุวรรณภูมิ...ความท้าทายทางวศวกรรมและความปลอดภัย"
เพื่อเสนอแนะข้อคิดเห็นทางวิศวกรรมและความปลอดภัย ส าหรับการออกแบบโครงการก่อสร้างอาคารผู้โดยสาร (เทอร์มินัล)
หลังที่ 2 สนามบินสุวรรณภูมิ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานฯ นายเกชา ธีระโกเมน อุปนายก รศ.เอนก ศิริ
พานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา และ ผศ.ดร.ชูชัย สุจิวรกุล อนุกรรมการมาตรฐานอาคารคอนกรีต ซึ่งข้อแนะน า ได้แก่
โครงการควรมุ่งออกแบบเพื่อบริหารจัดการ, การออกแบบและวัสดุที่ใช้ควรค านึงถึงความปลอดภัยของผู้ใช้บริหารเป็นหลัก,
น าเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มขึ้นในการบริหารจัดการเทอร์มินัล เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเมื่อนักท่องเที่ยวมากขึ้นในอนาคต



6 พฤศจิกายน 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ ที่ปรึกษาสมาคม, อาจารย์วุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์

ประธานคณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปั้นจั่นไทย และนายหฤษฏ์ ศรีนุกูล อนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้ว และ
ปั้นจั่นไทย ลงพื้นที่ตรวจสอบเหตุเครนล้มในพื้นที่ก่อสร้างย่านถนนเทพารักษ์ จ.สมุทรปราการ โดยได้แนะน าวิธีการน า
ชิ้นส่วนเครนออกจากที่เกิดเหตุอย่างปลอดภัย
























39

29 พฤศจิกายน 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก และนายจีรวุฒิ ภูศรีโสม ประธานสาขาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 นายชัยชาญ วรนิทัศน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท วรนิทัศน์ จ ากัด และอดีตประธานสาขาภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 พร้อมด้วยทีมงานจาก PPS Group มอบอุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์การเรียน และเงินสนับสนุนโครงการ
อาหารกลางวันและนมโรงเรียน พร้อมสิ่งของที่จ าเป็นแก่น้องผ่าน” โครงการ…ปันน้ าใจเพื่อน้อง” โรงเรียนบ้านนกเหาะ อ.

ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม โดยมีนายสัมฤทธิ์ โคตรโสภา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านนกเหาะ เป็นตัวแทนรับมอบ ซึ่งโครงการ
ปันน้ าใจเพื่อน้องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนมีสุขภาพแข็งแรง และส่งเสริมศักยภาพสู่การเป็นนักกีฬาอาชีพต่อไป

โดยการสนับสนุนกิจกรรมจาก บริษัท วรนิทัศน์ จ ากัด, บริษัท โปรเจ็คแพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด (มหาชน), การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
แห่งประเทศไทย, บริษัท เมก้า แพลนเน็ต จ ากัด และ บริษัท ฟุตบอลล์ไทยสปอร์ตติ๊งกู๊ดส์ จ ากัด (FBT)
























6 ธันวาคม 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น าโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกสมาคม และ รศ.ดร.อุดมผล พืชน์ไพบูลย์ ประธานสาขา
ภาคใต้ 2 มอบอุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์การเรียน และสิ่งของที่จ าเป็น “ โครงการ…ปันน้้าใจเพื่อน้อง” โรงเรียนหาดทรายทอง
ต.เกาะสุกร อ.ปะเหลียน จ.ตรัง โดยมีนายอนุแสน ใจจ้อง ผู้อ านวยการโรงเรียนหาดทรายทอง เป็นตัวแทนรับมอบ ซึ่ง
โครงการปันน้ าใจเพื่อน้อง มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงและส่งเสริมศักยภาพสู่การเป็นนักกีฬา

อาชีพต่อไป
ขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนจนเกิดกิจกรรมนี้ ได้แก่ บริษัท วรนิทัศน์ จ ากัด,บริษัทโปรเจ็คแพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด
(มหาชน),การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย , บริษัทเมก้า แพลนเน็ต จ ากัด และบริษัท ฟุตบอลล์ไทยสปอร์ตติ้งกู๊ดส์ จ ากัด
(FBT)
























40

26 ธันวาคม 2561
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ เลขาธิการ และ ดร.พงศ์ธร ธาราไชย กรรมการ และ
ผู้บริหารบริษัท โปรเจ็ค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด (มหาชน) และทีมงานมอบอุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์การเรียน และสิ่งของที่
จ าเป็นแก่โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านใหม่พัฒนาสันติ ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ” โครงการ…ปันน้ าใจเพื่อ
น้อง” โดยมีร้อยต ารวจโทบัณฑิต เครือริยะ ครูใหญ่ฯ เป็นตัวแทนรับมอบ ซึ่งโครงการปันน้ าใจเพื่อน้อง มีวัตถุประสงค์เพื่อ
สนับสนุนให้เยาวชนมีสุขภาพแข็งแรง และส่งเสริมศักยภาพสู่การเป็นนักกีฬาอาชีพต่อไป

ขอขอบคุณผู้การสนับสนุนกิจกรรมนี้ ได้แก่ บริษัท วรนิทัศน์ จ ากัด, บริษัทโปรเจ็คแพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด
(มหาชน), การรถไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, บริษัทเมก้า แพลนเน็ต จ ากัดและบริษัท ฟุตบอลล์ไทยสปอร์ตติ้งกู๊ดส์ จ ากัด
(FBT)


































































41

พ.ศ. 2562



 อุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับงานวศวกรรม


8 มกราคม 2362
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ ที่ปรึกษา
ร่วมกับกรุงเทพมหานคร และทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญวสท. ลงพื้นที่เกิดเหตุลงพื้นตรวจสอบตึกอาคารพาณิชย์พังถล่มขณะรื้อ
ถอน ซอยรามค าแหง 51/2























23 มกราคม 2562
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา และ รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ ที่
ปรึกษา วสท. นายหฤษฏ์ ศรีนุกูล คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปั้นจั่นไทย พร้อมด้วยทีมวิศวกรอาสา ได้ลงพื้นที่

ตรวจสอบวิเคราะห์เหตุเครนถล่มในไซต์ก่อสร้างคอนโดมิเนียมแห่งหนึ่ง ย่านถนนพระราม 3 ซอย 45





























42

25 กุมภาพันธ์ 2562
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) น าโดย รศ. เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา พร้อมด้วยทีมวิศวกร
อาสา วสท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่วิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่เสียหายจากเหตุเพลิงไหม้โกดังอาคาร
พาณิชย์เก่า 5 ชั้นภายในซอยมังกร ถนนเยาวราช ซึ่งใช้เป็นโกดังเก็บเสื้อผ้าแฟชั่น ของเล่นเด็กและอุปกรณ์เครื่องเขียน โดย
เสนอแนะผู้ประกอบกิจการ และเจ้าของอาคาร โดยเฉพาะอาคารเก่าในย่านชุมชน ควรหมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ สายไฟ
สม่ าเสมอซึ้งอาจเก่าช ารุดหรือเสื่อมสภาพไป และปฏิบัติตามหลักแห่งความปลอดภัย ควรติดตั้งระบบดับเพลิงที่เหมาะสม






















11 เมษายน 2562
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์
กรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ร่วมกับส านักงานเขตลาดพร้าว ลงพื้นที่ตรวจเหตุไฟไหม้โรงงานไม้กวาด โชคชัย 4 ซอย
54 เพื่อตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร


11 เมษายน 2562
6. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับกองควบคุมอาคารส านักการโยธา กทม. กองพิสูจน์หลักฐาน ส านักงานเขตปทุม
วัน ส านักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สภาวิศวกร สมาคมตรวจสอบอาคาร เข้าตรวจพื้นที่เกิดเหตุไฟไหม้เซ็นทรัลเวิลด์
เบื้องต้นระบุว่าเหตุเพลิงไหม้ สันนิษฐานว่าต้นเพลิงเกิดที่ห้องเครื่อง ชั้นบี 2 ของอาคาร จากการตรวจสอบโครงสร้างของตัว

อาคารพบว่ายังคงแข็งแรง เนื่องจากความร้อนไม่ได้กระทบโครงสร้างโดยตรง ประกอบกับช่วงเกิดเพลิงไหม้ เป็นช่วง
ระยะเวลาไม่นาน

















43

19 มิถุนายน 2562
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) โดยนายวุฒินันท์ ปัทมวิสุทธิ์ ประธานคณะอนุกรรมการยกหิ้วและปั้นจั่นไทย วสท.
ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง สปภ. และเขตบางรัก ลงพื้นที่ตรวจสอบ เครนหักเสียหาย ในขณะก่อสร้าง ท าให้มีวัสดุจาก
การก่อสร้างที่ก าลังยกเคลื่อนย้าย หล่นใส่อาคารโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ท าให้หลังคาคลุมอาคารเกิดความเสียหาย และ
มีนักเรียนได้รับบาดเจ็บหลายคน




























20 มิถุนายน 2562
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) โดย รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา วสท. และนายหฤษฏ์ ศรีนุ
กุล อนุกรรมการสาขาวิศวกรรมยกหิ้ว และปั้นจั่นไทย ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วสท. ร่วมกับ
กรุงเทพมหานคร โดยนายไทวุฒิ ขันแก้ว รองผู้อ านวยการ ส านักงานโยธา ผู้แทนเขตบางรัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลง
พื้นที่เหตุการณ์เครนหักเสียหาย หล่นใส่อาคารโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ เขตบางรัก และประชุมหารือเรื่องการเตรียมรื้อ
ถอนเครนที่หักเสียหาย โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้ให้ความเห็นในเชิงวิศวกรรมเกี่ยวกับวิเคราะห์สาเหตุ การ
หาวิธีป้องกัน และช่วยดูแลขั้นตอนการรื้อถอนเครนที่เกิดอุบัติเหตุออกจากอาคารอย่างถูกต้อง และปลอดภัย































44

18 กรกฎาคม 2562
รศ.ดร.วัชรินทร์ กาสลัก ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) และนายนิศิต วินิชรานันท์
คณะท างานวิศวกรอาสา นายสิทธิโชค เหลาโชติ กรรมการสาขาภาคตะวันตก วสท. ร่วมกับนายนิเวศน์ ล้ าเลิศลักษณชัย นาย
ช่างใหญ่ กรมโยธาธิการและผังเมือง ร่วมลงพื้นที่ตรวจสอบกรณีศาลาริมน้ าแม่กลอง ใกล้วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมือง จ.
สมุทรสงคราม พังถล่มลงไปในแม่น้ าท าให้มีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิต


โดยเบื้องต้นได้วิเคราะห์สาเหตุการวิบัติของอาคาร โดยดูจากอาคารอีกหลัง โดยรูปแบบการก่อสร้างใช้เสาเข็มเดี่ยวตอกลงไป
ในดิน อีกส่วนหนึ่งฝังในดินเป็นฐานรองรับ อีกส่วนหนึ่งโผล่ขึ้นมา ส่วนที่โผล่เป็นเสาของศาลาด้วย เมื่อเป็นเสาเข็มเดี่ยว
กระจายกันอยู่หลาย ๆ ต้น โดยที่ไม่ได้มี Pile Cap เมื่อดินกระท าต่อเสาเข็มด้านข้าง เพราะมีตลิ่ง แรงดันดินด้านข้างท าให้
เสาเข็มเคลื่อนตัว และท าให้ศาลาเอียงอออกมาจากตลิ่ง โดยเห็นได้จากศาลาอีกหลังที่ยังไม่วิบัติ เพราะสร้างคู่กัน
ซึ่งอาคารที่ยังตั้งอยู่อีกหลัง ก็มีความไม่ปลอดภัย ไม่ควรใช้งานต่อ จากการตรวจสอบเบื้องต้นก็มีแนวโน้มที่จะวิบัติได้เช่นกัน


























28 กรกฎาคม 2562
คณะอนุกรรมการวิศวกรรมวิศวกรรมยกหิ้วและปั้นจั่นไทย ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทยฯ (วสท.) โดยนายวุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์ นายกิตติวุฒิ ตันแสนทวีนายปวรนันท์ น้อยทิพย์ ร่วมกับส านักการโยธา
กทม. น าโดย นายไทวุฒิ ขันแก้ว เขตบางกอกน้อย, โยธา กทม., สปภ.กทม. และผู้รับเหมา เข้าตรวจสอบสาเหตุการเกิด
อุบัติเหตุ กรณีอุบัติเหตุรถเครนล้มทับบ้านเรือนชาวบ้าน บาดเจ็บ 1 ราย ณ ไซต์ก่อสร้างโรงแรมริมคลองบางกอกน้อย ซอย
รพ.เจ้าพระยา เขตบางกอกน้อย กทม.




















45

 อุทกภัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


9 ตุลาคม 2562

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ร่วมกับสภาวิศวกร จัดการสัมมนา “เตรียมความพร้อม วิศวกรอาสาลงพื้นที่
ตรวจสอบอาคารหลังเหตุการณ์อุทกภัย จังหวัดอุบลราชธานี” เน้นระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ม.ธรรมศาสตร์
เรื่องส ารวจโดยใช้เครื่องมือบันทึกภาพ และวิดีโอง่าย ๆ ผ่านมือถือ โดยใช้ GPS มาช่วย หลังจากนั้นระหว่างวันที่ 9 ตุลาคม
2562 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สภาวิศวกร ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ท าการปล่อยขบวนรถวิศวกรอาสาฟื้นฟูผู้
ประสบอุทกภัย จ านวน 12 คัน เดินทางไปยังจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อลงพื้นที่ส ารวจ และแนะน าประชาชนเกี่ยวกับการ
ซ่อมแซมบ้านเรือนที่เสียหายจากน้ าท่วม ใช้แอพพลิเคชั่น และดาวเทียม ช่วยเหลือประชาชนและให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการ
ฟื้นฟูบ้าน และความปลอดภัย เพื่อให้ประชาชน กลับมาอยู่อาศัย และมีชีวิตเป็นปกติสุขโดยเร็ว มีวิศวกรอาสาร่วมลงพื้นที่

200 คน ในวันที่ 10-12 ตุลาคม 2562 ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่เป็นอย่างดี ทั้งหน่วยงานเทศบาล และ
หน่วยงานกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
























































46

พ.ศ. 2563


 ฝุ่น PM 2.5

21 มกราคม 2563

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดแถลงข่าว “วศวกรไทย ... ต้านภัย PM 2.5” โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศ

ไทยฯ มีแนวคิดจัดอบรมให้ผู้สนใจผลิต Sensors ใช้ได้เอง เพอตรวจวัดค่าฝุ่นในพนที่ที่เราอยู่ ว่าเกินค่ามาตรฐาน
ื้
ื่
เท่าไร จะต้องสวมหน้ากันฝุ่นหรือไม่ และเรื่องฝุ่นส่วนหนึ่งที่เกิดจากก่อสร้าง และจะผลิตเครื่อง Sensors ให้แก่
สมาคมยักษ์ขาว เพื่อมอบแก่โรงเรียน โรงพยาบาล และพื้นที่ขาดแคลนต่อไป ณ ห้องประชุม อาคาร






















28 มกราคม 2563


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดการอบรม “การประกอบ เครื่อง Sensors วัดค่าฝุ่นด้วยตนเอง” ให้แก่ผู้สนใจ
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการอบรม (เตรียมอุปกรณ์มาเอง) โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมกับอบรมกว่า 70 คน ณ ห้องประชุม

อาคาร วสท.






























47

 COVID-19


27 มีนาคม 2563

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ประชุมการน าเสนอสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ส าคัญต่อความปลอดภัยทั้ง
บุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส COVID-19 เป็นต้นแบบของห้องส าหรับผู้ป่วยติดเชื้อที่สามารถเคลื่อนย้ายได้
ใช้ชื่อว่า "ห้องแยกการติดเชื้อทางอากาศความดันลบ" (Airborne Inflection Isolation Room) ได้ออกแบบตามมาตรฐาน
ทางการแพทย์ และวิศวกรรม เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยเกิดความปลอดภัย ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.



และได้จัดตั้งศูนย์วิศวกรรมสนับสนุนต้านภัย COVID-19 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) เพื่อให้ความช่วยเหลือด้าน
วิชาการเกี่ยวกับ "ห้องแยกการติดเชื้อทางอากาศความดันลบ" หน่วยงานที่สนใจให้วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
ด าเนินการต่อ มีกรมกิจการพลเรือนทหารบก กรมแพทย์ทหารบก เพื่อน าไปมอบให้โรงพยาบาลในก ากับของ
กระทรวงกลาโหม และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ได้รับการสนับสนุนจาก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์
จ ากัด (มหาชน) และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และผู้สนับสนุนจากภาคเอกชนอื่น ๆ ร่วมกันผลิต
ตู้ความตันลบ (Negative Pressure Cabinet) รวมแล้วกว่า 400 ตู้เพื่อมอบให้โรงพยาบาลต่าง ๆ ทั้งในกรงเทพและ

ต่างจังหวัด โดยมีวิศวกรอาสาช่วยประกอบให้กับโรงพยาบาลที่ได้รับการสนับสนุนตู้ความดันลบ และได้เผยแพร่คู่มือการติดตั้ง
ตู้ความดันลบที่เว็บไซต์ วสท. www.eit.or.th















































48

49


Click to View FlipBook Version